Market-oriented ตลาด ม ง เน น ผ จ ดการ

บทท่ี 1 การตลาด การเนน คุณคาลกู คา และความสัมพันธกับลกู คา (Marketing: A Focus on Customer Relationships and Value) บทนี้ผูจะนําเสนอหัวขอทฤษฎีการตลาด ความสําคัญของการตลาด บทบาทการตลาดในธรุ กจิ ผูบริหารการตลาด การคนหาความตองการของลูกคา การสรางความสัมพันธทางการตลาดจริยธรรม และความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม ดังรายละเอียดตอไปนี้ทฤษฎที างการตลาด (The theory of Marketing) พื้นฐานความคิดที่ทําใหการตลาดประสบความสําเร็จคือ การตอบสนองความตองการของผูบริโภค 1. ความตอ งการและผลติ ภัณฑ (Needs and Products) ความแตกตางระหวาง ความตองการ (Need) ความปรารถนา (Want) และอุปสงค(Demand) ดงั รายละเอยี ดตอไปน้ี ความตอ งการ (Need) เปน ความตอ การพื้นฐานที่สรางความพึงพอใจใหปจเจกบุคคลเชน อาหาร ท่ีอยูอาศัย ซื่อเสียง เปนตน Freud, Maslow and Herzberg (อางถึงใน Kotler,20003: 195) เขียนวา ความตอ งการเหลา นี้นักการตลาดไมสามารถสรางได แตเกิดขึ้นโดยชีวภาพและพ้ืนฐานความสัมพนั ธทางสังคม ความปรารถนา (Want) เปนความตอ งการสินคาเฉพาะ (A specific product) ทสี่ รา งความพึงพอใจใหปจเจกบุคคล เชนความตองการอาหารราคา 100 บาท ซ่ึงประกอบดวยเน้ือหมูผัก ผลไม ฯ นั่นเรียกวาความตองการ (need) ของปจเจกบุคคล ไมใชความปรารถนา (Want) เชนวยั รุนจะเลือกบุฟเฟตรานแมค็ (Mac) อุปสงค (Demand) เปนความตองการสินคาเฉพาะที่ผูบริโภคยินดีจะจายเงินซื้อ เชนคนหลาย ๆ คนอาจจะตองการรถยนตตราเมอรซีเดส เบนซ (Mercedes Benz) แตมีบางคนเทา น้นั ทีส่ ามารถซือ้ รถยนตต ราเมอรซ เี ดสได กลา วโดยสรปุ แมว านกั การตลาดจะไมสามารถสรางความตองการของปจเจกบุคคลไดแตเขาสามารกระตุนอุปสงค โดยการออกแบบสินคาที่ดึงดูดความสนใจ และส่ือสารคุณลักษณะของสินคา ใหผบู รโิ ภครบั รู และตัดสินใจซอื้ ในทีส่ ดุ

3 ผลติ ภณั ฑ (Product) คอื ส่ิงทต่ี อบสนองความตองการของปจเจกบุคคล อาจเปนสิ่งท่ีจับตองได เรียกวา สินคา (The product) เชน น้ําอัดลม หรือจับตองไมได เรียกวา การบริการ(Service) เชน การศกึ ษา ธนาคาร ฯ 2. คณุ คาและการเลอื กผลติ ภัณฑ (Value and choice) โคทเลอร (Kotler, 2003: 11) เขียนวาคุณคาประกอบดวย 3 สวนคือ คุณภาพ การบริการและตน ทุน (Quality, Service and Cost: QSD) ซ่งึ เรยี กชื่อยอวา “คิวเอสดี” คุณคาเปนการเปรียบเทียบระหวางผลประโยชนสิ่งที่ไดรับ (Benefits) และ ส่ิงท่ีเสียไป (Costs) ซ่ึงลูกคาบางคนเลือกซ้ือสินคาเพราะคุณภาพดี บางคนเลือกซ้ือสินคาเพราะราคาสมเหตุสมผล บางคนซ้ือสินคาโดยการเปรียบเทียบระหวางคุณภาพสินคา และราคาสินคา ซ่ึงเขียนเปนอัตราสวนคือValue = Benefit Cost ดังนั้น นักการตลาดสามารถเพ่ิมคุณคาไดโดยการเพิ่มผลประโยชน หรือลดตนทนุ หรือทําทงั้ สองอยางพรอมกนั 3. การตลาดใชการแลกเปล่ียนเพื่อสรางความพึงพอใจตามความตองการ(Marketing: Using Exchanges to Satisfy Needs) สมาคมการตลาดแหงสหรัฐฯไดใหความหมายการตลาด (Marketing) คือกระบวนการวางแผน และปฏิบัติแนวคิด ราคา การสงเสริม และการจัดจําหนาย ความคิด สินคาและการบริการ เพ่ือพัฒนาการแลกเปลี่ยนซึ่งสรางความพึงพอใจใหกับจุดประสงคของผูบริโภคและผูผลิต บางคนเขาใจวาการตลาด หมายถึงการขาย หรือการโฆษณาแตการขายหรือการโฆษณาเปนสวนหนึ่งของการตลาด เพื่อการตอบสนองความตองการท้ังผูซื้อ และผูขาย การตลาดตองคนหา 1) ความตองการของลูกคาคาดหวัง และ 2) ตอบสนองความตองการของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ กุญแจสําคัญท่ีจะทําใหบรรลุผลสําเร็จไดคือ การแลกเปลี่ยน (Exchange) ซึ่งหมายถึง การคาขายส่ิงมีคุณคา (Value) ระหวางผูซื้อกับผูขาย ตัวอยาง ธุรกิจกระถางดอกไม จะเก่ียวของกับการผลิตกระถางดอกไม และการขายกระถางดอกไม ซ่ึงเปนสิ่งท่ีตองพิจารณากอนการปนกระถางหลายอยางดังน้ี 1. วเิ คราะหความตอ งการของคนที่ซ้อื กระถางดอกไม 2. ตองพยากรณชนิดของกระถางดอกไม เชน กระถางดิน กระถางพลาสติก กระถางไม กระถางทรงกลม กระถางทรงกระบอก เพราะลูกคาแตละคนมีความตองการกระถางแตกตางกนั 3. ประมาณการจํานวนคนทจี่ ะซ้ือกระถางดอกไม 4. กําหนดสถานท่ขี ายกระถางดอกไม ซงึ่ คนจะมาซือ้

