ช่องทางการขายแบบ Marketplace บน E

E-Marketplace ย่อมาจาก Electronic Marketplace คือ ตลาดซื้อขายสินค้าผ่านเว็บไซต์หรือแอพลิเคชั่น โดยรวบรวมร้านค้าหลากหลายประเภทไว้ในที่เดียวกัน เช่น สินค้าแฟชั่น เครื่องสำอาง เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไอที เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์แต่งบ้าน ของใช้เกี่ยวกับเด็ก ของใช้เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง เป็นต้น


จุดเด่นของ E-Marketplace ก็คือผู้ซื้อสามารถสั่งซื้อและผู้ขายสามารถค้าขายได้ตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทางออนไลน์ โดยผู้ขายสามารถนำข้อมูลธุรกิจและข้อมูลสินค้า ใส่ไว้ใน E-Marketplace ได้ในรูปแบบของแค็ตตาล็อกสินค้า ให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อได้อย่างสะดวก และสามารถสั่งซื้อได้จากทุกมุมโลก นับเป็นการติดต่อค้าขายที่มีประสิทธิภาพมากกว่าแบบอื่นๆ และตอบสนองพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบันมากขึ้น

 

 

ข้อดีของ E-Marketplace

 

1. อัพเดตข้อมูลได้แบบ Real Time

เพื่อให้ลูกค้ารับรู้สถานะของสินค้าได้ทันที เช่น สินค้าหมดสต็อก หรือมีสินค้าใหม่มาเพิ่มในสต็อก เป็นประโยชน์ทั้งต่อผู้ซื้อและผู้ขาย โดยผู้ขายก็สามารถขายสินค้าใหม่ๆ ได้ทันที ส่วนลูกค้าก็จะได้ไม่ต้องเสียเวลาถามถึงสินค้าที่ต้องการว่ามีหรือไม่ และช่วยป้องกันการสั่งซื้อสินค้าและจ่ายเงินโดยที่ไม่มีสินค้า ทำให้ต้องเสียเวลาในการแก้ไข ทั้งยังส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าด้วย

2. ไม่ต้องมีที่ตั้งร้านหรือหน้าร้าน

สามารถรับส่งสินค้าผ่านบริการขนส่ง โดยผู้ขายได้ลดต้นทุนในการเช่าหรือซื้อพื้นที่ การตกแต่งร้าน รวมถึงค่าแรงพนักงานต้อนรับหรือพนักงานขายสินค้า ส่วนลูกค้าก็ไม่จำเป็นต้องเดินทางมาให้เสียเวลาและค่าเดินทาง

3. ซื้อ-ขายได้ตลอด 24 ชั่วโมง

สามารถเปิดขายสินค้าได้ตลอดเวลา ทำให้เพิ่มโอกาสในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ ลูกค้าเองก็ไม่ต้องรอให้มีเวลาว่างจึงจะเดินทางมาซื้อสินค้าได้

4. ซื้อขายได้ทั่วโลก

ร้านค้าเป็นแบบออนไลน์ ลูกค้าจึงไม่จำเป็นต้องเดินทางมาที่ร้าน เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ตในการเชื่อมต่อก็สามารถติดต่อซื้อขายผ่านเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชั่นได้เลย

5. มีระบบซื้อขายอัตโนมัติ

ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ได้โดยไม่ต้องคุยกับผู้ขายโดยตรง เพราะข้อมูลจะได้รับการบันทึกไว้ในระบบ ส่วนผู้ขายก็ไม่จำเป็นต้องเฝ้าอยู่ที่หน้าเว็บไซต์ตลอดเวลา เพียงแต่ควรเข้ามาเช็คบ่อยๆ เผื่อลูกค้ามีคำถาม หรือมีปัญหาอะไร จะได้ตอบรับและแก้ไขได้ทันท่วงที

6. ไม่เสียค่าใช้จ่าย

E-Marketplace ส่วนใหญ่จะให้ผู้ขายสามารถลงประกาศขายได้ฟรี แล้วเรียกเก็บค่าธรรมเนียมต่อเมื่อขายสินค้าได้แล้วเท่านั้น จึงทำให้ลดต้นทุนไปได้ ยิ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ที่คนใช้งานเยอะอยู่แล้วก็ยิ่งประหยัดค่าโฆษณาด้วย

