วิจัย ความกล้า แสดงออก ปฐมวัย 2562

รายงานวิจยั ในชน้ั เรยี น

เรอื่ ง การเสรมิ สร้างความมั่นใจในการแสดงออกของเด็กปฐมวยั
เตรยี มอนุบาล 2 (อายุ 3 - 5 ปี)

ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านสวา่ ง โดยใช้กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะ ๔ ประการ

นางจารณุ ี ศรีสุทศั น์
ตำแหน่งครู

ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นสว่าง
สงั กดั เทศบาลตำบลบัวสว่าง
อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

รายงานการวจิ ยั ในช้นั เรียน

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ชอ่ื เรือ่ ง การเสรมิ สร้างความมน่ั ใจในการแสดงออกของเด็กปฐมวัย เตรียมอนุบาล 2 (อายุ 3 – 5 ปี)

ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บ้านสว่าง โดยใชก้ ิจกรรมพัฒนาทกั ษะ ๔ ประการ

ผู้วิจัย นางจารุณี ศรีสทุ ศั น์ ตำแหนง่ ครู ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นสว่าง
สังกดั เทศบาลตำบลบวั สวา่ ง อำเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร

ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาแห่งแรก และเป็นสถานแหล่งรวมเด็กในระดับปฐมวัย ซ่ึงมาจาก

พนื้ ฐานทางครอบครัวท่ีมกี ารอบรมเลย้ี งดูทแ่ี ตกต่างกัน ปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ในศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กจึงมมี าก ปัญหาหน่ึง
ที่โดดเด่น ท่ีครูผู้สอน/ครูผู้ดูแลเด็ก สามารถสังเกตเห็นได้ และทุกศูนย์พัฒนาเด็กจะต้องพบเจอ ก็คือ ปัญหาการ
ปรับตัวของเด็ก เด็กบางคน หรือหลายคนไม่สามารถที่จะเรียนหรือเล่นร่วมกับเพื่อนๆ ได้ ปัญหาน้ีหากไม่ได้รับ
การแก้ไขจากผู้ท่ีเกีย่ วข้อง โดยเฉพาะครูประจำชั้นแล้ว จะทำให้เกดิ ปัญหาอืน่ อีกมากมายตามมา เช่น พัฒนาการ
ของเดก็ การเรียนรู้ของเดก็ เปน็ ต้น

ความม่ันใจของเด็ก เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างหน่ึงของบุคคล ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้บัญญัติแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นปรัชญา หรือความมุ่งหมายใน
การจัดการศึกษา จะต้องเปล่ียนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย และจิตใจ ความรู้และ
คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สำหรับใน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดไว้ในแนวทางการจัดประสบการณ์ ข้อท่ี ๕ คือ “จัด
ประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ในบรรยากาศท่ี
อบอุ่น มีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่าง ๆกัน” ซ่ึงจะเห็นได้ว่าแนวทางการจัด
การศึกษาของรัฐ มุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ตั้งแต่เด็กในระดับปฐมวัย จัด
กิจกรรมหรือประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีความม่ันใจในตนเอง รู้จักปรับตัวเข้าหากัน ทั้งนี้ ครูผู้สอนจะต้อง
คำนึงถงึ วุฒิภาวะ หรือความพรอ้ มทางพัฒนาการต่าง ๆ ของเดก็ ไปดว้ ย

จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก ชั้นเตรียมอนุบาลปีที่ 2 (อายุ 3 – 5 ป)ี ในภาคเรียนที่ 1/2563 ท่ี
ตนเองรับผิดชอบ พบว่า มีเด็กชาย จำนวน 2 คน และเด็กหญิง จำนวน 3 คน ท่ีมีพฤติกรรมขาดความม่ันใจ
กล่าวคือเด็กไม่กลา้ แสดงออก ไม่กล้าพูด ไม่เป็นตวั ของตัวเอง ร่วมกิจกรรมหน้าชั้นมีอาการเขินอาย บางครัง้ ไม่มี
ปฏิกริ ยิ าโตต้ อบใด ๆ เลย ขาดความเชอ่ื มน่ั ในตวั เองอาจเน่ืองมาจากสาเหตุ ดังน้ี