4 5. กําหนดราคาของกระถางดอกไมทีล่ กู คายินดีจะซือ้ 6. กาํ หนดชนดิ ของการสงเสริมการขายที่ลกู คา ตองการ กิจกรรม 6 ชนิด จะไมใชแค การผลิต แตเปนสวนหน่ึงของ การตลาด ซ่ึงบอกถึงชนิดของสินคาหรือบริการท่ีลกู ตองการความสําคัญของการตลาด (How Marketing Became So Important) การตลาดเปนตัวขับเศรษฐกิจสมัยใหมเ พ่ือใหเ ขา ใจความสาํ คญั ของการตลาด ผูเขยี นของนําเสนอหัวขอดังนี้ 1) วิวัฒนาการของการมุงตลาด (Market Orientation) 2) จริยธรรม และการรับผิดชอบตอ สงั คมของการตลาด และ3) ความกวาง และความลกึ ของกิจกรรมการตลาด 1. ววิ ฒั นาการของการมุง ตลาด (Evolution of the Market Orientation) เน่ืองจากการตลาดมีความสําคัญตอความสําเร็จขององคการธุรกิจ และองคการที่ไมแสวงหาผลกําไร แตการตลาดก็ไมไดมีความซับซอน โดยขอเท็จจริง การทําความเขาใจววิ ัฒนาการของการตลาดจะชว ยใหเ ห็นภาพการตลาดชัดเจนมากขึ้น การมุงตลาดมีวิวัฒนาการ 4ยุค ไดแก ยุคการผลิต (Production era) เกิดขึ้นเมือ ค.ศ. 1920 เนื่องจากอุปสงคมีมากกวาอุปทาน ยุคน้ีจึงเนนที่การผลิตขนานใหญ เพ่ือลดตนทุน และมีกําไรสูง ยุคการขาย (Sellingera) เน่ืองจากมีการแขงขันสูง จากการผลิตสินคาจํานวนมาก จึงเนนที่เทคนิคการขาย เพ่ือใหมียอดขายสูง ยุคการตลาด (Marketing era) เกิดเมื่อ ค.ศ. 1950 เปนการรวมหนาท่ี การพัฒนาสินคา ใหม การวจิ ัยผบู รโิ ภค การโฆษณา การขนสง และการขายไวในแผนการตลาด แตย งั เปน การวางแผนระยะสน้ั ยุคการผลิต ยคุ การขาย ยุคการตลาด ยุคมงุ ตลาด 1860 1880 1900 1920 1940 1960 1980 2000 ภาพท่ี 1-1 วิวฒั นาการของแนวคิดการตลาด ที่มา (Kerin et al., 2003: 21)

5 จนกระท่ัง ค.ศ. 1990 จึงเกิดยุคมุงตลาด (Market-oriented era) ซ่ึงบริษัทจะวางแผนการตลาดระยะยาว ประมาณ 10 ป หรือมากกวา ยุคแนวคิดการตลาด (MarketingConcept Era) คือ บริษัททุมเทความพยายามทั้งหมดเพื่อสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา และบริษัทมีกําไร แนวความคิดการตลาดประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ ความพึงพอใจของลูกคา ความพยายามของบริษทั โดยรวม และ กาํ ไรทไ่ี มใชย อดขาย แสดงดังภาพที่ 1-2จุดเรมิ่ ตน เนนที่ วิธกี าร เปา หมายโรงงาน สินคา การขายและการ กําไรจากปรมิ าณการ โปรโมท ขาย ก. แนวคดิ การขายตลาดเปา หมาย ความตอ งการลูกคา การประสานงาน กาํ ไรจากความพึง ตลาด พอใจของลกู คา ข. แนวคิดการตลาดภาพที่ 1- 2 การเปรียบเทยี บแนวคิดการขาย กับแนวคดิ การตลาดทม่ี า (Kotler, 2003: 20) แนวคิดการตลาด (Marketing concept) ยึดถือวา กุญแจสําคัญเพ่ือความสําเร็จองคก ารประกอบดว ยการกาํ หนดความตอ งการของตลาดเปา หมาย และการสงมอบความพงึ พอใจทม่ี ีประสิทธผิ ล และประสทิ ธภิ าพดกี วาคแู ขง ขนั ธโี อดอร เลวิทท กลาววา ความแตกตางระหวางแนวคิดการขาย กับแนวคิดการตลาดคือ แนวคิดการขายมุงท่ีความตองการของผูขาย หรือผูผลิต ในขณะท่ีแนวคิดการตลาดมุงที่ความตองการของตลาด หรือ ผูซ้ือ แนวคิดการขายเปนการเปลี่ยนแปลงความตองการของผูขายใหเปนตัวเงิน แตแนวคิดการตลาดเปนการสรางความพึงพอใจตามความตองการของผูซ้ือโดยการสรางสิ่งที่มคี ณุ คา แสดงดงั ภาพท่ี 1-2 แนวคิดการขายเปนการมองจากภายในองคการสูภายนอก หรือเรียกวา “Inside-outperspective” ในขณะที่ แนวคิดการตลาดเปน การมองจากภายนอกองคก ารเขา หาภายในองคการหรือเรียกวา “outside –in perspective”

6 2. แนวคิดการตลาด (Marketing concept) แนวคิดการตลาดประกอบดวยองคประกอบ 4 อยาง คือ ตลาดเปาหมาย (Targetmarket) ความตองการลูกคา (Customer need) การประสานงานตลาด (coordinatedmarketing) และความสามารถทาํ กําไร (Profitability) แสดงดงั ภาพ 1-3 2.1 ตลาดเปาหมาย (Target market) ไมมีบริษัทใดท่ีสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดทุกคน เชนบริษัทรถยนตญ ี่ปนุ ทีผ่ ลิตรถยนตส าํ หรบั ผหู ญงิ ทาํ งาน เปนตน 2.2 ความตอ งการลูกคา (Customer need) ทราบความตอ งการของลูกคา เชน ผผู ลิตหลอดไฟฟา เมือ่ ทราบความตองการของลกู คา แลว ตองกําหนด คุณลักษณะของหลอดไฟ ราคาของหลอดไฟ ประเภทของหลอดไฟ 2.3 การประสานงานตลาด (Coordinated marketing) โชคไมดีที่พนักงานทุกคนในบริษัทไมไดถูกอบรมหรือกระตุนใหทํางานกับลูกคากลาวคือ วิศวกรก็บนใหนักขายวาปกปองลูกคา ไมไดคํานึงถึงผลประโยชนของบริษัท ดังน้ันองคการตลาดจึงตอ งมีการประสานกบั ฝายอน่ื ลูกคา กาํ ไรระยะยาวคูแ ขงขัน ฝายตา งๆ ภาพที่ 1-3 การมงุ ตลาด (Market orientation) ท่ีมา (Narver and Slater, 1990) การประสานงานตลาดประกอบดวยกิจกรรม 2 สวน คือ 1) ประสานกิจกรรมการตลาดเชน การขาย โฆษณา วิจัยตลาด การจัดการผลิตภัณฑ เปนตน และ 2) ประสานงานกับฝายอ่ืนในบรษิ ทั เชน ฝา ยการผลติ ฝา ยการเงนิ บญั ชี ฝายบคุ ลากร เปนตน