 

ตัวอย่าง E-Marketplace ยอดนิยมในไทย

 

1.Lazada

Lazada.co.th ก่อตั้งโดย Rocket Internet GmbH เมื่อ พ.ศ. 2555 โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริโภคในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา ปีพ.ศ. 2556 ได้พัฒนาเว็บไซต์ให้ผู้ขายเข้ามาขายสินค้าของตนเองมากขึ้น สินค้าหลักคือสินค้าอุปโภคบริโภค ไปจนถึงสินค้าเกี่ยวกับความสวยงาม แฟชั่น เครื่องใช้ไฟฟ้า สมาร์ทโฟน เฟอร์นิเจอร์

ปี พ.ศ. 2559 แจ็คหม่า นักธุรกิจยักษ์ใหญ่ของจีน ผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ Alibaba ได้เข้าซื้อกิจการ Lazada โดยมีจุดประสงค์ที่จะให้ Lazada ช่วยต่อยอดธุรกิจ Alibaba ที่ยังมียอดขายในประเทศจีนมากกว่า ให้ออกไปสู่ต่างประเทศมากขึ้น ซึ่งปัจจุบัน Lazada เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีผู้ค้าขายออนไลน์มากกว่า 100,000 ร้านเลยทีเดียว

 

2. Shopee

Shopee.co.th ก่อตั้งโดย Forrest Li มีผู้ดูแลคือบริษัท Garena หรือที่คนไทยเรารู้จักกันดีในฐานะผู้ให้บริการเกมออนไลน์ชื่อดัง Shopee เป็นแพลตฟอร์มซื้อขายออนไลน์ที่เน้นกลุ่มลูกค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นเดียวกับ Lazada แต่เน้นการใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือมากกว่า

สิ่งที่โดดเด่นของ Shopee คือ มีระบบ LiveChat ที่ทำให้ผู้ซื้อสามารถแชทติดต่อกับผู้ขายได้โดยตรง และมีการแจกโค้ดส่วนลดหรือจัดแคมเปญแจก Coin ที่ใช้เป็นส่วนลดอยู่เป็นประจำ

 

3. JD Central

JD.co.th (JD Central) เป็น E-Marketplace ในไทยที่มาจากการร่วมมือกันของ JD.com และ Central Group ซึ่ง JD.com ก่อตั้งโดย ริชาร์ด หลิว โดยแรกเริ่มเป็นร้านขายอุปกรณ์ ก่อนที่จะก่อตั้งเป็นร้านค้าออนไลน์เมื่อปี พ.ศ. 2547 และเป็นบริษัทอีคอมเมิร์ซที่เติบโตเร็วที่สุดในจีน ว่ากันว่าเป็น Amazon เมืองจีน ที่เป็นคู่แข่งกับ Alibaba และ Lazada จุดเด่นของ JD Central คือมีการันตีแบรนด์สินค้าว่าเป็นของแท้ 100%

 

จะเห็นได้ว่า E-Marketplace เป็นสิ่งที่น่าจับตามองในวงการธุรกิจ และนักธุรกิจหลายคนเริ่มลงทุนในด้านนี้ ส่วนผู้ค้าขายก็ได้ประโยชน์ที่มีแพลตฟอร์มให้ลงขายสินค้าได้มากขึ้น ส่วนผู้ซื้อก็มีตัวเลือกให้เลือกหลากหลาย ขึ้นอยู่กับว่าที่ไหนให้ความสะดวกสบาย หรือสิทธิพิเศษเช่น โค้ดลดราคาสินค้า บริการจัดส่งฟรี มากกว่ากัน ถือเป็นสนามรบทางธุรกิจที่ดุเดือดแห่งหนึ่งเลยทีเดียว

ปัจจุบันธุรกิจขายของออนไลน์ หรือ E-Commerce มีการเติบโตมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งภายในประเทศไทยเอง รวมถึงต่างประเทศทั่วโลกด้วยเช่นกัน เป็นยุคที่มีความเสรีทางด้านการซื้อขายผ่านโลกไร้พรมแดนโดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ตที่มีความรวดเร็วและสะดวกสบายกว่า จึงทำให้ระบบการซื้อขายในแพลตฟอร์มมีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิด “Marketplace” แล้วคำว่า Marketplace กับ E-Commerce มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้างไปหาคำตอบกันในบทความนี้ได้เลย…

E-Commerce คืออะไร ?

