ข นตอนการเตร ยมข อม ล data prepareation ม อะไรบ าง

ค. นำขอมลู มาแบงเปน 3 ตารางยอ ย คือตารางการมกี ารใชคอมพิวเตอร ตารางการมีการใชอ ินเทอรเน็ต และ

ตารางการมีโทรศพั ทม ือถือ

ง. นำขอ มลู เฉพาะของป พ.ศ. 2560 มาใชเ ทานัน้ เนื่องจากเปน ขอมูลลาสดุ

4. บิวกำลงั คนหาขอมลู ความนยิ มเก่ยี วกับแมวสายพนั ธุต า งๆ เพอ่ื จะนำมาขาย ถามวา การกระทำของบวิ เปนขน้ั ตอนใด

ของวทิ ยาการขอมูล

ก. การเก็บรวบรวมขอมูล ข. การวิเคราะหขอมลู ขอ มลู

ค. การตงั้ คำถาม ง. การสอ่ื สารขอมลู

5. นักเรียนคนใดตอไปน้ีไมไ ดใชก ระบวนการวิทยาการขอ มูลเพื่อประโยชนตอ ตนเอง

ก. นารรี ัตนเลอื กดภู าพยนตรเรือ่ งท่เี หน็ ในโฆษณา

ข. วิไลวางแผนการเดินทางโดยอาศัยขอมูลการจราจรจาก Google Map

ค. เจตนห ารปู แบบการออกกำลังกายเพื่อลดความอว นที่เหมาะสมกับตนจากแอพพลิเคชนั่ ตรวจจับการเดนิ ของ

ตนเองโฆษณา

ง. วนั ดวี างแผนการเลอื กคณะเพือ่ ศกึ ษาตอ โดยใชขอ มลู สถิติคะแนนเฉล่ีย O-NET ทผี า นมา

6. ขอใดกลาวไดถกู ตองเกี่ยวกับวิทยาการขอมลู

ก. วทิ ยาการขอมูลเปนศาสตรทต่ี อ งอาศยั ทักษะการวิเคราะหเ ชิงลกึ

ข. วทิ ยาการขอ มูลเปน ศาสตรทผี่ สมผสานความรจู ากหลายศาสตรเ ขา ดวยกัน

ค. เปา หมายหลกั ของศาสตรทางดานวิทยาการขอ มูล คือ สรางองคค วามรจู ากขอมูล

ง. ถกู ทุกขอ

7. ขอใดไมถกู ตองในการรวบรวมขอ มูล

ก. ควรพจิ ารณาวา ควรเกบ็ ขอ มลู มากเทาใด

ข. ควรตรวจสอบวาตองทำความสะอาดขอมลู

ค. ควรเผยแพรข อมูลดบิ ท่เี ก็บไดท้ังหมดเสมอ

ง. ควรพิจารณาวาควรเกบ็ ขอมูลกบั ใครเสมอ

8. ขอ ใดเปนตวั อยางทีแ่ สดงถึง “garbage in garbage out” ในกระบวนการวทิ ยาการขอมลู ไดต รงท่ีสุด

ก. สมชายจดั เก็บขอมลู ไมเรียบรอยจงึ ทำใหหาขอมูลไมเจอเวลาตอ งการวิเคราะห

ข. มะนาวเก็บขอมูลเกยี่ วกบั ปริมาณขยะท่ถี ูกนำเขา มาในประ ทศไทยและสง ออกจากประเทศไทยในป พ.ศ. 2555

- 2561 แลว นำมาวเิ คราะหห าความสมั พันธ

ค. สมปองเก็บขอ มลู ความสูงของเพ่อื นนักเรยี นในหองแตสลับความสูงกับนำ้ หนักทำใหสรุปวา นกั เรียนในหองมี

ความสูงเฉลี่ย 60.4 เซนตเิ มตร ซึง่ ตำ่ กวามาตรฐานมาก

ง. สมหมายแสดงผลขอ มลู เปนภาพแลวพบวามขี อมลู บางตัวมคี ำมากกวา ปกติไปมากจงึ วงขอมูลเหลานัน้ บน

แผนภาพแลว เขยี นวา garbage

9. ขอ ใดไมใชวตั ถปุ ระสงคของการสือ่ สารและการทำผลลพั ธใหเปน ภาพ

ก. เพอื่ ใหกำหนดวตั ถุประสงคใ นการเกบ็

ข. เพ่อื ใหด วู า ขอสรุปท่เี ราไดจ ากขอมลู นั้นสมเหตุสมผลหรือไม

ค. เพ่ือใหถา ยทอดเร่ืองราวไดงา ย

ง. เพื่อใหส รปุ วาเราเรยี นรอู ะไรจากขอ มูลไดง าย

54

10. ขอ ใดแสดงถงึ กระบวนการของการคดิ เชิงออกแบบ ก. นองโมบายทำตามข้นั ตอนกาพฒั นาผลลพั ธจ ำลองและตรวจสอบ เพือ่ ลดเวลาในการสรางแอปพลิเคชันไปไดถ ึง

30% ข. นองธมี ทำแบบสอบถามผูเ ชย่ี วชาญในการออกแบบแอปพลิเคชนั เฉพาะทางสำหรบั นักสถิติ และนำผลการ

ทดสอบมาปรบั ปรุง ค. นอ งเนธทำคูมอื การใชง านแอปพลเิ คชันมือถืออานงายและสวยงามเปน ไฟล pdf ไวใ หผใู ชเ ปด อา นกอนใชง าน

แอปพลเิ คชนั ง. นอ งมะเหมยี่ วออกแบบแอปพลเิ คชนั โดยทำใหเ หมือนคูแขงมากท่ีสดุ แตส สี วยกวา