7 2.4 ความสามารถทาํ กาํ ไร (Profitability) ในอดีตจุดมุงหมายของแนวคิดการตลาดเพ่ือชวยบริษัทบรรลุเปาหมายได ซ่ึงถาเปนธุรกิจเปาหมายของธุรกิจก็คือกําไร แตถาเปนองคการท่ีไมแสวงหาผลกําไร เชน องคการสาธารณะ มูลนิธิ เปาหมายคือการแสวงหาเงินบริจาค ปจจุบันเปาหมายของบริษัทคือ ความพึงพอใจของลกู คา สวนกําไรถือเปน ผลพลอยได (By product) รองประธานฝายการตลาดจําเปนตองมีความรูทั้งดานการตลาด และการเงิน ดังกรณีตัวอยางตอไปนี้ บริษัทผูผลิตรองเทาในสหรัฐฯตองการขยายตลาดไปตางประเทศ เนื่องจากตลาดภายในประเทศอ่ิมตัว ดังนั้น ประธานบริษัทจึงสงเจาหนาที่การเงินไปดูตลาดท่ีเกาะแปซิฟคหลังจากน้ัน 2 วัน เจาหนาท่ีการเงินโทรศัพทกลับสํานักงานใหญที่สหรัฐฯ วา “ไมมีใครใสรองเทาเลย ดังนั้นจึงไมมีตลาดรองเทา” แต ประธานบริษัทยังไมสรุปผล จึงสงพนักงานขายช้ันเย่ียมสํารวจตลาดที่เกาะแปซิฟค หลังจากน้ัน 1 สัปดาห พนักงานขายโทรศัพทกลับมาสํานักงาน มีใจความวา “ ไมมีใครสวมรองเทา ดังน้ันจึงมีตลาดมากมาย” ทายที่สุด ประธานบริษัทจึงสงรองประธานฝายการตลาดไปวิเคราะหตลาดแปซิฟค หลังจากน้ัน 1 สัปดาห รองประธานฝายการตลาดโทรศัพทกลับมาสํานักงาน มีใจความวา “ ไมมีใครสวมรองเทา ทําใหเทาแย ถาเขาไดใสรองเทาจะเปน ประโยชนอยางย่ิง บริษัทตองออกแบบรองเทาใหม เพราะเทาเขามีขนาดเล็ก บริษัทควรใหความรูเกี่ยวกับประโยชนของการสวมรองเทา บริษัทควรรวมมือกับหัวหนาเผา ชาวเกาะไมมีเงิน แตปลูกสับปะรด ซึ่งประมาณการขายสับปะรดระยะเวลา 3 ป รวมถึงตนทุน และการขายสับปะรดใหก ับรา นซูเปอรมารเ ก็ตในยโุ รปจะมผี ลตอบแทนตอ การลงทุนรอยละ 30” แม็คโดนัลด (McDonald, 2002: 3) ใหความหมายของแนวคิดการตลาดวา แนวคิดการตลาด (ตรงกันขามกับหนาท่ีการตลาด) เปนความสอดคลองระหวางความสามารถของบริษัทกบั ความตอ งการของลูกคา เพอ่ื ใหบรรณลเุ ปา หมายของท้งั สองฝาย (ดงั ภาพที่ 1-4)ความสามารถ สงิ่ แวดลอมการตลาด ความตอ งการของ ของบริษทั ลูกคา ความสอดคลอ ง สงิ่ แวดลอมการตลาดภาพที่ 1-4 แนวคิดการตลาดของ McDonaldที่มา (McDonald, 2002: 7)

8 ดอยล (Doyle, 2002: 31) ทฤษฎีการตลาดประกอบดวยแนวคิดของความตองการและผลิตภัณฑ คณุ คา และทางเลอื ก การแลกเปล่ยี นและตลาด และ ตลาด และทุนนิยม ตลาด/ผูบ รโิ ภค ขอ มูลขา วสาร ผผู ลิต สนิ คา เงิน การส่อื สารภาพที่ 1-5 : ปฏิสมั พนั ธร ะหวา งตลาด และ ผผู ลติท่มี า (Doyle, 2003: 35) นอกจากน้ัน ดอยล (Doyle, 2002: 38-39) กลาววา แนวคิดการตลาดเปนสภาวะท่ีธุรกิจบรรลุเปาหมายเม่ือกิจการธุรกิจจัดองคการใหสอดคลองกับความตองการของลูกคาปจจุบันและลกู คา อนาคต ไดด กี วาคูแขง ขันแสดงดังภาพท่ี 1-6ความตองการ โอกาสของ ความสามารถของ สนิ คา และการ ผบู ริโภค ของตลาด ศักยภาพตลาด การผลิต บริการปจจบุ นั และ อนาคต โปรแกรมการตลาด ภาพที่ 1-6 : แนวคดิ การมุง การตลาด (Marketing orientation) ทม่ี า (Doyle, 2002: 39) ในขณะที่ แม็คโดนัลด (McDonald, 2002: 16) เสนอแนะการมุงการตลาดมีองคประกอบ 5 อยาง คือ ทรัพยสิน นิยามตลาด/ผูบริโภคและ เขาใจคุณคา กําหนดคุณคา สงมอบคุณคา และติดตามคุณคา โดยทรัพยสินเปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีสุดของแนวทางการมุงตลาด

