Motorway บางปะอ น โคราช ม ก ส ญญา อะไรบ าง

ค่าผ่านทางทางหลวงพิเศษใหม่ล่าสุด ประกาศแล้ว!!!

♣ อัตราค่าผ่านทางทางหลวงพิเศษหมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี ระยะทาง 96 กิโลเมตร • รถยนต์ 4 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 150 บาท ประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 10 บาท และเพิ่มขึ้นตามระยะทาง 1.5 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์ 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 240 บาท ประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 16 บาท และเพิ่มขึ้นตามระยะทาง 2.4 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์มากกว่า 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 350 บาทประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 23 บาท และเพิ่มขึ้นตามระยะทาง 3.45 บาทต่อกิโลเมตร

♣ อัตราค่าผ่านทางทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 สายบางปะอิน-นครราชสีมา ระยะทาง 196 กิโลเมตร • รถยนต์ 4 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 240 บาท ประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 10 บาท และเพิ่มขึ้นตามระยะทาง 1.25 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์ 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 380 บาท ประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 16 บาท และเพิ่มขึ้น ตามระยะทาง 2 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์มากกว่า 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 550 บาทประกอบด้วย ค่าแรกเข้า 23 บาท และเพิ่มขึ้นตามระยะทาง 2.88 บาทต่อกิโลเมตร

♣ ค่าผ่านทางทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพฯ-ชลบุรี-พัทยา คิดตามระยะทางจริง ไม่มีค่าแรกเข้า • รถยนต์ 4 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 105 บาท โดยคิดในอัตรา 1 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์ 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 170 บาท โดยคิดในอัตรา 1.6 บาทต่อกิโลเมตร • รถยนต์มากกว่า 6 ล้อ ค่าผ่านทางสูงสุดตลอดเส้นทาง 245 บาท โดยคิดในอัตรา 2.3 บาทต่อกิโลเมตร

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

การพัฒนาทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับระบบการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ เนื่องจากจะเป็นระบบโครงสร้างพื้นฐานหลักในการที่จะส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาประเทศ เสริมสร้างสมรรถนะทางเศรษฐกิจของประเทศในอนาคตให้ยั่งยืน สนับสนุนการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เพิ่มศักยภาพในด้านการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาเมืองในภูมิภาค ลดอุบัติเหตุและมลภาวะจากการเดินทางและขนส่งสินค้า

ความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ลดระยะเวลาเดินทาง เพิ่มความตรงเวลา เป็นข้อดีอันโดดเด่นของการเดินทางด้วยระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Intercity Motorway) ซึ่งจะเป็นหนึ่งในทางเลือกของรูปแบบการเดินทางและขนส่งสินค้าระหว่างจังหวัดหรือภูมิภาคของประเทศ หรือแม้แต่เชื่อมต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2540 เห็นชอบในหลักการในการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Inter-City Motorway) จำนวน 13 เส้นทาง เป็นระยะทาง 4,150 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุน 472,360 ล้านบาท (มูลค่า ปี 2540) ระยะเวลาดำเนินการ 20 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึง 2559 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้

  1. เพื่อกำหนดโครงข่ายแผนการก่อสร้างทางหลวงที่มีมาตรฐานสูง เสริมสร้างสมรรถนะทางเศรษฐกิจให้ยั่งยืนในอนาคต
  2. เพื่อเป็นระบบโครงสร้างพื้นฐานหลักในการสนับสนุนนโยบายกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีช่วยลดอุบัติเหตุและลดมลภาวะ
  4. เพื่อเป็นการสนับสนุนการพัฒนาเมืองหลักในภูมิภาค

ลักษณะโครงการและสถานะผลการดำเนินงาน

แม้ว่าจะมีการกำหนดแผนแม่บทในการก่อสร้างทางหลวงพิเศษอย่างชัดเจน แต่การก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองแต่ละเส้นทางจำเป็นต้องใช้งบประมาณลงทุนค่อนข้างสูง ประกอบกับประเทศไทยต้องเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำหลังจากที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผนดังกล่าวไปในปีเดียวกัน จึงส่งผลให้การดำเนินการก่อสร้างล่าช้าและไม่เป็นไปตามแผน ปัจจุบันจึงมีทางหลวงพิเศษที่เปิดให้บริการเพียง 2 เส้นทาง รวมเป็นระยะทาง 146 กิโลเมตร ได้แก่