เฉลย 1. ข 2. ง 3. ง 4. ก 5. ก 6. ง 7. ค 8. ค 9. ก 10. ข

หนวยการเรียนรทู ี่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจขอ มูล

56

แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ 4

หนว ยการเรียนรูท ี่ 2 เรอ่ื ง การรวบรวมขอมูล รหสั วชิ า ว32184 รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ

ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563 เวลา 6 ชัว่ โมง

ผสู อน นายธนภัทร จนั ทรมณี วนั ท่ี 6 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564

******************************

1. มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญ หาทพ่ี บในชีวิตจริงอยางเปน ข้ันตอน

และเปนระบบ ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรกู ารทำงาน และการแกปญ หาไดอ ยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทนั และมจี รยิ ธรรม

2. ตัวช้ีวดั รวบรวม วิเคราะหขอ มูล และใชความรดู า นวิทยาการคอมพิวเตอร สือ่ ดิจทิ ัล เทคโนโลยีสารสนเทศ

ในการแกป ญหาหรอื เพ่มิ มลู คาใหก ับบรกิ ารหรือผลิตภัณฑท่ีใชใ นชีวติ จรงิ อยางสรางสรรค

3. จดุ ประสงคก ารเรียนรูสตู ัวชว้ี ดั 3.1. รวบรวมขอมูลทุตยิ ภูมติ ามวตั ถปุ ระสงค 3.2. เลอื กแหลง ขอมูลสาธารณะที่เช่ือถอื ได 3.3. จดั เตรียมขอมลู กอนการประมวลผล

4. สาระสำคัญ ขอมูลทุตยิ ภูมิทเ่ี ผยแพรบ นอินเทอรเน็ต มีอยหู ลากหลายรูปแบบ เชน xls, xlsx, odp, csv หรอื อยใู นรปู แบบ

รายงานหรอื ตารางบนเวบ็ ไซต แหลงขอมลู ทุติยภูมิ เชน เวบ็ ไซตใหบริการขอมลู ของสำนกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทลั data.go.th สำนกั งานสถติ แิ หงชาติ www.nso.go.th

การพิจารณาความเหมาะสมของแหลงขอมูล สามารถใชม ุมมองท้ัง 5 ดา น ไดแก ความทันสมัยของขอ มลู ความ สอดคลองกับการใชง าน ความนา เชอื่ ถือของแหลงขอมูล ความถูกตองแมนยำ และจุดมุงหมายของแหลงขอมลู

การจัดเตรียมขอมูล (data preparation) เพื่อเตรียมพรอมสำหรับการประมวลผล ประกอบดวย การทำความ สะอาดขอ มลู (data cleansing) การแปลงขอมูล (data transformation) และการเช่อื มโยงขอ มูล(combining data)

5. สาระการเรียนรู 5.1. ความรู

  1. การรวบรวมขอมูล
  2. การจดั เตรียมขอ มูล

57

5.2. ทักษะกระบวนการ

  1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห
  2. ทักษะการรสู ารสนเทศ
  3. ทกั ษะการแกป ญหา

5.3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

  1. มีวนิ ัย
  2. ใฝเรยี นรู
  3. มงุ ม่นั ในการทำงาน

6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการสอื่ สาร  ความสามารถในการแกปญหา  ความสามารถในการใชทักษะชีวติ  ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. กระบวนการจดั กิจกรรม/รูปแบบการจัดกิจกรรม ขั้นนำเขาสูบทเรยี น 7.1. ผสู อนนำเขา สูบ ทเรียน โดยอธิบายเร่ืองขอมลู ขนาดใหญ หรือ Big Data ซ่งึ ในปจ จุบันมคี วามสำคัญมาก

ตอ องคก รภาครฐั และเอกชนในการนำขอมูลขนาดใหญม าชวยในการวางแผน หรือตดั สินใจ โดยเปด วิดโี อเร่อื ง “Big data คอื อะไร จำเปน ตอ องคกรหรอื ไม ?”

7.2. ผูส อนช้ีแจงเพมิ่ เติมวา สำหรบั ในระดับชน้ั ของนักเรยี น ใหเ ขาใจกระบวนการของการนำขอมลู มาวิเคราะห อาจไมจ ำเปนตองใชข อมลู ขนาดใหญ แตนกั เรยี นตองสามารถคนหาขอมลู เพ่ือนำมาวิเคราะห และตอบคำถามทตี่ นเอง สนใจได พรอมทัง้ อธิบายจุดประสงคข องการเรยี นครงั้ นี้

ขั้นปฏิบตั กิ ารสอน 7.3. ผูส อนอธบิ ายเรือ่ งขอมูลทตุ ยิ ภูมิ และใหผูเ รยี นยกตัวอยางขอ มลู ทุตยิ ภมู ิ พรอมทงั้ ระบุแหลงขอมลู

แนวการตอบ ตัวอยางเชน - ขอ มลู จำนวนนกั เรยี น คนหาไดจ ากฝายทะเบียน - ขอมูลผลการเรียนของนกั เรยี น คนหาไดจากฝา ยวชิ าการ - ขอ มลู จำนวนประชากรในอำเภอ คนหาไดจ ากฝายทะเบียนทวี่ าการอำเภอ - ขอมลู อัตราการทำเกษตรกรรมในอำเภอ คนหาไดจ ากสำนักงานเกษตรอำเภอ 7.4. ผเู รยี นศกึ ษาหัวขอที่ 2.1 การเกบ็ รวบรวมขอมูล ในหนังสือเรยี น 7.5. ผสู อนตง้ั ประเดน็ คำถาม “รายไดเฉลย่ี ตอครวั เรือนของจงั หวัดของตนเองและจังหวัดใกลเคยี ง 5 จังหวดั มี ความสัมพันธกับปจจยั ใดไดบาง” ใหผูเรียนตั้งประเด็นทสี่ นใจแลวตัง้ สมมตฐิ านเกยี่ วกับประเด็นน้ัน