9 3. ยคุ การมุง ตลาด (Market Oriented Era) ยุคการมุงตลาด (Market Oriented Era) บริษัทในยุคน้ีจะใชการจัดการคุณภาพรวม(Total Quality Management: TQM) เชน บริษัทดูปองท โตโยตา ไมโครซอทฟ บริษัทท่ีใชการมุงตลาดจะใหความสนใจกับ 1) การรวบรวมขอมูลความตองการของลูกคา และความสามารถของคูแขงขันอยางตอเนื่อง 2) แบงปนขอมูลระหวางฝายตางๆภายในบริษัท และ 3) ใชขอมูลสรางสรรคคุณคาของลูกคา เชน บริษัทดูปองท กระตุนพนักงานใหเรียนรูความตองการของลูกคาโดยผานโปรแกรมการยอมรับลูกคา (Norman et al., 2003) เปนตน จาวอรสกี และโคไล (Jaworski, & Koli, 1993) ศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดองคการมุงตลาด (A market Orientation: MO) และผลลัพธที่ไดจากองคการมุงตลาด การมุงตลาดประกอบดวยปจจัย 3 ประการ คือ สรางสรรคสติปญญา เผยแพรสติปญญาสูทุกฝาย การตอบสนอง (Koli & Jaworski, 1990) ผบู ริหารระดบั สูง การมงุ ตลาด พนักงาน -การใหคํามัน่ ขององคการ-จดุ เนน --สรางสรรคส ตปิ ญญา-การหลกี เลยี่ งความเสย่ี ง -esprit de Corps -เผยแพรส ตปิ ญญาสทู ุกฝา ย พลวัตรภายในองคก าร -การตอบสนอง สงิ่ แวดลอ ม-ความขัดแยง -สภาวะตลาดที่วุนวาย-การติดตอ -ความเขมขน ของการแขงขัน -เทคโนโลยที ว่ี ุนวาย ระบบขององคก าร การดาํ เนินงานของธุรกจิ-ทางการ (formalization) -ความพึงพอใจของลกู คา-รวมศนู ยก ลาง-จัดเปน ฝา ย -ยอดขาย-ระบบการใหรางวัล -กําไรภาพท่ี 1-7 ปจ จยั ทก่ี อใหเ กดิ องคการมงุ ตลาด และผลลัพธท่ไี ดจ ากองคการมุงตลาดทมี่ า (Jaworski & Koli, 1993: 55)

10 องคการมุงตลาดเปน กระบวนการที่เชือ่ มโยงระหวางปจ จยั นาํ เขา ไดแกผูบริการ ระบบองคการ และการเคล่ือนไหวขององคการ กับผลผลิต ไดแก การใหคําม่ันขององคการ ความพึงพอใจของลูกคายอดขาย กําไร (แสดงดงั ภาพท่ี 1-8) สลาเตอร และนารเวอร (Slater and Narver,1995) เขียนไววา การมุงตลาด (Market orientation) ประกอบดวยองคประกอบ 3 ดาน คือ 1)วัฒนธรรมขององคการ 2) มุงการเรียนรู (A learning orientation) 3) ผลลัพธ (ไดแก ความพึงพอใจของลูกคา การเติบโตของยอดขาย กําไร และ ผลิตภณั ฑใ หมทป่ี ระสบความสําเร็จ เปนตน ) วฒั นธรรม ผลลพั ธ ผูประกอบการ องคก ารแหง ความพงึ พอใจ การเติบโตการมงุ ตลาด โครงสรา งองคาพยพ การเรยี นรู ของลกู คา ของยอดขาย ภาวะผนู ําแบบเกื้อกูล สินคาใหมท ี่ประสบ กําไร การวางแผนแบบ ความสําเรจ็ กระจายอํานาจ บรรยากาศสิง่ ทา ทายดานสิ่งแวดลอ ม ภาพท่ี 1-8 องคการแหง การเรยี นรู ทีม่ า (Slater and Narver, 1995: 67) การบริหารกระบวนการภายใน (Management) การบริหารคุณภาพรวม (Total Quality Management: TQM) ซึ่งแสดงไดดังกรอบคิดของบาลดริจประกอบดวยสวนประกอบสําคัญ 3 สวน คือ ตัวขับเคลื่อนคุณภาพ ระบบคุณภาพ และเปาหมายของคุณภาพ กลาวคือ ภาวะผูนําอาวุโส ระบบสารสนเทศ การวางแผนคุณภาพเชิงกลยทุ ธ การพัฒนาและการบริหารทรัพยากรมนุษย การบริหารกระบวนการคุณภาพ ผลลัพธของการปฏบิ ตั ิงานและผลลพั ธข องคุณภาพ มุงเนนลูกคา และความพึงพอใจของลูกคา (แสดงดังภาพที่ 1-9)

11ปจจัยหลากหลายท่ีมีอิทธิพลตอกิจกรรมการตลาด (The Diverse FactorsInfluencing Marketing Activities) แมวากิจกรรมการตลาดเนนที่การประเมินความตองการลูกคา และตอบสนองความตองการของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ แตยังตองสัมพันธกับบุคคล กลุมคน หรือ ส่ิงแวดลอมภายในองคก ารธรุ กจิ ผจู ดั การจะกาํ หนดเปาหมายของธุรกิจ ฝายการตลาดจะประสานงานกับฝายอื่น ๆ และพนกั งาน เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ และธุรกิจอยูรอดและเจริญเตบิ โต “ตวั ขับเคล่ือน” ระบบ 7.มงุ เนนลูกคา และ เปา หมาย ความพงึ พอใจของ1.ภาวะผูนาํ 5.การบรหิ าร ลูกคา ความพงึ พอใจของลูกคาอาวุโส กระบวนการ การักษาลกู คา คณุ ภาพ สว นครองตลาด 4.การพัฒนาและ 6.ผลลัพธข องการ การประเมนิ ความกา วหนา การบริหาร ปฏิบตั งิ านและผลลพั ธ ทรพั ยากรมนุษย ของคุณภาพ คณุ ภาพสนิ คา และการบรกิ าร การปรับปรุงผลิตภาพ 3.การวางแผน การลดของเสีย คณุ ภาพเชิงกลยุทธ คุณภาพของปจ จยั การผลติ 2.ระบบสารสนเทศ ภาพที่ 1-9 กรอบคดิ ของรางวลั บาลดรจิ ที่มา (Kotler, 1994: 55) การตลาดจะเกิดข้ึนไดตองอาศัยปจจัยอยางนอย 4 ประการ ดังน้ี 1) มีบุคคล หรือ องคการตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป 2) แตละฝายมีความตองการท่ียังไมไดรับการตอบสนองจนพึงพอใจ 3) มีชองทางการส่อื สารระหวา งบุคคล 2 ฝา ย และ 4) มีสง่ิ ท่ีมคี ณุ คาใชในการแลกเปล่ียน