  1. ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายกรุงเทพฯ – ชลบุรี ระยะทาง 82 กิโลเมตร และ
  2. ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันออก (ช่วงบางปะอิน – บางพลี) ระยะทาง 64 กิโลเมตร

อย่างไรก็ดี กรมทางหลวงได้วางยุทธศาสตร์การพัฒนาทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง โดยกำหนดแผนการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในระยะเร่งด่วนที่มีลำดับความสำคัญสูง เชื่อมโยงระหว่างกรุงเทพมหานครไปยังภูมิภาคต่างๆ ที่มีปริมาณการเดินทางสูง ภายในรัศมี 250 กิโลเมตร จากกรุงเทพมหานคร ทั้งเส้นทางสู่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก จำนวน 5 สายทาง ในช่วงปี 2556 – 2563 เพื่อเป็นเส้นทางคมนาคมประสิทธิภาพสูงเชื่อมโยงกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไปยังภูมิภาคต่างๆ

แผนการพัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองระยะเร่งด่วน 5 เส้นทาง

โดยสามารถสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และสถานะความพร้อมในปัจจุบัน (ณ 31 กรกฎาคม 2558) ดังนี้

  1. โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน – สระบุรี - นครราชสีมา ได้ผ่านกระบวนการศึกษาความเหมาะสม และสำรวจออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ ตลอดจนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ได้ผ่านความเห็นชอบ รวมถึง พ.ร.ฎ. เวนคืนที่ดินได้ผ่านความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 26 เมษายน 2556 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 มีมติเห็นชอบให้กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง) ดำเนินโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน - สระบุรี - นครราชสีมา วงเงินลงทุนรวม 84,600 ล้านบาท ด้วยวิธีการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง วงเงินค่าก่อสร้าง 77,970 ล้านบาท โดยให้กระทรวงการคลังดำเนินการระดมทุนจากแหล่งเงินทุนภายในประเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการดำเนินโครงการ และค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน วงเงิน 6,630 ล้านบาท ให้เป็นไปตามความเห็นชอบของสำนักงบประมาณ
  2. โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางใหญ่ – กาญจนบุรี ได้ผ่านกระบวนการศึกษาความเหมาะสมและสำรวจออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ ตลอดจนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ได้ผ่านความเห็นชอบ รวมถึง พ.ร.ฎ. เวนคืนที่ดินได้ผ่านความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 10 กันยายน 2556 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 มีมติเห็นชอบให้กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง) ดำเนินโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางใหญ่ - กาญจนบุรี วงเงินลงทุนรวม 55,620 ล้านบาท ด้วยวิธีการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง วงเงินค่าก่อสร้าง 50,200 ล้านบาท โดยให้กระทรวงการคลังดำเนินการระดมทุนจากแหล่งเงินทุนภายในประเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการดำเนินโครงการ และค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน วงเงิน 5,420 ล้านบาท ให้เป็นไปตามความเห็นชอบของสำนักงบประมาณ
  3. โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายพัทยา – มาบตาพุด ได้ผ่านกระบวนการศึกษาความเหมาะสมและสำรวจออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ ส่วนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ สำหรับร่างพ.ร.ฎ. เวนคืนที่ดิน คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติเห็นชอบในหลักการแล้ว เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 มีมติเห็นชอบให้กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง) ดำเนินโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายพัทยา - มาบตาพุด วงเงินลงทุนรวม 20,200 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าก่อสร้างและค่าควบคุมงานวงเงิน 14,200 ล้านบาท โดยใช้เงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทางตามแผนประมาณการรายจ่ายที่ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง และค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน วงเงิน 6,000 ล้านบาท ให้เป็นไปตามความเห็นชอบของสำนักงบประมาณ
  4. โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายนครปฐม – ชะอำ ได้ผ่านกระบวนการศึกษาความเหมาะสม ตลอดจนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ได้ผ่านความเห็นชอบแล้ว รวมถึงขั้นตอนการสำรวจออกแบบรายละเอียดที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ ปัจจุบันกรมทางหลวงอยู่ระหว่างเตรียมดำเนินการศึกษาแนวทางการให้เอกชนร่วมลงทุน (PPP) โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายนครปฐม - ชะอำ
  5. โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน – นครสวรรค์ ได้ผ่านกระบวนการศึกษาความเหมาะสมเป็นที่เรียบร้อย โดยปัจจุบันยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

นอกจากนั้น กรมทางหลวงยังมีโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองเส้นทางอื่นๆ ที่อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมในขั้นตอนต่างๆ ได้แก่

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้