58

แนวการตอบ ตัวอยา งเชน - คำถาม : รายไดเฉล่ียตอ ครัวเรอื นสัมพนั ธก บั อัตราการวางงานหรอื ไม - สมมติฐาน : ถาอัตราการวางงานสงู ขนึ้ จะทำใหร ายไดเ ฉลย่ี ตอ ครวั เรือนตำ่ ลง - คำถาม : รายไดเ ฉล่ียตอ ครัวเรอื นมคี วามสัมพนั ธก บั จำนวนสมาชิกในครวั เรือนหรอื ไม - สมมตฐิ าน : ถาจำนวนสมาชกิ ในครวั เรอื นมาก รายไดเฉลย่ี ตอครวั เรอื นจะสงู ข้ึน - คำถาม : รายไดเฉล่ียมคี วามสมั พนั ธกับจำนวนหน้สี นิ หรือไม - สมมตฐิ าน : ถารายไดเ ฉล่ียตอ ครวั เรอื นสงู ขน้ึ จะมจี ำนวนหนส้ี ินลดลง 7.6. ผเู รียนคนหาขอมูลทตุ ยิ ภูมขิ องปจ จัยทน่ี ักเรียนเลอื กในการตอบประเดน็ ในขอ 8.2.5 โดยแนะนำผเู รยี น เพมิ่ เติมวา ควรจะหาขอมลู ท่ีมคี า เปนตวั เลข เพอ่ื ใหสามารถนำมาใชใ นการวเิ คราะหขอมูลตอได พรอมทั้งบันทกึ ไฟลท ่ี สบื คน ไดไวในเครื่องคอมพวิ เตอรข องตนเอง 7.7. ผูเรียนแตล ะกลุมทำใบกิจกรรมท่ี 4.1 ขอมลู ตอบโจทย แลวนำเสนอความเหมาะสมของแหลงขอมูลท่ี ผเู รยี นไดสืบคน มา 7.8. ผูสอนและผูเ รยี นรว มกันสรุปกจิ กรรมท่ี 4.1 7.9. ผเู รียนศึกษาหัวขอ ท่ี 2.2 การเตรยี มขอมูล (data preparation) ในหนังสอื เรยี น 7.10. ผูสอนถามผูเ รียนจากคำถามชวนคิด “การตรวจสอบขอ มลู ระเบยี นผปู วยของโรงพยาบาลแหง หน่งึ ” ใน หวั ขอ 2.2.1 การทำความสะอาดขอมูล โดยใหผเู รยี นรวมกันหาขอ ผดิ พลาดของขอมลู และอธิบายเหตุผล 7.11. ผูเรยี นแตละคนทำใบกิจกรรมท่ี 4.2 ผจู ดั การขอ มูล โดยศกึ ษาวิธกี ารดำเนนิ การจากหนังสอื เรยี น และ เวบ็ ไซต data.programming.in.th ขัน้ สรุปผลสอน 7.12. ผูส อนและผูเรียนรว มกนั สรปุ กิจกรรมท่ี 4.2

8. การวัดและการประเมินผล วิธีวดั ผล เครอื่ งมอื วัดผล เกณฑการประเมนิ สิง่ ท่ีวัดผล ประเมินจากใบกจิ กรรม

ดา นความรู (K) สงั เกตพฤติกรรมจากการ ดานทักษะ/กระบวนการ(P) ทำงานกลุม เจตคติ/คุณลักษณะ (A)

สมรรถนะ (C)

9. ส่อื /แหลง เรียนรู 9.1. ส่ือการเรียนรู 9.1.1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรเ ทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5

ของสถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 9.1.2. วิดีโอ เร่อื ง Big data คอื อะไร จำเปนตอ องคกรหรือไม ? //www.youtube.com/

watch?v=QuGlZrXPjiI

I rg 1 to6. xrna rfl dato.progrdn rq in.th

9.1.4. lunia:::.rfi 4.1 {a!anoulqyd mrirql'rurun.il

q 5 lufld.r::"11 z 2 {qn id0{,61 q,Ia L)Lh!5Lu

9.2. ttua I tr-f11.1:

f .z.l. rSritd nttps,ZZwww.youtube.com/watch?v=QucZrXPjt

o 2 2 lal-Ltg dd a.proqr"rr ir q. 1.ll-

10. n1iuiru1fl1:dFler2iiufi 21

3R

M R1 Reading n1:€irtoon M Rz writing nr:r{au'[fr M rc Arithmetic nii6olafl!flu

8C

M c1 crittcat thinking & probtem sotving finwdrunr:6ooeJrlfiiar:ruqrru unvri'nuvlun r: u6fl ryu r

EI c2 Creativity & innovation frnu;d'rllnr:6ir.la::ri uacrt:-mn::rl

E c3 cross culturaI underslanding r-nrsedirt-tn:r i{flooit.risruo::l oixn:alrufind EI C4 cottaboration, teamwork & leadership -n1lfirun:r:..ldr:lfio nt:lirlrur{lufil

ttncnr:vridr

EI C5 Comrnunications, information & medra titeracy fl-nvydtur-|:doa,: a]:auiyet tla3:tl] l11ud0

M C6 Computing & ICT titeracy fifluvfiruaalfi:rrrof rynlula6ar:au,ynua" a t:daa t: E C7 Career & learning skil.ls flnuvat6u saztYnr*snr:rilui

M cB compassion: finrur::u finoro'r nlrur i:rrfiar-;iria firrflu4ua-nuruvdugru;ir6'rp ro rri-rs*rtdir-riryl,r ..avrfl ueuinurucfi "d-1vrr r'r.tuo" o rfi

11. n?1 qq[ult (r.,u5141t / fi5^ai]evral{i5eu*&0u1,1:J1fl)

loylfl :01:l{ttil]. r:{al :\: jrrltail. E:Lj-rli: dLli::JfU t.6l t- nl :.lt1-41"r-r 2rL

r . ur,zut^ :ie :"iuuifi .lA.,,.rxt tr6 tr rotd E do.rrl:-u:l:r

1 1.2 nr:a'fl fr an: i-?.lnr:6su316drrarn:y :unr:[irJui

r-r'; , ".L/ 1l.LLl^l.: -L[1]LA nnl I1,n1Lr rLar5.1.,ulo?rr l!^1,41r.: r1!