12บทบาทของการตลาดในธรุ กิจ (The role of marketing in business) การตลาดมีความสําคัญตอเศรษฐกิจ และสังคม ซ่ึงมีบทบาทตอองคการธุรกิจ องคการที่ไมแ สวงหาผลกําไร หรือ บรษิ ัทขามชาติ (Multinational corporate: MNCs) กลาวคือ บทบาทของการตลาด ไดแก บทบาทดานธุรกิจ (เชน บริษัทพร็อคเตอรแอนดแกมเบิ้ล (P&G) บริษัทจีอี บริษัทจีเอ็ม หรือ บริษัทโคโคลา เปนตน) บทบาทดานองคการท่ีไมแสวงหาผลกําไร (เชนสถาบันการศึกษา โรงพยาบาล เปนตน) และ บทบาทดานตางประเทศ (เชน บริษัทเนทเลท บริษัทยูนิลิเวอร บริษทั โตโยตา เปน ตน ) แมค็ โดนลั ด (McDonald, 2002: 7) เขียนวา องคประกอบท่ีจะทําใหธุรกิจประสบผลสําเร็จมี 4 องคประกอบ (แสดงดงั ภาพที่ 1-10) ไดแก สินคา /การบริการ กระบวนการ การตลาดมืออาชีพและลกู คา(คุณคาหลกั ) (ประสิทธภิ าพ)สนิ คา /การบรกิ าร กระบวนการ ผูบรโิ ภคการตลาดมืออาชพี ลกู คา(เขาใจความตองการของตลาด) (ความคดิ สรางสรรค)ภาพท่ี 1-10 ความสาํ เร็จของธรุ กิจที่มา (McDonald, 2002: 7)จากภาพที่ 1-10 ผูบริหารตลาดควรสรางสรรคคุณคา ดวยประสิทธิภาพ อยางมีความสรางสรรค และเขาใจความตอ งการของตลาด หรอื ผบู รโิ ภคผูบรหิ ารการตลาด สวนน้ีเราจะพิจารณาประเด็นท่ีเกี่ยวของกับผูบริหารการตลาด 3 ประเด็น คือ 1) การตัดสินใจของผูบริหารการตลาด 2) คุณสมบัติของผูบริหารการตลาด และ 3) งานของผูบริหารการตลาด ดังรายละเอียดตอไปน้ี

13 1. การตดั สนิ ใจของผูบริหารการตลาด ผูบริหารการตลาดในธุรกิจตางๆประกอบดวย 3 ระดับ คือ ผูบริหารระดับสูง (TopManagement) ผูบริหารระดับกลาง (Middle Management) ผูบริหารระดับตํ่า (LowManagement) แสดงดังภาพที่ 1-11ผูบ รหิ ารการตลาดระดบั สงู ประเด็นท่ตี องตัดสินใจ - รองประธานฝา ยการตลาด - กลยทุ ธและนโยบายการตลาดของบริษัท - ลูกคา /ตลาดเปา หมาย - ผจู ัดการฝายการตลาด - ผลติ ภณั ฑ - ราคา - การจดั สรรทรัพยากรของบริษทัผบู รหิ ารการตลาดระดับกลาง ประเด็นท่ตี องตดั สนิ ใจ - ผจู ดั การผลิตภณั ฑ - การออกแบบผลิตภณั ฑ - ผูจัดการฝา ยขาย - ราคา - ผูจ ัดการฝายโฆษณา - การโฆษณา - ผจู ัดการฝายสงเสริม - การสงเสริมการขาย - ผจู ัดการฝายวิจัยตลาด - การขายและการกระจายสินคา - การวจิ ยั ตลาดผบู รหิ ารการตลาดระดบั ตํ่า ประเด็นที่ตองตดั สนิ ใจ - หัวหนา พนักงานขาย - การบรกิ ารลูกคา/ตลาดเปาหมาย - วิธกี ารปฏบิ ตั งิ าน - วิธีการเขาพบลูกคา - วธิ กี ารขาย - การแบงเขตขายภาพที่ 1-11 ผบู รหิ ารการตลาด 3 ระดบัทีม่ า (Perreault and McCarthy, 2000: 15) จากภาพท่ี 1-11 ผูบริหารการตลาดระดับสูง คือ รองประธานฝายการตลาด ผูจัดการฝายการตลาด จะทําหนาที่ ตัดสินใจกลยุทธและนโยบายการตลาดของบริษัท ลูกคา/ตลาดเปาหมายผลิตภัณฑ ราคา และ การจดั สรรทรัพยากรของบรษิ ัท เปน ตน ผบู ริหารการตลาดระดับกลาง ไดแก

14ผูจัดการผลิตภัณฑ ผูจัดการฝายขาย ผูจัดการฝายโฆษณา ผูจัดการฝายสงเสริมการตลาด และผูจัดการฝา ยวิจัยตลาดจะทําหนาที่การออกแบบผลิตภัณฑ กําหนดราคาสินคาแตละประเภท การโฆษณา การสง เสรมิ การขาย การขายและการกระจายสินคา และ การวิจัยตลาด เปนตน ผูบริหารการตลาดระดบั ตํ่า ไดแ ก หวั หนา พนักงานขาย 2. คุณสมบตั ิของผูบริหารการตลาด แนวคิดทฤษฎีของภาวะผูนํา (Leadership concepts) จัดได 4 กลุม คือ แนวคิดทฤษฎีอุปนิสัย แนวคิดทฤษฎีพฤติกรรม แนวคิดทฤษฎีตามสถานการณ และแนวคิดทฤษฎีเชิงการปฏิรูป (Bass, 1990; Carless et al., 2003; Mandall and Pherwani, 2003) ในสวนน้ีผเู ขยี นจะนาํ เสนอคุณลกั ษณะของผบู รหิ ารดงั นี้ ผูนําท่ีมีบารมี (A charismatic leadership) จะมีคุณลักษณะ 6 ประการ ไดแกตองการเปล่ียนแปลงสูสิ่งใหม มีความไวตอโอกาสและอุปสรรค มีความไวตอความตองการของพนักงาน กําหนดวิสัยทัศนรวมกันและสื่อสารวิสัยทัศนสูสมาชิก รับผิดชอบตอการกระทําที่มีความเสี่ยงและการเสียสละ ใชแนวทางนวัตกรรมในการบรรลุวิสัยทัศน ( Groves, 2005)แบบจําลองผูนําที่มีบารมีจะประกอบดวย ทักษะดานอารมณ ดานสังคม ติดตามการเปล่ียนแปลงขององคการ(Somech, 2006) ผูนําแบบส่ังการ (directive leadership) สนับสนุนทีมงานที่มีลักษณะงานคลายกันในขณะท่ี ผูนําแบบมีสวนรวม (participative leadership) จะสนับสนุนทีมงานที่มีความหลากหลายซ่ึงนําไปสูการพัฒนาทีมนวัตกรรม ถึงอยางไรก็ตาม ผูนําแบบน้ีจะทําใหผลการดําเนนิ งานลดลง (Coles and William, 2000) คณุ ลกั ษณะของผบู รหิ ารระดบั สูง (CEO) ไดแก การถอมตน มีพลัง การริเริ่ม วิสัยทัศนมุมมอง ความหลงใหล เช่ือม่ัน และการเรียนรู สมิธและแคงเกอร (Smith and Canger, 2004)เขยี นไวว า คุณลักษณะของผูนาํ ระดับปฏบิ ัตกิ ารมี 5 ประการ ไดแก ประนีประนอม อารมณมั่นคงเปดเผย การศึกษาผูนําที่เปนนักธุรกิจชาวออสเตรเลียจํานวน 238 ตัวอยาง พบวาคุณลักษณะของผูน าํ โดยทวั่ ไปมี 3 องคประกอบ ดงั นี้ (Sarros and Cooper, 2006:10) 1. ความเปนสากล (Universal) เชน ยกยอง ยุติธรรม รวมงาน ความเห็นใจ วิญญาณ ถอมตน

