ซื้อขายกับแลกเปลี่ยนต่างกันอย่างไร

สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward) คือ สัญญาซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศในอนาคตด้วยอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ล่วงหน้าตั้งแต่วันนี้(ล็อกเรท) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่มีความผันผวน อัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ล่วงหน้าดังกล่าว เรียกว่า forward rate สามารถศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการกำหนด forward rate เพิ่มเติมได้ ที่นี่



 


 
สัญญาแลกเปลี่ยนทรัพย์สิน


           สัญญาแลกเปลี่ยนทรัพย์สิน ถือเป็นสัญญาที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนาน และแม้ในปัจจุบันสัญญาแลกเปลี่ยนจะได้รับความนิยมน้อยลง เพราะคนนิยมใช้เงินเป็นสื่อกลางในการซื้อทรัพย์สินกันก็ตาม แต่สัญญาแลกเปลี่ยนก็ใช่ว่าจะหมดความสำคัญไปเสียทีเดียว เพราะในบางสถานการณ์ ผู้ประกอบกิจการก็อาจจะมีโอกาสหรือมีความจำเป็นต้องใช้สัญญาแลกเปลี่ยนได้

ความหมายของสัญญาแลกเปลี่ยน

          สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นสัญญาประเภทหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีลักษณะเป็นสัญญาที่คู่กรณี (คู่สัญญา 2 ฝ่าย) ต่างฝ่ายต่างโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้กันและกัน โดยสามารถแบ่งลักษณะสำคัญของสัญญาแลกเปลี่ยนได้ดังนี้

          1. สัญญาแลกเปลี่ยนมีคู่สัญญา 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเรียกว่า คู่กรณีฝ่ายที่ 1 อีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า คู่กรณีฝ่ายที่ 2 แต่ละฝ่ายจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือเป็นนิติบุคคลก็ได้ หากเป็นนิติบุคคลการแลกเปลี่ยนนั้นจะต้องอยู่ในกรอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น
          2. วัตถุแห่งสัญญาแลกเปลี่ยน คือ ทรัพย์สิน (วัตถุมีรูปร่างหรือวัตถุที่ไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้) ซึ่งจะเป็นสังหาริมทรัพย์ เช่น นาฬิกา รถยนต์ หรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร ก็ได้ อย่างไรก็ดี หากวัตถุแห่งสัญญาเป็นเงินกับทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงิน จะไม่ถือเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่จะกลายเป็นสัญญาซื้อขายแทน
          3. คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่าย จะต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่แลกเปลี่ยนกัน หากไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธิ์การแลกเปลี่ยนย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
          4. วัตถุประสงค์ของสัญญาแลกเปลี่ยน คือ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของคู่กรณีแต่ละฝ่ายให้แก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง
          5. สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นสัญญาต่างตอบแทน คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่าย ต่างมีสถานะเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน หากฝ่ายใดไม่ยอมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่อีกฝ่าย อีกฝ่ายก็ย่อมมีสิทธิไม่ส่งมอบทรัพย์สินของตนตอบแทนเช่นกัน
          6. เป็นสัญญาที่กฎหมายกำหนดให้นำบทบัญญัติในเรื่องซื้อขายมาใช้ เนื่องจากสัญญาแลกเปลี่ยนกับสัญญาซื้อขายมีลักษณะที่คล้ายกันมาก โดยมีจุดที่เหมือนกันตรงที่คู่กรณีหรือคู่สัญญาทั้ง 2 ฝ่าย ต่างฝ่ายต่างโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่กัน แตกต่างกันเพียงสัญญาซื้อขายคือการโอนเงินแลกกับทรัพย์สิน ส่วนสัญญาแลกเปลี่ยนคือการโอนทรัพย์สินที่ไม่ใช่เงินแลกกับทรัพย์สินที่ไม่ใช่เงิน ดังนั้นกฎหมายจึงกำหนดให้นำหลักเกณฑ์ของสัญญาซื้อขายมาใช้กับสัญญาแลกเปลี่ยนด้วย และให้ถือว่าคู่สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นผู้ขายในทรัพย์สินที่ส่งมอบ และเป็นผู้ซื้อในทรัพย์สินที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนนั้น