LJ ltd.i [L.u1"h t:irutl lua ]nflr o ):r lir rlsr1^drr ro" lii

' r.l !ttl...a.L :dot :":" Lty

Z rirhflda au16' E n:::l:-lr-l:lriourir},({

na

ir. -r-... rtr,rn,*trnrurrtJ qrrJtlXl r,.r,r ,"7 lllnaulYrw >oo't\N

at,tT0.W.........\l a. ai10 LL-6\_"t (ursa,l,]an'aar ran) u-rraiir nrhar: v n r: ri erui (lrt:hanr niaul6v)

:a{frriru: fl n i: dlr €J!i Ifrt:/ 1t [o:t Jx.]ai ltutf l

aneJa

(uruon-u fiarrfi) firiruranr:1:rrEsuyiserql:smr:66imri

61

ใบกิจกรรมท่ี 4.1 ขอ มลู ตอบโจทย

1. ชอ่ื -สกุล _________________________________________________________ เลขท่ี ______ 2. ชื่อ-สกุล _________________________________________________________ เลขท่ี ______ 3. ชอ่ื -สกุล _________________________________________________________ เลขที่ ______ 4. ชื่อ-สกลุ _________________________________________________________ เลขท่ี ______

ใหน กั เรยี นคน หาขอมูล เพือ่ ตอบคำถามจากประเดน็ ท่กี ำหนดใหดงั นี้

1 ปจจยั ทีน่ า จะเก่ยี วของกับรายไดเ ฉล่ียตอครวั เรือนของจังหวัดตนเอง และจงั หวดั ใกลเ คียง 5 จงั หวดั มอี ะไรบาง

2 ต้ังคำถามที่สนใจและสมมตฐิ านที่เก่ยี วกับรายไดเ ฉลีย่ และปจจัยที่เกยี่ วของจากขอ 1 ของจังหวดั ตนเอง และจังหวัดใกลเคียง 5 จังหวดั

62

3 สบื คน ขอ มูลทตุ ยิ ภูมิเพือ่ ทดสอบสมมตฐิ านที่ตั้งไว โดยขอมลู ทุตยิ ภมู ดิ ังกลาวควรเปน ขอมลู ที่มีคาเปน ตัวเลข และกำหนดแอตทริบวิ ตท จี่ ำเปนของขอมลู ทจ่ี ะนำมาใช

ท่ี ขอ มูล แหลงขอมลู ชนดิ ไฟล แอตทรบิ ิวต (ขอ มูล) (ท่ีนำมาใช)

4 ประเมนิ ความเหมาะสมของขอ มูล และแหลง ขอมูลที่สบื คนได จากขอ 3

ขอมูล/ ทนั สมยั เกย่ี วของและ นาเชอื่ ถือและ ยนื ยันความ มีเปา หมาย เหตุผล แหลง เหมาะกับการ สอดคลองกบั ผเู ผยแพรม ี ถกู ตอ งและมี ชัดเจน ขอ มูล ความตองการ ความชำานาญ การนำไปใช ใชง านใน ปจจุบัน อา งองิ

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเ หมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเหมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเหมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม ไมเหมาะสม ไมเ หมาะสม ไมเหมาะสม

63

ใบกิจกรรมท่ี 4.2 ผจู ัดการขอ มลู

ช่อื -สกลุ _________________________________________________________ เลขท่ี ______

ใหน ักเรยี นทำตามขั้นตอนและตอบคำถามตอไปน้ี  ตอนที่ 1 ปรบั ปรงุ ขอมลู รายไดเ ฉลีย่ ตอเดือนตอครวั เรือน oho.ipst.ac.th/m5/1421

1 ดาวนโ หลดไฟล “รายไดเฉล่ยี ตอ เดอื นตอครวั เรือน 41-58.xls” ซง่ึ เปน ชดุ ขอมูลรายไดเ ฉลย่ี ตอ เดอื นตอ ครวั เรอื น จำแนกตามภาค และจงั หวดั พ.ศ. 2541 - 2558 จาก เวบ็ ไซต data.go.th

2 เลอื กใชโ ปรแกรม Microsoft Excel หรอื โปรแกรมตารางทำงานอ่นื ชว ยในการจัดการขอ มูล ดังน้ี

2.1 เปด โปรแกรมเพอ่ื นำเขาขอมูล “รายไดเ ฉลยี่ ตอเดอื นตอครวั เรอื น 41-58.xls”

64

2.2 ใหผเู รียนจัดเตรยี มขอ มลู ใหเ ปนระเบยี บสำหรับการประมวลผล oho.ipst.ac.th/m5/1423 ดังนี้

  1. ลบแถวที่ไมม ีขอ มลู และเปน ชอ งวาง
  2. แยกภาคและจงั หวดั ออกเปน 2 แอตทริบวิ ต
  3. ลบแถวทแี่ สดงการรวมขอมูล ไดแ ก ท่วั ราชอาณาจักร ตอนพเิ ศษ

ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคใต

  1. บนั ทึกไฟลใ หมช ื่อ “income.xls”