15 2. เชิงปฏิรูป (Transformation) เชน กลาหาญ ความหลงใหล ฉลาด ทักษะ และมวี ินยั 3. ชวยเหลือผูอื่น (Benevolence) เชน จงรักภักดีตอองคการ จงรักภักดีตอ พนักงาน ซือ่ ตรง ถึงอยางไรก็ตาม การศึกษาไดจัดประเภทของภาวะผูนําไว 3 องคประกอบ ไดแก ผูนําเชิงปฏริ ปู ผนู าํ เชิงพฒั นา และผนู ําเชิงแกไข นอกจากน้ัน มินซเบิจ (Mintzberg, 1994) เขียนไววาผูบริหารจะประกอบดวยคุณลักษณะ 6 ประการ ไดแก คานิยม สไตล แบบจําลอง ความสามารถประสบการณ และ ความรู กลาวคือประสบการณจะเปนตัวผลักดันความสามารถและความรู ในขณะเดียวกัน ความรูจะผลักดนั การพฒั นาแบบจาํ ลอง 3. งานของผูบริหารการตลาด ผูบริหารการตลาด มีงานท่ีตองทําคือ การวิเคราะห การวางแผน และดําเนินงาน และการควบคุมงาน โดยทวั่ ไป ผบู รหิ ารการตลาดจะเนน งานที่สว นประสมการตลาด (4 Ps) ถึงอยางไรก็ตาม โคทเลอร (2003: 5-6) กลาววางานพ้ืนฐานของผูบริหารการตลาดเปนการกระตุนอุปสงคหรือ ความตอ งการของผบู ริโภค ดงั นี้ 1. อุปสงคเปนลบ (Negative Demand) เชน บุหร่ี เคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล นักการ ตลาดตอ งเปล่ยี นทศั นคติของผบู ริโภค 2. อุปสงคเปนศูนย (No Demand) ไมมีความตองการ หรือมีนอยมาก เชน ทีดินวาง เปลาท่ีอยูหางไกลความเจริญ ขวดเปลา น้ํา วิธีการตลาดคือ การนําขวดเปลามา ระบายสี เจาะรู หรือ นําน้ํามาผสมกับชา กาแฟ หรือ นําท่ีดินมาจัดสรร มี สาธารณูปโภค ถนน ไฟฟา ประปา เปน ตน 3. อุปสงคแฝง (Latent Demand) เปนความตองการซื้อของผูบริโภคที่ไมไดรับการ ตอบสนองจากสินคาในปจจุบัน เชน รถยนตท่ีใชพลังงานปลอดภัย ยาอายุวัฒนะ เปน ตน 4. อุปสงคลดถอย (Faltering Demand) เปนความตองการซ้ือของผูบริโภคที่ลดลง เชน รา นโชวหวย 5. อุปสงคผิดปกติ (irregular Demand) เปนความตองการซื้อของผูบริโภคท่ีไมเปน ปกติ ขึน้ อยกู บั ฤดกู าล เชน เส้ือกันหนาว ขนมไหวพ ระจันทร เปนตน

16 6. อุปสงคเต็ม (Full Demand)เปนความตองการซื้อของผูบริโภคที่พอเพียง เชน หนังสอื พิมพ เปนตน 7. อุปสงคลน (Overfull Demand) เปนความตองการซ้ือของผูบริโภคที่มีมากเกินไป เชน ความตอ งการที่อยอู าศยั การบรกิ ารรถไฟฟา เปนตน 8. อุปสงคไมเปนประโยชน (Unwholesome Demand) เปนความตองการซื้อของ ผบู รโิ ภคท่ีไมเปนประโยชนต อสขุ ภาพ เชน บหุ ร่ี เครอ่ื งดืม่ ที่มแี อลกอฮอล เปนตนวิธีการคนหาความตองการของลูกคา และการตอบสนองความตองการของลกู คา (How Marketing discovers and satisfies Consumer Needs) ความสาํ คญั ของการคนพบความตอ งการของลูกคา และการตอบสนองความตองการของลูกคา ใหเ กดิ ความพึงพอใจ เปนความจาํ เปน ตอการเขา ใจการตลาด ซง่ึ ประกอบดวย 2 ข้นั ตอน ดังมรี ายละเอยี ดตอ ไปนี้ 1. คนพบความตอ งการของลกู คา (Discovering Consumer Needs) วัตถุประสงคขอแรกของการตลาดเปนการคนหาความตองการของลูกคาคาดหวัง ซึ่งมีองคป ระกอบดังน้ี 1.1 ความลม เหลวของผลติ ภณั ฑ ความลม เหลวของผลติ ภณั ฑ เชน บรษิ ัทโคคาโคลา ตองการเปลยี่ นแปลงโคกใหมีรสชาติดีข้ึน จึงแนะนําโคกใหม (New Coke) ออกสูตลาด แตไมประสบความสําเร็จ เนื่องจากไมไดศึกษาความตองการและความปรารถนาของลูกคาอยางชัดเจน แนวทางแกไขความลมเหลวของผลิตภัณฑ คือ 1) คนหาความตองการและความปรารถนาของลูกคา และ 2) ผลิตสินคาท่ีลูกคาตองการ ฝา ยการตลาด คนพบความตอ งการของลูกคา ขอ มูลความตองการของลูกคา ลกู คาทีม่ ีศักยภาพ: ตลาด ภาพท่ี 1-12 งานการตลาดข้นั แรก การคนพบความตองการของลูกคา ทีม่ า (Kerin et al., 2003: 14)