๑. สาเหตุจากครผู ู้สอน
- ครอู าจจะจัดกิจกรรมเกี่ยวกบั การสง่ เสรมิ ความม่นั ใจนอ้ ยเกนิ ไป
- ครูอาจจะให้ความสำคญั กับเดก็ ทีก่ ลา้ แสดงออกมากเกินไป

๒. สาเหตุจากเด็ก
- เดก็ มาจากครอบครัวท่ีอาศัยอยู่ผ้ปู กครองทไ่ี มใ่ ชบ่ ิดา มารดา ซง่ึ เด็กกลมุ่ นี้ส่วนใหญจ่ ะขาด
ความมนั่ ในใจตัวเอง
- พฒั นาการด้านตา่ ง ๆ ของเด็กอาจจะยงั ไมพ่ ร้อมทจ่ี ะแสดงออกทางความม่นั ใจ

จากสาเหตุท่ีกล่าวอ้าง ไม่ว่าปัญหาที่เด็กขาดความมั่นใจนี้จะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม หากไม่ได้รับการ
แก้ไข จะส่งผลให้เด็กขาดพ้ืนฐานที่สำคัญของการพัฒนาด้านสตปิ ัญญาและความคิดสร้างสรรค์ ไม่กล้าแสดงออก
ขาดประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ท้ังด้านการเรียนและการดำเนินชีวิต ไม่กล้าตัดสินใจ พร้อมท่ีจะเป็นผู้ตาม

มากกว่าผู้นำ การที่ครูผู้สอนจะนำเอากิจกรรม “เด็กสนทนากับครู” “หนู ๆ พูดไมค์”“ ม่ันใจเพ่ือนร่วมห้อง”
“รับประทานอาหารร่วมกัน” อาจจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างและพัฒนาความมั่นใจในกลุ่มเด็กที่มี
ปัญหา ให้เป็นไปในทางที่ดีข้ึน เพราะการท่ีเด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิท
สนม กล้าคิด กล้าพูดมากข้ึน เด็กปฏิบัติกิจกรรมและรับประทานอาหารร่วมกัน โดยให้ความสำคัญกับเด็กท่ีด้อย
โอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่านั้นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง กล้าพูด กล้าแสดงออกมากขึ้น สุดท้ายก็
พัฒนาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พดู ปากเปลา่ หรือพูดผ่านไมโครโฟนหน้าชั้นเรียนบ่อย ๆ เด็กกจ็ ะซึมซับ
ความเชื่อมั่นไปทีละเล็กละน้อย จนในที่สุดเด็กจะเกิดความเชื่อมั่นในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับ
การเรียนร้ตู ลอดไป

คำถามการวจิ ยั
กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพื่อนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพัฒนาความมน่ั ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั ได้หรอื ไม่

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั
เพ่อื พฒั นาความมั่นใจในตนเองของเดก็ ปฐมวยั โดยใช้กิจกรรมพฒั นาทักษะ ๔ ประการ คือ “เด็ก

สนทนากบั คร”ู , “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพ่ือนร่วมงาน”, “รบั ประทานอาหารร่วมกนั ”

สมมตุ ฐิ านของการวิจัย
กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพ่ือนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพัฒนาความมน่ั ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั ได้ดยี ่ิงข้นึ

ขอบเขตของการวิจยั
๑. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กชายและเด็กหญิง ชั้นเตรียมอนุบาล 2 ภาคเรียนท่ี ๑

ปีการศึกษา ๒๕6๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสว่าง สังกัดเทศบาลตำบลบัวสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร จำนวน 5 คน

๒. ตวั แปรทศ่ี ึกษา
๒.๑ ตวั แปรต้น ได้แก่ กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพอื่ นร่วมงาน”,

“รบั ประทานอาหารรว่ มกัน”
๒.๒ ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความมนั่ ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั

๓. ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย ใช้เวลา ๒ เดอื น (เดอื นกรกฎาคม – เดอื นสงิ หาคม ๒๕6๓)

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
๑. ความมัน่ ใจในตนเอง หมายถงึ การกล้าตดั สินใจทำสงิ่ ใดส่งิ หนึง่ ดว้ ยความม่ันใจ โดยผูว้ ิจยั

ได้แบง่ ความมัน่ ใจในตนเองออกเป็น ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่
๑.๑ การกลา้ แสดงออก ได้แก่ ความสามารถในการแสดงออกของเดก็ ซึง่ สงั เกตจากการ

