วิจัยการวาดภาพระบายสี ปฐมวัย

ผู้เรียนกลุ่มหนึ่งมีทักษะพื้นฐานทางการระบายสีที่ดี แต่ยังมีกลุ่มหนึ่งที่พื้นฐานการระบายสียังไม่ดี แต่ยังมีข้อควรปรับปรุงอีกเล็กน้อย   ซึ่งครูผู้สอนได้เล็งเห็นว่า  หากมีการฝึกทักษะเป็นลำดับขั้นตอนอย่างถูกวิธี    จะช่วยส่งผลให้นักเรียนมีทักษะที่ถูกต้อง  มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น  ดังนั้นครูผู้สอนจึงมีความสนใจที่จะทำวิจัยในเรื่องนี้เพื่อช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นและเป็นพื้นฐานการเรียนวิชาศิลปะต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
            1.   เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนระบายสีได้ถูกต้องตามขั้นตอน
            2.   เพื่อให้นักเรียนระบายสีตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้
สมมติฐานของการวิจัย
            นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการฝึกมีทักษะการระบายสีหลังการฝึกสูงกว่าก่อนการฝึก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
           1.   นักเรียนมีความสามารถในการระบายสีหลังฝึกสูงกว่าก่อนฝึก
           2.   นักเรียนระบายสีได้เรียบร้อย สวยงาม ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ขอบเขตของการวิจัย
           1.   ในการวิจัยครั้งนี้  เป็นการส่งเสริมทักษะการระบายสี โดยใช้แผนการจัดประสบการณ์และแบบฝึกทักษะ
            2.   ประชากรในการวิจัยครั้งนี้  คือ  นักเรียนอนุบาล 2/โรงเรียนเคียวนำ   ตำบลกำแพง  อำเภออุทุมพรรพิสัย    จังหวัดศรีสะเกษภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2556

วิธีดำเนินการวิจัย
            1.กลุ่มตัวอย่าง  ได้แก่  นักเรียนชั้นอนุบาล  2/ปีการศึกษา  2556   จำนวน  2  คน

           2. ตัวแปรที่ศึกษา    ตัวแปรต้น  ได้แก่   แผนการจัดประสบการณ์และแบบฝึกทักษะ
                                          ตัวแปรตาม  ได้แก่   ความสามารถในการระบายสี
          3.วิธีการนำไปใช้  ใช้ฝึก ช่วงเวลาพักเที่ยง  30  นาทีต่อครั้ง  โดยใช้ใบงานที่ครูกำหนดและมีการวัดผลดังนี้  

                                 3.1   ให้ระบายสีก่อนการใช้แบบฝึก  1  ครั้ง
                               3.2   ฝึกทักษะตามแบบฝึกที่กำหนดไว้และมีการตรวจผลงานเป็นระยะ ๆ
                                  3.3   ให้ระบายสีหลังการฝึกทักษะ 1 ครั้ง
         4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
                         4.1   ข้อมูลที่เก็บ  ได้แก่   ความสามารถในการระบายสี
                         4.2   วิธีการที่ใช้ คือ การตรวจผลงาน
                          4.3   เครื่องมือที่ใช้ คือ บันทึกผลการตรวจผลงาน
         5.วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
                           5.1   เปรียบเทียบความสามารถในการระบายสีก่อนและหลังการฝึก
                          5.2   เปรียบเทียบความก้าวหน้าในการระบายสีเป็นระยะ ๆ ในระหว่างการฝึก
         6.  สถิติที่ใช้  ได้แก่      ค่าเฉลี่ย ( X )

         7.  ผลการวิเคราะห์ข้อมูล   ดังแสดงในตาราง
               7.1.  คะแนนความสามารถในการระบายสีก่อนและหลังการฝึก
ตารางที่  1    เปรียบเทียบความสามารถในการระบายสีของนักเรียน  ชั้นอนุบาล 2/2    
                     ก่อนและหลังการฝึก  จำนวน    2   คน   (คะแนนเต็ม  3  คะแนน)


ชื่อ-สกุล

คะแนนก่อนฝึก

คะแนนหลังฝึก

ความก้าวหน้า

เด็กชายธีระศักดิ์   ศรีลาชัย

1

3

1

เด็กหญิงปาณิศา    ศรสุรินทร์

2

3

1

คะแนนรวม

3

6

2

คะแนนเฉลี่ย

1.50

3.0

1.0


จากตารางที่  1  พบว่า   คะแนนเฉลี่ยก่อนฝึกของนักเรียนเท่ากับ  1.50  คะแนนเฉลี่ยหลังฝึกเท่ากับ  3.00    ดังนั้น  นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย     =   3.00 – 1.50 
                     =   1.50
      แสดงว่า  ภายหลังการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี  นักเรียนมีความสามารถในการระบายสีดีขึ้น



7.2  คะแนนเฉลี่ยความก้าวหน้าในการระบายสี
   ตารางที่   2    ค่าสถิติพื้นฐานคะแนนความก้าวหน้าในการระบายสีของนักเรียนอนุบาล จากการฝึก  5  ครั้ง


รายการ

จำนวนนักเรียน

(N)

ค่าเฉลี่ย

(X)

ทดสอบก่อนฝึก

2

1.50

ทดสอบระหว่างฝึก ครั่งที่ 1

2

1.50

ทดสอบระหว่างฝึก ครั่งที่ 2

2

2.00

ทดสอบระหว่างฝึก ครั่งที่ 3

2

2.00

ทดสอบหลังฝึก

2

3.00


จากตารางที่  2  พบว่า  คะแนนความก้าวหน้าในการระบายสีของนักเรียนจากการใช้ภาพทดสอบ  5  ครั้ง  เท่ากับ  1.50 , 1.50 , 2.00 , 2.00  และ  3.00  ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่านักเรียนกลุ่มนี้มีความก้าวหน้าในการระบายสีสูงขึ้น
สรุปและอภิปรายผล
              สรุปผล
               ภายหลังการฝึกทักษะการระบายสีด้วยแบบฝึกทักษะที่ครูกำหนดขึ้น ซึ่งมีลำดับขั้นจากภาพ
ที่มีองค์ประกอบน้อยไปจนถึงภาพที่มีองค์ประกอบและรายละเอียดมาก  ปรากฏว่า  นักเรียนชั้นอนุบาล  2/ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน  2  คน  มีทักษะการระบายสีที่ดีขึ้น

              อภิปรายผล
               จากผลการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี ปรากฏว่า นักเรียนมีความสามารถในการระบายสีดี
ขึ้น  ซึ่งเมื่อพิจารณาความก้าวหน้าในการระบายสีของนักเรียน   พบว่า  นักเรียนมีพัฒนาการในการระบายสีดีขึ้นตามระยะเวลาและจำนวนกิจกรรมที่ฝึกและเมื่อสิ้นสุดการฝึกก็พบว่านักเรียนทั้ง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้