17 1.2 ความตองการและความปรารถนาของลูกคา(Consumer Needs and Wants) นักการตลาดตองตอบสนองทั้งความตองการของลูกคา และความปรารถนาของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ ความตองการ (Need) เปนความรูทางกายภาพที่บุคคลอยากปลดปลอยไปจากตัวเอง เชน อาหาร เส้ือผา ที่อยูอาศัย สวนความปรารถนา (Want) เปนความตองการที่จัดรูปแบบตามความรู (Knowledge) วัฒนธรรม (Culture) และบุคลิกภาพ(Personality) เชน ถาทานหิวทานจะเกิดความตองการพ้ืนฐานเพ่ือจะกินอะไรบางอยาง ถาทานเปนคนไทยทานจะกิน ขาวเหนียว สมตํา และไกยาง แตถาทานเปนชาวตะวันตก ทานจะกินแฮมเบอรเ กอร เปน ตน ภาพที่ 1-12 แสดงขั้นตอนของการคนหาลูกคาคาดหวัง ซึ่งถือเปนงานหลักของการตลาด โดยการศึกษาความตองการของลูกคา ศึกษาแนวโนมของอุตสาหกรรม และศึกษาสินคา ของคูแ ขง ขนั ความหมายของตลาด (What a Market Is) ผูบริโภค หรือลกู คา ทม่ี ีศักยภาพจะสรางตลาด (market) ท่ีประกอบดวย คนท่ีมีความตองการ และ มีความสามารถซ้ือสินคา กลาวโดยสรุป ตลาดก็หมายถึงบุคคล 2. การตอบสนองความตองการของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ (SatisfyingConsumer Needs) การตอบสนองความตองการของลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ (Satisfying ConsumerNeeds) การตลาดไมไดหยุดท่ีการคนหาความตองการของลูกคาเทานั้น เนื่องจากบริษัทไมสามารถตอบสนองความตองการของคนทุกคนได ดังนั้น บริษัทจึงตองทุมทรัพยากรไปสูตลาดเฉพาะทม่ี ศี ักยภาพ ซึ่งเรียกวา “ตลาดเปาหมาย” (Target Market) 2.1 ความพึงพอใจของลูกคา และคุณภาพสินคา (Customer Satisfaction andQuality การแขงขันที่เขมขนท้ังในระดับภายในประเทศ และระดับโลก สงผลใหกอตั้งโครงสรางอุตสาหกรรม และ ธุรกิจรูปแบบใหม ดังน้ัน ผูจัดการตลาด คนหาเสนทางความสําเร็จในการแขง ขันระดับโลก บริษัทที่ประสบผลสําเร็จสวนใหญเนนที่ ความพึงพอใจของลูกคา ซ่ึงเปนผลของการเปรียบเทียบระหวาง การรับรู (Perceived) ประโยชนท่ีไดรับจากการใชสินคา กับ ความคาดหวัง (Expected) ประโยชนทจี่ ะไดรับกอนซ้ือสินคา การสงมอบความพึงพอใจกับลูกคาบริษัทตองนําเสนอ คุณภาพ (Quality) ของสินคา และการบริการ คุณภาพแทนประโยชนของสินคา

18บางครั้งก็ใชคําวาคุณคาแทนคุณภาพ โดยท่ัวไป คุณคาเปนการเปรียบเทียบระหวางประโยชนที่ลูกคา ไดรับ กับราคาสนิ คา คุณภาพประกอบดวยองคประกอบ 8 ประการ คือ คุณลักษณะ การปฏิบัติการความนาเชื่อถือ ความคงทน สุนทรี การบริการ (Serviceability) ความเปนมาตรฐาน(Conformance) ความสัมพันธร ะหวา งคณุ ภาพ และความพงึ พอใจแสดงดังภาพขา งลางสว นประสมการตลาด คณุ ภาพสินคาการแพรคําพดู ประโยชนที่คาดหวัง การรับรปู ระโยชนความพึงพอใจในอดตี ยืนยัน หรือ ไมยนื ยนั ความคาดหวงั พึงพอใจ หรือ ไมพ งึ พอใจ ภาพที่ 1-13 ความพงึ พอใจและคณุ ภาพ ท่มี า (Guiltinan et al., 1997: 8) จากการศึกษาพบวา บริษัทจะลมเหลวถานําเสนอสินคาทุกอยางใหกับคนทุกคน ถึงอยางไรก็ตาม บริษัทที่คนพบเสนทางความสัมพันธกับลูกคาแบบระยะยาว เพ่ือมอบสิ่งที่มีคุณคา(เปนบริษัทที่ทําได) กับลูกคาเปาหมาย เชน วอลมารท เซาเทิรน แอรไลน เดล คอมพิวเตอรประสบความสาํ เรจ็ 2.2 การตลาดเพื่อสรางคุณคา (Value Chain) หรือคุณคาที่แตกตางใหได (Murphy,2002) องคประกอบของการตลาดสําหรับหวงโซคุณคามี 4 ประการ คือ ถูกตัว (Addressability)เปนเขาถึงตัวลูกคาแบบใกลชิดลูกคา รูความตองการเฉพาะของลูกคา ถูกสตางค (Affordability)เปนการประหยดั ทัง้ การเขาหาลกู คาและ สรา งคณุ คาใหล กู คา ถกู ตาม (กาลเทศะ) (Accessibility)ลูกคาจะสามารถซื้อผลิตภัณฑ ไดทุกที่และทุกเวลาที่ตองการ และ ถูกตอง (Accountability)กิจกรรมการตลาดทุกกิจกรรมตองสามารถตรวจสอบวัดผลได การส่ือสารกับลูกคาเปนแบบสองทาง(แสดงดังตารางท่ี 1-1)

19ตารางท่ี 1-1 การตลาดเพอื่ สรางคณุ คา4 P’s-หว งโซอ ปุ ทาน 4 C’s-หว งโซอุปสงค 4 A-หว งโซค ณุ คา (Value Chain)(Supply Chain) (Demand Chain) ถูกตัวผลิตภณั ฑ (Product) คุณคาเพมิ่ (Addressability) ถูกสตางค (Customer Value) (Affordability)ตัง้ ราคา (Price) ตน ทนุ ซื้อ ถูกตาม (Cost to Customer) (Accessibility) ถูกตองชองทางจําหนา ย (Place) ซอ้ื ไดสะดวก (Accountability) (Convenience)การสอื่ สารการตลาด การติดตอสอ่ื สารกนั(Promotion) (Communication)การสรางความสัมพันธกบั ลกู คา ( How Customer Relationships are Built) กัมเมสสัน (Gummesson, 1994) เขียนการเปล่ียนแปลงแนวคิดการตลาดจาก 4 Psกลายเปน 30 Rs แสดงดังภาพที่ 1-14 จากแนวคิดการตลาด 4Ps จะเนนความสําคัญท่ีสินคาราคา สถานที่ และการสงเสริมการตลาด ในขณะทแ่ี นวคิดความสัมพันธ 30 Rs เนนความสําคัญท่ีเครือขาย ปฏสิ มั พนั ธ และความสมั พันธความสัมพันธ ปฏิสัมพนั ธ ผลิตภณั ฑ การสงเสริม 4 Ps การปฏิสมั พนั ธ ความสมั พันธ เครือขาย ราคา เครอื ขา ย สถานท่ีภาพที่ 1-14 แนวคดิ ของ 4Ps และแนวคิดความสมั พันธท างการตลาดทีม่ า (Gummesson, 1994)