กล้าพูด กลา้ แสดงท่าทาง กลา้ ลงมอื กระทำ
๑.๒ การเปน็ ตวั ของตวั เอง ไดแ้ ก่ ความสามารถในการปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการกลา้

ตดั สนิ ใจ รู้จักแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ข้นึ ในขณะน้ันดว้ ยตนเอง พงึ พอใจ ยอมรบั การกระทำของตนเอง และ
ต้ังใจทำสงิ่ ตา่ ง ๆ ให้สำเร็จ

๑.๓ การปรบั ตัวเข้ากบั สภาพแวดลอ้ ม ได้แก่ ความสามารถในการรว่ มกิจกรรมกบั ครูผ้สู อน

และเพอ่ื น ๆ ดว้ ยความเปน็ มติ ร รจู้ ักช่วยเหลอื ยอมรับส่ิงใหม่ ๆ และปฏบิ ตั ติ ามกติกาของสว่ นรวม
๒. กจิ กรรมพฒั นาทักษะ หมายถึง กจิ กรรมท่ีครผู ้สู อนได้คัดสรร ท่ีจะนำมาใหเ้ ดก็ ไดฝ้ ึกปฏิบตั ิ
เพ่ือพัฒนาทักษะความม่นั ใจในตนเองของเด็ก ประกอบด้วย ๔ กิจกรรม ดงั น้ี

๒.๑ เด็กสนทนากบั ครู หมายถงึ กจิ กรรมที่ครพู ยายามทจี่ ะจัดเวลาและโอกาสสนทนากับ
เด็ก สว่ นใหญจ่ ะใชเ้ วลาเชา้ ก่อนการจดั กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ หรือ กอ่ นกลับบ้าน เพอ่ื เพ่ิม
ความสนิทสนม ไว้วางใจระหว่างเด็กและครู

๒.๒ หนู ๆ พดู ไมค์ หมายถึง การทีค่ รไู ด้ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชไ้ มคโ์ ครโฟนในการพดู หน้าชัน้ เรียน
ต้ังแต่การแนะนำตนเอง, การเลา่ เรือ่ ง,การบรรยายภาพ ฯลฯ เพอ่ื ฝึกทกั ษะความมนั่ ใจในตนเองใหเ้ ด็ก
ในการแสดงออกในที่สาธารณะ หรือ บนเวที

๒.๓ มนั่ ใจเพ่ือนร่วมหอ้ ง หมายถึง การจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กได้ทำงานเป็นกลมุ่ ทคี่ รตู อ้ งคอย
กำกบั ดูแล ให้ทุกคนในกลมุ่ มบี ทบาทร่วมกนั เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนไดแ้ สดงออกตามศักยภาพ เพอ่ื ฝกึ
ทักษะความมัน่ ใจในตนเองใหเ้ ดก็ ในการแสดงออก และไว้วางใจซ่ึงกันและกัน

๒.๔ รบั ประทานอาหารรว่ มกนั หมายถงึ การจดั ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประทานอาหารร่วมกนั ทกุ ครั้ง
มกี ารสลบั จัดกลุม่ ใหม่ ๆ ทกุ วัน ตลอดจนแบ่งหน้าท่รี บั ผิดชอบกันภายในกลมุ่ เชน่ การไปรับอาหาร
การล้างจาน การเก็บกวาดเศษอาหารท่ีโตะ๊ และพนื้ เป็นการฝกึ ให้เด็กไดแ้ สดงออกในด้านการบรกิ าร
และความรับผิดชอบด้วย เด็กจะเกิดความมนั่ ใจ ภูมิใจในบทบาทของตนเอง ตอ่ ไป
3. เดก็ ปฐมวัย หมายถงึ เด็กในระดับชัน้ เตรยี มอนุบาล ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕6๓
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนพัฒนา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
จำนวน 5 คน

ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
๑. เด็กปฐมวัยมีความมั่นใจในตนเองมากข้นึ
๒. ไดแ้ นวทางในการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาความม่นั ใจในตนเองสำหรับเด็กปฐมวัย
๓. เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน เพิม่ ขึน้