2.3 นำขอ มลู จากไฟล “รายไดเฉลี่ยตอเดือนตอครัวเรือน 41-58.xls” เพ่อื จดั กลมุ ขอมลู รายไดเฉลีย่ ตอเดอื นเปน ราย ภาค มาสรา งเปนตารางใหม แลว บนั ทึกไวใ นไฟลใ หมชือ่ average-income.xls

ตารางรายไดเ ฉล่ียตอ เดือนเปนรายภาคที่นักเรยี นสรา งขึน้ ประกอบดว ย

ชื่อแถว ชื่อคอลัมน

65

2.4 นำขอ มูลจากไฟล “รายไดเ ฉล่ียตอเดือนตอครวั เรอื น 41-58.xls” เพื่อจดั กลมุ ขอมลู รายไดเ ฉลีย่ ตอ เดอื น ดังน้ี

กลุมท่ี 1 < 15,000 บาท กลุมที่ 5 30,000 – 35,000

กลุมที่ 2 15,000 – 20,000 กลุมท่ี 6 35,000 – 40,000

กลมุ ที่ 3 20,000 – 25,000 กลุมท่ี 7 > 40,000

กลุมที่ 4 25,000 – 30,000

โดยสรา งเปน ไฟลใหมช ่อื GroupIncome.xls

ตวั อยางตารางขอมูล

66

 ตอนท่ี 2 ปรบั ปรงุ ขอมูลรายจายเฉลี่ยตอปของคนและครัวเรอื น ป 2558 oho.ipst.ac.th/m5/1422 1 ดาวนโหลดไฟล “BMN_58_expenses.csv” ซง่ึ เปน ชดุ ขอมลู รายจายเฉล่ยี ตอป ของคนและครวั เรือน (รายจังหวดั ) จากขอ มูล จปฐ ป 2558 ซง่ึ เปน ไฟล .csv 2 นำเขาไฟลรายจายเฉลย่ี ตอปของคนและครัวเรือนในโปรแกรม Microsoft Excel และตัง้ คารปู แบบรหสั แทนตวั อักษร และเคร่อื งหมายสญั ลักษณในการแบงขอ มลู

67

3 ใหนักเรยี นจดั เตรยี มขอ มูลใหเปน ระเบียบสำหรับการประมวลผล ดังน้ี

  1. ลบแถวท่ีไมมขี อมูล หรอื เปน ชองวา ง
  2. ลบแถวท่เี ปนการรวมขอมูล และรายละเอยี ดอ่นื ๆ ท่ไี มเกีย่ วของสำหรับการคำนวณ
  3. บนั ทกึ ไฟลใ หมชือ่ expense58.xls

4 เพ่ิมจำนวนขอมูล “จำนวนสมาชิกเฉล่ยี ตอครัวเรือน” โดยเพม่ิ คอลมั นและคำนวณโดยใชสตู ร ดงั รูป

68

5 เพิ่มคอลัมนใหม รายจา ยเฉลี่ยตอครวั เรอื นตอ เดอื น โดยคำนวณจาก

6 บันทึกไฟลชือ่ expense58.xls

 ตอนที่ 3 เชื่อมโยงไฟล income.xls และ expense58.xls เพอ่ื สำรวจความสมั พนั ธร ะหวางรายไดเ ฉลี่ยตอครวั เรือนตอเดอื นและรายจายเฉล่ียตอครัวเรอื นตอเดอื น ในป

พ.ศ. 2558 จะตอ งเชื่อมโยงทั้ง 2 ไฟลใ หเปน ไฟลเ ดยี วกนั ดังน้ี

1 ตรวจสอบคอลัมนของทั้ง 2 ไฟล มีคอลัมนท ่เี หมือนกัน คือ __________________________________ 2 ทำความสะอาดขอ มลู โดยตรวจสอบขอ มลู จงั หวัดท่ไี มเหมือนกนั ของทงั้ สองไฟล

2.1 เรียงลำดบั ขอ มูลในคอลมั น “จังหวัด” ของไฟล expense58.xls 2.2 ไมพ บจังหวัด _____________________ ในไฟล expense58.xls 2.3 ลบจงั หวดั _____________________ ในไฟล income.xls เน่อื งจาก ____________________

________________________________________________________________________

69

2.4 เช่อื มโยงไฟล income.xls และ expense58.xls ไดผ ลลพั ธด งั รูป

3 บนั ทกึ ไฟลใหมช ื่อ income-expense.xls และ income-expense.csv

 ตอนท่ี 4 เชอ่ื มโยงไฟล income.xls และ expense58.xls ใหน ักเรียนและเพ่ือนในกลุมชว ยกันจัดเตรยี มไฟลใหมท่คี นหาไดจ ากใบกิจกรรมท่ี 4.1 ขอมลู ตอบโจทย

ไดแก รายไดเ ฉลีย่ ของประชาชนในจังหวัดตนเองและจังหวัดใกลเคียง 5 จงั หวดั และปจจัยท่ีไดเ ลือกไว โดยใหทำความ สะอาดขอมลู แปลงขอ มลู เชอ่ื มโยงขอมูลใหพรอมสำหรบั การสำรวจและวิเคราะหหาความสัมพนั ธ และบนั ทกึ เปนไฟลใ หม

70

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 5

หนวยการเรียนรูท ่ี 2 เร่ือง การสำรวจขอ มลู รหสั วชิ า ว32184 รายวิชา วิทยาการคำนวณ

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2563 เวลา 2 ชัว่ โมง

ผสู อน นายธนภัทร จันทรมณี วันที่ 3 เดือน กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2564

******************************

1. มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชงิ คำนวณในการแกปญหาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อยางเปนขั้นตอน

และเปนระบบ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรกู ารทำงาน และการแกป ญ หาไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ รูเทา ทัน และมจี รยิ ธรรม