E-Commerce Platform คือแพลตฟอร์มขายของออนไลน์ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ที่ช่วยให้ผู้ขายและผู้ซื้อเกิดการแลกเปลี่ยนซื้อขายผ่านทางออนไลน์ อีกหนึ่งทางเลือกของการขายสินค้าที่ได้รับความนิยมในยุคปัจจุบัน ซึ่งแต่ละแพลตฟอร์ม E-Commerce จะมีคุณสมบัติและเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน เพื่อตอบสนองความต้องการซื้อของกลุ่มผู้บริโภคนั้นๆ อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ขายได้สร้างร้านค้าออนไลน์ได้สะดวกและง่ายดายมากยิ่งขึ้น (อ่านเพิ่มเติม > ส่อง 5 เทรนด์ธุรกิจ E-Commerce ที่น่าจับตามอง (ยุค New Normal))

Marketplace คืออะไร ?

Marketplace คือ เว็บไซต์สื่อกลางการติดต่อซื้อ – ขาย ที่รวบรวมสินค้าและร้านค้าต่างๆ จำนวนมาก ลักษณะคล้ายกับตลาดนัดหรือห้างสรรพสินค้า แต่จะเป็นในรูปแบบตลาดนัดออนไลน์ ซึ่งรูปแบบบริการของ Marketplace จะเป็นการบริการในรูปแบบของเว็บไซต์ที่เปิดให้ผู้ที่สนใจเปิดร้านค้าของตัวเอง แล้วสามารถนำสินค้าไปวางขายได้ 

โดยทาง Marketplace จะมีบริการรวมถึงการจ่ายเงินซื้อขายสินค้า,การจัดส่งสินค้าจากร้านค้าไปยังผู้บริโภคถึงบ้าน นอกจากนี้ยังมีการทำการตลาด การโปรโมท การวางแผนธุรกิจ และศูนย์ส่งเสริมธุรกิจ อีกด้วย เรียกได้ว่าครบวงจรเลยก็ว่าได้ 

Marketplace ยอดนิยมในไทย มีอะไรบ้าง ?

1. Lazada คือแพลตฟอร์มสำหรับการช้อปปิ้งและการขายสินค้าออนไลน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินธุรกิจใน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ประเทศไทย และเวียดนาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2012 ด้วยรายการสินค้ามากกว่า 300 ล้านชิ้น ลาซาด้ามอบสินค้าจากหลากประเภทจากหลายหมวดหมู่ ตั้งแต่ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ไปจนถึงของใช้ในบ้าน ของเล่นเด็ก สินค้าแฟชั่น อุปกรณ์กีฬา และสินค้าอุปโภคบริโภค

2.Shopee เป็นตลาด E-Commerce ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และไต้หวัน อยู่ในกลุ่มของ บริษัท SEA และได้เปิดตัวเป็นครั้งแรกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2558 ในประเทศสิงคโปร์ และขยายไปยังประเทศมาเลเซีย ไทย ไต้หวัน อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์  โดยเป็น Platform ที่ออกแบบขึ้นเพื่อชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์ที่ประทับใจ สะดวกและรวดเร็วในการซื้อของออนไลน์ ด้วยระบบการชำระเงินและการสนับสนุนด้านการขนส่ง  (อ่านเพิ่มเติม > จัดการออเดอร์จากทุกช่องทางการขายในหน้าเดียวด้วย Omisell)

เลือกใช้แพลตฟอร์มอย่างไรให้เหมาะสม ?