วิธกี ารวิจัย
๑. บรู ณาการกิจกรรมเพิ่มในแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ในแตล่ ะกิจกรรมปกติ ดงั นี้
๑.๑ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
- เดก็ มคี วามมนั่ ใจในการพดู หรอื แสดงออก
- เด็กสามารถทำงานร่วมกันไดอ้ ย่างมีความสุข
๑.๒ กระบวนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
- เด็กออกไปพดู โดยใช้ไมโครโฟน
- เด็กแบง่ กลมุ่ การเล่น หรือทำงาน
๑.๓ วธิ วี ดั และประเมินผลการเรียนรู้
- สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก
- สังเกตพฤตกิ รรมการเลน่ หรอื ทำงานเปน็ กลุ่ม
๑.๔ เคร่ืองมือการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
- แบบสงั เกตพฤติกรรม

๒. จดั กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ตามท่ีบูรณาการไว้ ดังน้ี

ระยะเวลา กิจกรรมปกติ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะ

6 กรกฎาคม ๒๕6๓ รบั เด็ก เด็กสนทนากบั ครู

(สัปดาห์ทส่ี องของการเปิดภาคเรียน) กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ หนูๆ พดู ไมค์

ถึง กิจกรรมสร้างสรรค์ หนู ๆ พูดไมค์
กจิ กรรมเสรี มัน่ ใจเพ่ือนรว่ มหอ้ ง

๒8 สงิ หาคม ๒๕6๓ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ มนั่ ใจเพือ่ นรว่ มหอ้ ง/ หนู ๆ พูดไมค์
(สัปดาหส์ ุดทา้ ยของเดอื น) กิจกรรมกลางแจง้
มน่ั ใจเพื่อนร่วมหอ้ ง

ทุกวนั เปดิ เรยี น รับประทานอาหารกลางวนั รบั ประทานอาหารร่วมกนั
กิจกรรมเกมการศึกษา มั่นใจเพอ่ื นรว่ มหอ้ ง

รวม ๒๔ วนั เตรียมตัวกลบั บา้ น เด็กสนทนากบั ครู

หมายเหตุ แต่ละกจิ กรรมอาจมกี ารเปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสมของสถานการณแ์ ละเหตุการปจั จบุ นั

เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย
การวจิ ัยครงั้ นี้ ใชเ้ ครอ่ื งมือในการวิจยั ดังน้ี
๑. กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะ ๔ ประการ (กจิ กรรม)
๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมความม่ันใจในตนเอง ที่ครอบคลมุ ทั้ง ๔ กิจกรรม

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้วิจยั เกบ็ รวบรวมข้อมูลในภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕6๓ ระหว่างเดอื นกรกฎาคม ถึง

เดือนสิงหาคม ๒๕6๓ รวม 24 วัน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม

สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู
วเิ คราะห์คะแนนความมั่นใจในตนเองกอ่ นและหลังการใชก้ จิ กรรม จากแบบสงั เกตพฤติกรรม

ความมัน่ ใจในตนเอง โดยการหาคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ

ผลการวจิ ยั

ผ้วู ิจยั ขอเสนอผลการวจิ ยั จากตารางการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดงั นี้

ตารางที่ ๑ คะแนนความมัน่ ใจในตนเองกอ่ นการใชก้ ิจกรรมพัฒนาทกั ษะฯ

คะแนนความมน่ั ใจในตนเอง (คะแนนเต็ม ๒๔ คะแนน) รอ้ ยละ

ช่ือ - สกุล รายการท่ี ๑ รายการท่ี ๒ รายการที่ ๓ รายการที่ ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

เดก็ ชายปัญญา ภานาดี 2 2 1 1 6 50

เด็กชายพทิ กั พงษ์ ลีรัตน์ 2 1 1 1 5 41.66

เด็กหญิงณิชาภทั ร กลยนีย์ 1 1 1 1 4 33.32

เดก็ หญิงธารา สรุ าษฎร์ 2 2 1 1 6 50

เด็กหญิงลลิตรา แจม่ สุวรรณ์ 1 1 1 1 4 33.32

รวม 8 7 5 5 25

ร้อยละ 53.33 46.62 33.33 33.33 41.66

ตารางที่ ๒ คะแนนความมนั่ ใจในตนเองหลงั การใช้กจิ กรรมพฒั นาทักษะฯ

คะแนนความมน่ั ใจในตนเอง (คะแนนเตม็ ๒๔ คะแนน) ร้อยละ

ช่อื - สกลุ รายการท่ี ๑ รายการที่ ๒ รายการที่ ๓ รายการที่ ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