2. ตวั ชี้วัด รวบรวม วเิ คราะหขอมลู และใชค วามรูด า นวิทยาการคอมพิวเตอร ส่อื ดจิ ทิ ัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ในการแกปญหาหรือเพิ่มมลู คาใหก ับบรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑทใี่ ชใ นชีวติ จริงอยางสรา งสรรค

3. จุดประสงคการเรียนรสู ตู ัวช้วี ดั 3.1. สำรวจขอ มูลเพือ่ ทำความเขาใจ รปู แบบ ความสมั พนั ธ และผลลัพธเชิงพรรณนาเบ้ืองตนเกีย่ วกบั ขอมูล 3.2. เลอื กใชเคร่อื งมือในการสำรวจขอมลู ตามความถนัด

4. สาระสำคญั การสำรวจขอมูล (data exploration) เปนการทำความเขาใจเพื่อพิจารณาภาพรวมของขอมูล โดยอาจใช

แผนภาพ หรือกราฟของขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ระหวางการสำรวจ อาจจะพบขอผิดพลาดหรือปญหาอื่น ๆ จากการตั้ง คำถาม หรือการรวบรวมขอมูล ซึ่งทำใหตองกลับไปดำเนินการแกไขใหถูกตอง เครื่องมือที่ใชในการสำรวจขอมูลอาจใช โปรแกรมสำเรจ็ รปู หรือการเขียนโปรแกรมภาษา

5. สาระการเรียนรู 5.1. ความรู

  1. การสำรวจขอมลู โดยใชการวาดแผนภาพ แผนภมู ิ กราฟ
  2. เครื่องมอื ทใี่ ชในการสำรวจขอมูล เชน โปรแกรมตารางทำงาน โปรแกรมภาษา และโปรแกรมเฉพาะ

สำหรบั งานดา นวิทยาการขอ มูล 5.2. ทกั ษะกระบวนการ

  1. ทักษะการคดิ วเิ คราะห
  2. ทกั ษะการรสู ารสนเทศ
  3. ทกั ษะการแกปญหา

71

5.3. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

  1. มีวนิ ัย
  2. ใฝเรยี นรู
  3. มงุ มน่ั ในการทำงาน

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการแกปญหา  ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ  ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. กระบวนการจัดกิจกรรม/รปู แบบการจัดกจิ กรรม ขน้ั นำเขาสูบทเรยี น 7.1. ผสู อนทบทวนกระบวนการในการจัดเตรยี มขอมูลจากกจิ กรรมท่ผี านมา และตรวจสอบผูเรยี น

ในการจดั เตรียมชุดขอ มลู ดงั นี้ - income.xls - average-income.xls และ average-income.csv - expense58.xls - income-expense.xls และ income-expense.csv - ชดุ ขอ มลู จังหวัดตนเองและจงั หวัดใกลเคียง 5 จังหวดั และปจจัยทไี่ ดเลือกไว

ขน้ั ปฏิบตั ิการสอน 7.2. ผเู รยี นศกึ ษาหัวขอท่ี 2.3 การสำรวจขอ มลู ในหนงั สือเรยี น 7.3. ผูเรยี นแตล ะคนทำใบกจิ กรรมท่ี 5.1 นักสำรวจ และระหวางทำกจิ กรรมใหศกึ ษาเคร่ืองมือ ท่ใี ชในการสำรวจขอมลู เพ่ิมเตมิ จากเว็บไซต data.programming.in.th 7.4. ผสู อนใหผูเ รยี นโพสตผลลัพธข องขอมลู จากการสำรวจของตนเองลงบน Padlet หรอื อาจใชโปรแกรมอน่ื ตามความเหมาะสม ขนั้ สรุปผลสอน 7.5. ผเู รียนทำแบบทดสอบบทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจขอ มลู เพอื่ ประเมนิ ความเขา ใจ oho.ipst.ac.th/m5/1500

8. การวดั และการประเมนิ ผล วธิ ีวดั ผล เคร่ืองมอื วัดผล 72 สิง่ ที่วัดผล ประเมินจากใบกิจกรรม แบบทดสอบบทที่ 2 การ เกบ็ รวบรวมและสำรวจ เกณฑการประเมนิ ดา นความรู (K) สังเกตพฤตกิ รรมจากการ ขอมลู ทำงานกลมุ ดานทักษะ/กระบวนการ(P) เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A)

สมรรถนะ (C)

9. ส่อื /แหลง เรียนรู 9.1. ส่อื การเรยี นรู 9.1.1. หนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรเ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5

ของสถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 9.1.2. ใบกิจกรรมท่ี 5.1 นกั สำรวจ 9.1.3. ชดุ ขอ มูลจาก data.programming.in.th

9.2. แหลง เรยี นรู 9.2.1. เว็บไซต data.programming.in.th 9.2.2. บทเรยี นออนไลนการเขียนโปรแกรมภาษา R และภาษาไพทอนสำหรบั งานดา นวิทยาการขอมลู

เชน //datarockie.com 9.2.3. วดิ โี อสอนการทำขอมูลใหเปนภาพ (visualization) เชน //www.youtube.com/

channel/UCl4w_st9XiRHqWhnanGjIGg 9.2.4. วิดีโอสอนการใชโ ปรแกรม Microsoft Excel เพ่อื ทำ Pivot table และสรา งกราฟ หรือแผนภมู ิ

เชน //www.youtube.com/channel/UCl4w_st9XiRHqWhnanGjIGg 9.2.5. วดิ โี อสอนการใชโ ปรแกรม Tableau เชน //www.youtube.com/playlist?list

\=PLJbbOKlo_atDG-Q_b5FTrUEoXLFLjETWH

10. การบรู ณาการสูศ ตวรรษท่ี 21 3R  R1 Reading การอานออก  R2 Writing การเขียนได  R3 Arithmetic การคิดเลขเปน 8C  C1 Critical thinking & problem solving ทกั ษะดานการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ

และทกั ษะในการแกป ญหา  C2 Creativity & innovation ทักษะดา นการสรา งสรรค และนวัตกรรม

t1

! c3 Cross-cutturat understanding r-nuafrrunx'r:Jd{{oi't{ieru[::l rirln:slru{nd

:rlirliEI C4 Cotlaboration, teamwork & leadership l-nusd'tun o n t:lirlrurflufr:t

uagnmv

r!'r

EI C5 Communications, informatron & medra titeracy ahuy6'rtnt:daat: ar:auryn

[as:tytl14udo

M C6 computing & ICT literaq/ fl-flrJafr'lunox]fi'tlnoi !ynlukAat:al]run*a"nr:dcdr-'

EI C7 Career & tearning skitis frnuvoriu uayfr'nrsnt:Garti

E cB compassion: finrum:! fiflsrerr n:rur l':grr'ari{o dsr{tuqrua'nuuvdugrudrn'rg

rilrl 11-''r3"''lxl1v"oluv&:14:Jfr i"r',stuL" n"anurur yi td n'[v us; .ir"6d

11. n?'r:.rBor1,ru (9luaur: / 1i5Bill,1 [6iur]au14 1E)

t6ilirnr:fi ::a u,ruar:ionr'r-risuisa.rmuoufir: duy:rri iririn.:rr uiud'sd

.' .tl.ut- r,jrn^rrErr-iri n fr

dd:rra E diolrJ:--ulqr

E lrol{

11.2 nr:iqiaa:: nr:rittlfl6rilorn:curuar:rigui

l.4 vr.Ll.r.":r L"tlud t6l+ l{n:el ,un ra"LlF.tJ^t!1r: }61:

tr iia.ltririir:(rialrfl urirdi nr:rl:-lrJ;lfiorlrriaht

1 1.3 rilu[iJun']ifloai5Guuifi

Efrirhl{iaou16

I rcr: iurJ:r i]o ud{r,1d

t l\:.q riiar';li -,l.Llsal'! "..... I t r,lr{ innr i1l !4 FaJv )A' Into,rr-1$1dr.a>Fod1 ^1)

.a rdo... .........d.1-"1f ....... . . -a-

(ur:a!?dflatt t0fl) ait0 1J61

itair nri!ar r- v n r: G sui (uriiaanr etiusl6c)

50r1ft dru:unr:-r.lrir!iur:.i r:/q!fltn:L x.r0! 14:r't tl

aila

(uruaa-B n-axrd) {riru'r a nr:-l:r 6uulr u mrrJ:soruffii'arrj

14

uuun aua tvu2un tS[:E]ui

  1. clanr:riaui

i1.1. 6.runx1 (K) 0l'l:1{Val ,, r AALtq?d]5r1't.iflr:[-lUU !a:Oi flr:tnd !::t]rX 1 llas;if r'1i10:..]A t[Aq.ln'l:Of]Ag:soi

rvou,Ja63.rqv5 ar1Jx1]un[:uu :a8av

6 fl (B 10 {.vr!uu) 4o \3

o'(o-z nvuuu) ?,L L1 q ro"ld (4 s ncttuu) q 1k q.l ii!rl:.x (1 3 nstiuu)

rranr',-rlfr 1 wlirrinriluist efrlqvEra 'r. r:,E .i- lo er .t 1. .. ..q1r,, Cr..J-ry".....

fltnt d-Ll... r.... o d1u: v frl . .. .. ..oc'r1i " ": L.....fl?yr.m .i6- trr ,lJ Lil r{! q L i1.2, ff''ruvl-n1sy/n:su ?ufl,t (P) 9l'l:'l1i-142[tCr]Ar,pL6lt:!!"Lr.6lA:0rDl'"'t:.:'L"5":.rt!-U:r1 ..:.."]d:J{trl{"

:v6'u aradr qvrd a1uxu1.rflt:au :ouas

6!1fl (5 nE$uu) tL

fr (3 4 evulrlr) 5 t.(

wo1{ (z nvuul) ')b) t3

!;u :{ (1 nsuur) h)

1 ::u:" i"raev...Iir.f...2...^.9tqJ1rirf-l",u5ou-urf-it.ha/do:,V"ot5!yJ3fel crrn' j

r:. :.Er L i,,r dr 4hunv......9.. -L... a lilu: v frr ),Ln!iuL..... ll & Jl 14 t5ql'r d iq,).t.n.-f,'.,*)3(.. ,j-{,n ..4.,:. a,-r"B zv:.

t.3. dru[oaa6 ,i nfua'nuruvr (a) rEolft .ixul]q:S]ud.tna 91.:'li;ll J llafli6,v ldr Fvn[U6rnU[Ul rll-l\1]l:s61lfl":0I n :.'L:dt:JLJosAl..11AL6j

:rqunfun11! aruxlJun[5u1r 50ua; frtBULr (5 nu[uu) 6 (3 4 nsltulr) (3 q"

r.iruinrue{ (t z nauuu) IK 2p lq rl trlr.,lrurnruq4 (o ncuuu) IL It

r :ot tr' , wli #,!t-r-i,"rufr.rgatciulirU:ya:ri:.uu" {.h....r;1"r,,i....df d)^ i.!F-:err,, r: ri0',6,! . .....-1.(......... ,1rl:rd. {ql4rv./-,rru, r .:-r r" !@..?ry.Jr.l&....l.oavral.run.: r$ 4n

'h qc.^-.j}) r\o\.d q, I

L

15

1.4 6 rudl::nuuai''r6'6U%a rt![ic]L (c) ,dorlarriuurrn:Srua rne

a"4q"l5'lnfl AA:nl:0Ua&A3J::fluUd'lFlfll10i,.lti-8U !i-0.i nl:tllll:'lLl:'l:..1l[AvA'l:';14?0:.!A