เมื่อพูดถึงการเลือกใช้แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจขายของออนไลน์ เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการสร้างร้านค้าออนไลน์ของคุณให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อาจมีหลายปัจจัยที่เจ้าของธุรกิจจำเป็นต้องศึกษาอย่างละเอียด และทำความเข้าใจคุณสมบัติ ข้อดีข้อเสีย รวมถึงกำหนดจุดประสงค์ในการใช้บริการแพลตฟอร์มนั้นๆก่อนเสมอ ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ควรพิจารณา คือ

  1. ประเภทธุรกิจของคุณตรงกับคุณสมบัติของแพลตฟอร์มไหนมากที่สุด
  2. เป้าหมายในการดำเนินธุรกิจครอบคลุมถึงระดับประเทศและทั่วโลก หรือไม่
  3. ธุรกิจของคุณรองรับปริมาณการขายเพียงพอในปัจจุบัน และสามารถเติบโตได้มากขึ้นอีกหรือไม่
  4. งบประมาณในการลงทุนธุรกิจในส่วนของ E-Commerce มีมากน้อยแค่ไหน

 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก: siam.delivery , www.nextrix.com

หวังว่าบทความนี้จะทำให้ผู้อ่านทราบความแตกต่างระหว่าง E-commerce  Platform และ Marketplace Platform  และเลือกใช้อย่างเหมาะสมกับธุรกิจร้านค้าออนไลน์ของท่านไม่มากก็น้อย หากท่านใดกำลังมองหาคลังสินค้าครบวงจร  สต๊อก พร้อมแพ็ค จัดส่ง เพื่อธุรกิจออนไลน์ของท่าน และยังสามารถเชื่อมต่อกับ Marketplace อย่าง Shopee, Lazada, Shopify และอื่น ๆ อีกมากมายได้เพียงคลิกเดียว..

สนใจบริการคลังสินค้าพร้อมแพ็ค จัด ส่ง คลิก!

ติดต่อเจ้าหน้าที่โดยตรง เพื่อขอรับรายละเอียดเพิ่มเติมโทร 02-026-3165 หรือ > ขอรับใบเสนอราคา < กดที่นี่

ช่องทางการขายแบบ Marketplace บน E

E-marketplace คือ เว็บไซต์หรือแอพลิเคชั่น ที่เป็นสื่อกลาง ตัวกลางหรือเป็นตลาดซื้อขายสินค้า ผ่านเว็บไซต์หรือแอพลิเคชั่น ที่มีระบบจัดการสินค้าสำหรับผู้ขายและระบบตะกร้าการชำระเงินสำหรับผู้ซื้อโดย E-marketplace จะรวบรวมร้านค้า และสินค้าในหลากหลายประเภทไว้ในที่เดียวกัน อาจจะแบ่งเป็นหมวดหมู่ประเภทสินค้าเอาไว้อย่างชัดเจน ...

E

ข้อดีของ e-Marketplace ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการลงขายสินค้า (จะคิดค่าธรรมเนียมเมื่อขายสินค้าได้) ไม่ต้องสร้างเว็บไซต์เอง มีระบบสต็อกสินค้าและระบบซื้อขายแบบอัตโนมัติซึ่งอำนวยความสะดวกกับเจ้าของร้านได้เป็นอย่างดี มีผู้ใช้งานจำนวนมาก และมีการจัดแคมเปญส่งเสริมการขายอยู่ตลอด ทำให้เพิ่มโอกาสขายของได้มากขึ้น

มาร์เก็ตเพลส มีอะไรบ้าง

e-MarketPlace ส่วนใหญ่จะพยายามดึงให้ผู้ขายเข้ามาเปิดร้านจำนวนมากๆ ทำให้ค่าบริการถูกมากหรือบางเว็บก็ไม่มีค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการตบแต่งร้านค้าให้สวยงามได้อีกด้วย โดยมีตลาดออนไลน์หลายที่ให้บริการอยู่ เช่น.
Lnwshop.com..
Lazada.com..
Tarad.com..
weloveshopping.com..
alebabathailand.com..

เว็บไซต์ Marketplace กับ E

Marketplace ต่างกับ E-Commerce อย่างไร Marketplace เป็นแพลตฟอร์มที่มีได้ทั้ง แอพฯ และเว็บไซต์สำหรับขายสินค้า โดยเฉพาะ Online Marketplace ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ส่วน e-commerce คือ เว็บไซต์ที่เจ้าของแบรนด์หรือเจ้าของธุรกิจได้ออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเอง รวมถึงมีการดูแลการจัดการระบบหลังบ้านและระบบการจัดซื้อทั้งหมดด้วยตนเอง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้