เด็กชายปญั ญา ภานาดี 3 3 2 3 11 91.66

เดก็ ชายพิทักพงษ์ ลีรัตน์ 3 2 3 2 10 83.33

เด็กหญงิ ณิชาภทั ร กลยนีย์ 3 3 3 2 11 91.66

เดก็ หญิงธารา สรุ าษฎร์ 3 3 3 2 11 91.66

เดก็ หญิงลลิตรา แจม่ สวุ รรณ์ 3 2 3 3 10 83.33

รวม 15 13 14 12 54

ร้อยละ 100 86.66 93.24 76.92 89.64

ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ ๑ และ ๒ ปรากฏวา่ ก่อนการใช้กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ คะแนนความม่นั ใจใน

ตนเองของเด็กปฐมวัย ดงั นี้

รายการที่ ๑ การกลา้ แสดงออก คิดเป็นรอ้ ยละ 53.33

รายการที่ ๒ การเปน็ ตวั ของตวั เอง คิดเป็นรอ้ ยละ 46.62

รายการท่ี ๓ การปรับตัวเข้ากับครู/เพอื่ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33

รายการที่ ๔ การอาสารบั บทบาทหนา้ ท่ี คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33

ในภาพรวม คดิ เป็นร้อยละ 41.66

และเมอื่ พิจารณาหลงั การใช้กจิ กรรมฝึกทกั ษะ คะแนนความมั่นใจในตนเองของเดก็ ปฐมวัย ดงั น้ี

รายการที่ ๑ การกล้าแสดงออก คิดเป็นร้อยละ 100

รายการที่ ๒ การเป็นตวั ของตัวเอง คดิ เป็นร้อยละ 86.66

รายการท่ี ๓ การปรบั ตัวเข้ากบั ครู/เพ่ือน คิดเป็นร้อยละ 93.24

รายการท่ี ๔ การอาสารับบทบาทหน้าท่ี คิดเปน็ ร้อยละ 76.92

ในภาพรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.64

อภิปรายผลการวจิ ัย
การวิจัยคร้ังน้ี มีจดุ ประสงค์เพื่อพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวยั โดยใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะ

๔ ประการ ซึ่งผลการใช้แบบพัฒนาทักษะดังกล่าว เป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ กล่าวคือ การใช้กิจกรรมพัฒนา
ทักษะ ได้แก่ “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพื่อนร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”
สามารถพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัยได้ดีย่ิงข้ึน ท้ังนี้เน่ืองจากกิจกรรมพัฒนาทักษะความมั่นใจใน
ตนเอง ท้งั ๔ ประการ เป็นแนวทางหนึ่งที่จะชว่ ยเสรมิ สรา้ งและพฒั นาความมั่นใจในกลุ่มเดก็ ทม่ี ีปญั หา ให้เป็นไป
ในทางที่ดีข้ึน เพราะการที่เด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิทสนม กล้าคิด กล้า
พดู มากขน้ึ เดก็ ปฏิบัตกิ ิจกรรมและรบั ประทานอาหารรว่ มกัน

โดยให้ความสำคัญกับเด็กท่ีด้อยโอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่านั้นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
กล้าพูด กล้าแสดงออกมากข้ึน สุดท้ายก็พัฒนาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พูดปากเปล่าหรือพูดผ่าน
ไมโครโฟนหน้าช้ันเรียนบ่อย ๆ เด็กก็จะซึมซับความเชื่อมั่นไปทีละเล็กละน้อย จนในท่ีสุดเด็กจะเกิดความเชื่อม่ัน
ในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับการเรียนรู้ตลอดไป ซึ่งตรงกับทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
(Maslow, 1954 อ้างใน สมจนิ ตนา คุปตสุนทร,๒๕๔๗ ; ๖๓) ได้กล่าวว่าคนทุกคนในสังคม มีความปรารถนา