5vou66ur11,,1l s'tu?tJun!:8u t0845

otErut /o1 67

tutflfu?l 3i ?1 lrlilru ra ruei

{ rot :fi 4 ,,rr- " 'rjnrialia: ::.,r-vJrdrur. rfrirr" ,0r., .9} .. ,.1",,,ir. .d..

nE/*n'iouacs:a','u.isa,.iur.rrt'r1uia<a'a.ag-..,.u..,.-..g$,.).,.o...5.06a*1l.'JurJ:adJ'r"n..&yfl-r.dn'or*ririo,EouL..tslg+uril\lyUr- ryffrJ

e5U S.dfl-:tflx4l.'lt r')'t5CL:1' / .:dl n :[nt: JL:.1 ruar;j,r::r 10n i- un r:uu:.r2a6:]ila ll,r: !:8 i-]a rflir:rn! [1i'r.i ',i1 2 r.r'a riuufi7-n us"lu:g oitl...

3 ria ri uui erua'au;uslu:c 611

4 rin 6auiar::nu;;ir6'r; 1ur-vdr..r

  1. ll6lly_ d iyllfI1] i'llu - 1,1 1 illFUtuy 1/ll" rfl 1 rnl51\ruL i

21. ql14r/d rv11qru r . . . . . . . . . . . . . . . .

2.2. ar ni orra.:rligu r/d.rffririrur.

2.3. uulvi{!!frh/'flu'l

anfl0 5, qh

(urutun'r: ,t'uvr: ai)

n: :s;iritr/riaau

76

ใบกิจกรรมท่ี 5.1 นกั สำรวจ

ช่อื -สกุล _________________________________________________________ เลขที่ ______

ใหผ เู รยี นดำเนนิ การตามขนั้ ตอนตอ ไปนี้

1 ใชช ุดขอมูล income.xls, average-income.csv, expense58.xls และ income-expense.xls และสำรวจ ขอมูลทั้ง 4 ชดุ น้ี โดยใชเครอ่ื งมอื ทน่ี ักเรียนถนัด

1.1 ใชชุดขอมูล income.xls หรอื average-income.csv (หากเขยี นโปรแกรมภาษา) สรา งกราฟเสน เพื่อ สำรวจภาพรวมรายไดเฉลย่ี ตอครัวเรอื นรายภาค

1.2 ใชชุดขอ มลู income.xls หรอื expense58.xls สรา งฮิสโทแกรมเพ่ือสำรวจรายไดห รือรายจายเฉลย่ี ตอ ครวั เรือนของประชากรในแตล ะจงั หวดั 1.3 ใชช ุดขอมลู income-expense.xls สรา งแผนภาพการกระจาย เพ่ือสำรวจความสมั พันธร ะหวางรายได และรายจา ยเฉลยี่ ตอ ครัวเรอื น 1.4 ใชช ดุ ขอ มลู income.xls หรอื average-income.csv (หากเขยี นโปรแกรมภาษา) สรา งแผนภาพกลอ ง เพ่ือสำรวจความแตกตางของรายไดเฉล่ียตามกลุมจังหวดั 2 ตง้ั คำถามท่ีนักเรยี นสนใจ และสำรวจชดุ ขอมลู รายไดเฉลีย่ ของประชาชนจังหวดั ตนเองและจงั หวดั ทีส่ นใจ 5 จงั หวดั 2.1 กราฟ แผนภาพ หรือแผนภูมทิ น่ี ักเรยี นสำรวจ อธิบายอะไรเกยี่ วกบั ขอมูลไดบ าง __________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________

2.2 เลือกกราฟ แผนภาพ หรือแผนภูมิ ทน่ี ักเรยี นสำรวจ นำเสนอใหเ พื่อนดู โดยโพสตบน Padlet และเขยี น อธิบายสิ่งทีน่ กั เรยี นสำรวจพบ พรอ มบอกเครื่องมือที่ใช (โปรแกรมสำเร็จรูปหรอื โปรแกรมภาษา)

77

78

ขอ สอบกอน – หลังเรยี น

หนว ยการเรียนรูท ี่ 2 การเกบ็ รวบรวมและสำรวจขอมูล

1. ขอมูลใดตอ ไปน้ี มคี วามเหมาะสมท่ีสดุ ท่นี กั เรยี นจะนำมาใช

ก. ขอ มลู ย่หี อน้ำมันหอม ทผี่ ใู ชเ ลอื กใช ซง่ึ เกบ็ รวบรวมโดยบริษัทน้ำหอมยหี่ อ ABC

ข. ขอ มูลรายไดป ระชากร 2530 ทีร่ วบรวมโดยสำนกั งานสถิตแิ หงชาติ

ค. ขอมูลคะแนนสอบ O-NET ปล าสุด เผยแพรโดยสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ

ง. ขอ มูลราคาอัญมณชี นดิ ตาง ๆ ทพี่ บจากเสิรช เอนจินแตไ มร ะบแุ หลงที่มา

2. จากตารางดานลา งน้ี ขอมูลท่อี ยูใ นลำดบั ใดนาจะเปนขอมลู ท่ีผิดพลาด

ลำดับท่ี อาย(ุ ป) นำหนัก สวนสูง (กโิ ลกรัม) (เซ็นติเมตร)

1 12 40 140

2 3 14 96

3 10 21 175

4 5 17 105

5 60 70 172

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

3. ขอใดกลาวไมถกู ตองเก่ยี วกับคาผิดปกติ (Outlier)

ก. การวิเคราะหขอ มูลดวยคา เฉลยี่ โดยการนำคา ผิดปกติมารวมกันอาจทำใหไดคา เฉลี่ยท่ีตา งจากการไมน ำคา

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้