ประเภทของสัญญาแลกเปลี่ยน

          สัญญาแลกเปลี่ยนมี 2 ประเภท ได้แก่
          1. สัญญาแลกเปลี่ยนทรัพย์สินกับทรัพย์สินโดยไม่มีการเพิ่มเงินให้แก่อีกฝ่ายหนึ่ง โดยทรัพย์สินที่แลกเปลี่ยนกันนั้นจะเป็นชิ้นเดียวหรือหลายชิ้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น แลกรถยนต์กับเรือ
          2. สัญญาแลกเปลี่ยนที่โอนเงินเพิ่มเข้ากับทรัพย์สินอื่นเพื่อแลกกับทรัพย์สินของอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดจากราคาทรัพย์สินที่ต้องการแลกเปลี่ยนมีมูลค่าไม่สมดุลกัน หรือเป็นกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอำนาจต่อรองเหนือกว่า คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งในกรณีที่ต้องเพิ่มเงินด้วยนั้น กฎหมายกำหนดให้บทบัญญัติทั้งหลาย อันว่าด้วยราคาในลักษณะซื้อขายนั้น ให้ใช้ถึงเงินเช่นว่านั้นด้วย (ป.พ.พ. มาตรา 486 - มาตรา 490)

     จากบทความ : “สัญญาแลกเปลี่ยนและภาระภาษี” 
     Section: Laws & News / Column: Business Law

     อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่...วารสารเอกสารภาษีอากร ปีที่ 41 ฉบับที่ 492 เดือนกันยายน 2565
     หรือสมัครสมาชิก “วารสารเอกสารภาษีอากร” เพื่อรับสิทธิอ่านและสืบค้นบทความ ผ่านระบบ e- Magazine Index

 
 



ทรัพย์สินตามสัญญาแลกเปลี่ยน มีอะไรบ้าง

2. วัตถุแห่งสัญญาแลกเปลี่ยน คือ ทรัพย์สิน (วัตถุมีรูปร่างหรือวัตถุที่ไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้) ซึ่งจะเป็นสังหาริมทรัพย์ เช่น นาฬิกา รถยนต์ หรือเป็นอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร ก็ได้ อย่างไรก็ดี หากวัตถุแห่งสัญญาเป็นเงินกับทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงิน จะไม่ถือเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่จะกลายเป็นสัญญา ...

การซื้อขายแลกเปลี่ยนหมายถึงอะไร

1. เป็นสัญญาต่างตอบแทนที่ต้องมีคู่สัญญาสองฝ่าย คือ ผู้ซื้อกับผู้ขาย ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ตอบแทนจากกันและกัน โดยผู้ขายได้รับชำระราคา และผู้ซื้อได้รับสินทรัพย์ไป

ต่างตอบแทนในสัญญาแลกเปลี่ยน"หมายความว่าอย่างไร

๑) เป็นสัญญาต่างตอบแทน คือ โอนกรรมสิทธิ์ในตัวทรัพย์ซึ่งกันและกันทันทีที่เกิด สัญญา ๒) มีลักษณะคล้ายสัญญาซื้อขาย กฎหมายกําหนดให้นําบทบัญญัติในเรื่องซื้อขายมาใช้ เช่น ม.๕๑๙ “ …. โดยให้ถือว่าคู่สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นผู้ขายในส่วนทรัพย์สินที่ตนได้ส่งมอบ และเป็นผู้ซื้อในทรัพย์สินที่ตนได้รับในการแลกเปลี่ยน

บทบัญญัติกฎหมายใดที่นํามาใช้กับสัญญาแลกเปลี่ยน

ความหมายของสัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี่ยน หมายความว่า สัญญาประเภทหนึ่งที่คู่สัญญาต่างก็ต้องโอนกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินของตนให้แก่กัน ตาม ปพพ. มาตรา 518 บัญญัติไว้ว่า “อันสัญญาแลกเปลี่ยนนั้นคือ สัญญาซึ่ง คู่กรณีต่างโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่กันและกัน”

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้