ที่จะได้รับความสำเร็จ มีความภาคภูมิใจในตนเอง และต้องการให้คนอ่ืนยอมรับนับถือในความสำเร็จของตนเอง
ด้วย ถ้าความต้องการนไ้ี ด้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอจะทำให้บุคคลนนั้ มีความม่ันใจในตนเอง รู้สึกวา่ ตนเองมี
ค่า มีความสามารถ แต่ถ้าความต้องการน้ีถูกขัดขวางจะทำให้เกิดความรู้สึกว่ามีปมด้อย หรือสูญเสียความ
ภาคภูมิใจในตนเองได้ และสอดคล้องกับ ศุภศีศรีสุคนธ์ (๒๕๓๙ : ๓๕) ที่กล่าวไว้ว่า ความมั่นใจในตนเอง มี
ความสำคัญต่อความสำเร็จในชีวิต ทำให้มองโลกในแง่ดี การปูพื้นฐานความมั่นใจในตนเองสำหรับเด็ก จะช่วยให้
เด็กกล้าคดิ กล้าทำในส่ิงต่างๆ ได้อยา่ งมีความสุข ปรับตัวเขา้ กับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ไดด้ ี รจู้ กั การให้และการรับ
รจู้ กั รว่ มมอื รจู้ ักสร้างมิตรภาพระหว่างเพ่ือนฝูง

ผลการวิจัยคร้ังน้ีแสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพ่ือน
ร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน” ช่วยพัฒนาความม่ันใจในตนเองของเด็กปฐมวัยทุกด้าน ดังน้ัน ผู้ที่
เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัย สามารถศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
ให้สอดคล้องกับพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน คุณลักษณะตามวัย วุฒิภาวะ ตลอดจนระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการจัด
ประสบการณ์ อันจะเป็นการปูพ้ืนฐานความมั่นใจในตนเองให้เกิดกับเด็ก จะช่วยให้เด็กกล้าคิด กล้าทำส่ิงต่าง ๆ
ด้วยความมั่นใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ และอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมี
ความสุขทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคตตอ่ ไป

เอกสารอา้ งองิ

กรมวิชาการ. “คมู่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๔๖
กรมวิชาการ. “การวิจยั ในช้นั เรยี น”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๓
กุลยา ตันตผิ ลาชวี ะ. “การเลี้ยงดเู ดก็ กอ่ นวยั เรยี น ๓ – ๕ ขวบ”. กรงุ เทพฯ. ๒๕๔๒
จงใจ ขจรศิลป์. “การศกึ ษาลกั ษณะการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์และเลน่ ตามมุมที่มตี ่อความคิด

สรา้ งสรรคแ์ ละความม่นั ใจในตนเองของเด็กปฐมวัย”. กรุงเทพฯ. ๒๕๓๒
นวลศริ ิ เปาโรหิตย์. “มาสร้างความมน่ั ใจในตัวลกู กนั เถอะ”.เอกสารแนะแนว. ๒๕๓๖

ภาคผนวก

- ตัวอยา่ ง -

แบบสังเกตพฤตกิ รรมความม่ันใจในตนเอง

ชน้ั เตรยี มอนบุ าล ๑ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บา้ นสว่าง อำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร

พฤติกรรมที่สงั เกต

ลำดับ ช่ือ -สกลุ กล้า เป็นตวั ของ การปรบั ตวั อาสารบั รวม รอ้ ยละ
แสดงออก ตวั เอง เขา้ กบั ครู/ บทบาท

เพื่อน หนา้ ที่

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ 12

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน
รายการสังเกต
๓ ๒๑
กล้าแสดงออก
ตัดสินใจทนั ที ไมร่ รี อ ใช้เวลาในการตัดสินใจ ลังเล/ไม่กลา้
เปน็ ตวั ของตวั เอง
ปรับตวั เขา้ กบั คร/ู เพื่อน เล็กน้อย

อาสารับบทบาทหนา้ ท่ี ปฏิบตั กิ ิจกรรมด้วยความมัน่ ใจ ต้องให้ผ้อู ่นื ชแ้ี นะ หลบเลยี่ ง

กลา้ สนทนากบั เพื่อน/ครเู สมอ กล้าสนทนากับเพื่อน/ครู ยงั เข้ากับใครไมไ่ ด้

เป็นบางคร้ัง

อาสางานทุกครงั้ อาสางานเปน็ บางคร้ัง ไมเ่ คยรบั บทบาทอะไร

ลงชื่อ................................................
(นางจารุณี ศรีสทุ ศั น์)
ครปู ระจำช้ัน/ผู้บันทกึ


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้