20 ดังนั้น การตลาดสัมพันธ หมายถึง ความสัมพันธ เครือขาย และปฏิสัมพันธ (RM ismarketing seen as relationships, networks and interaction) กัมเมสัน (1994) ศึกษาความสัมพันธตลาดระหวางผูขายปจจัยการผลิต ผูบริโภค และผูสนับสนนุ ความสมั พันธของผูข ายปจจัยการผลิต และ ผบู ริโภค ซึ่งเรยี กวา “30Rs” การจดั ประเภท หรอื โครงสรา งของความสัมพันธตามคุณสมบตั ิ จะจดั ได 4 ประเภท มดี งั นี้(Gummesson, 1996) 1. ความสัมพันธของตลาด เปนความสัมพันธโดยตรงกับลูกคา ไดแก the classic dyad:เปน ความสัมพนั ธระหวางผูข ายปจจยั การผลิต และ ผูบริโภค (R1)ความสัมพันธระหวางการตลาดกับองคการอ่ืนๆ เชน การตลาดอุตสาหกรรม (R2) the classic triad; เปนความสัมพันธระหวางผูบริโภค ผูขายปจจัยการผลิต และคูแขงขัน (R4) การพบปะการบริการ (R7) และ ความสัมพันธระหวา งนกั การตลาดประจํากบั นักการตลาดลว งเวลา (R9) 2. ความสัมพันธดานองคการ ประกอบดวย เปนความสัมพันธอยางใกลชิดของบริษัทพันธมิตรเปลี่ยนแปลงกลไกตลาด (R5.) ความสัมพันธกับองคการที่ไมแสวงหาผลกําไร หรืออาสาสมัคร(R11) ความสัมพันธกับผูใหบริการดานการตลาดภายนอก(R18) ความสัมพันธระหวางลูกคาดว ยกนั (R19) ความสมั พนั ธก บั แหลงเงินทุน (R20) ความสัมพนั ธกบั ตราสินคา และภาพพจนองคการ (R21.) ความสัมพันธโดยการวิจัยตลาด (R24.) ความสัมพันธโดยการใหลูกคาเปนสมาชิก (R25.) เปนการสรางความสัมพันธกับลูกคาที่ไมพึงพอใจ โดยการฟนฟูความสัมพันธกบั ลกู คา (R26.) ลกู คา หรือผูขายปจจยั การผลิตตกเปน เหยอื่ (R30.) 3. ความสัมพันธระดับมหภาค (Mega Relationships) ไดแก Megamarketing เปนความสัมพันธกับองคการ หรือ บุคคลท่ีมีใชนักการตลาด เชน รัฐบาล นักกฎหมาย ผูมีอํานาจ ฯ(R3) Megaalliance เชน อาเชียน (R14) เครือขายบุคคล และเครือขายสังคม (R16) และความสมั พันธดานกบั ส่อื มวลชน (R29) 4. ความสัมพันธระดับจุลภาค (Nano Relationships) เปนความสัมพันธภายในท่ีสนับสนุน หรือหนุนเสริมความสัมพันธของตลาด ไดแก นํากลไกตลาดเขาสูองคการ (R6.)ความสัมพันธระหวางฝาย และเปนความสัมพันธตามลําดับขั้น (R8.) ความสัมพันธของพนักงานภายในองคการ (R10.) และ คุณภาพกอใหเกิดความสัมพันธระหวางฝายการผลิต กับฝายการตลาด(R15.) นอกจากน้ันความสัมพันธยังมีความแตกตางในรูปแบบ และเนื้อหา เชน ความสัมพันธที่เนนรปู แบบ ในขณะท่ี การเนนที่เนอ้ื หายงั ไมปรากฏในวารสาร ไดแ ก การจัดจําหนายสินคา ซง่ึ เปน

21เครือขายตลาดดั้งเดิม (R12) ความสัมพันธทางอิเลคทรอนิคส (R13) ความสัมพันธดานสงิ่ แวดลอ ม และสขุ ภาพอนามัย (R27) และ ความสัมพันธด า นองคค วามรู (R28) ความสัมพันธสามารถจัดเปนวงกลม ไดดังนี้ ความสัมพันธระดับจุลภาค (NanoRelationships) และ ความสัมพันธดานการตลาด 3) ความสัมพันธระดับมหภาค (MegaRelationships) การเปลี่ยนจากการทําการคา หรือธุรกรรม เปนการสรางความสัมพันธกับลูกคา ทําใหลูกคากลายเปนหุนสวน ดังนั้น บริษัทตองใหคําม่ันระยะยาวกับลูกคา ในดาน คุณภาพสินคาคุณภาพการบริการ และนวัตกรรม (The product and service quality and innovation)การตลาดสัมพันธภาพเปนการรักษา และปรับปรุงลูกคาในปจจุบัน ขอสันนิษฐานเบื้องตนของการตลาดสัมพันธภาพยึดถือวา ลูกคารักษาความสัมพันธกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งโดยเฉพาะมากกวา เปลีย่ นไปใชบรกิ ารหลายๆบรษิ ัท (Doyle, 1995) มอรแกนและฮันท (Morgan and Hunt, 1994) เขียนกรอบคิดของนักการตลาดท่ีสรางความสมั พันธก ับ 4 กลุม ดังภาพท่ี 1-15 หุนสว นกบั ผขู ายปจจยั การผลิต พนกั งาน ผูข ายปจ จัยการผลติ หนุ สวนดา นขา ง หนว ยธรุ กจิ ผูขายปจ จัยการผลติ ดา นการบริการ คแู ขงขันฝาย/แผนก รัฐบาล ดา นตวั สินคา องคการท่ไี มแ สวงหากาํ ไร กิจการธุรกจิหุนสวนกบั ภายใน ลกู คาทเ่ี ปน ผใู ชคนสุดลทูกายคาทเี่ ปน คนกลาง หนุ สว นกบั ผูซื้อ ภาพท่ี 1-15 ความสัมพันธข องนักการตลาด ที่มา (Morgan and Hunt, 1994: 24) มอรแกนและฮันท (Morgan and Hunt, 1994) เขียนวาการตลาดสัมพันธเปนสวนหน่ึงของการพัฒนาเครือขาย (network paradigm) ซึ่งตระหนักถึงการแขงขันระดับโลก จะเนนการ

22แขงขันระหวางเครือขายของบริษัท การตลาดสัมพันธ ประกอบดวย หุนสวนกับผูขายปจจัยการผลิต (Suppliers partnership) หุนสวนดานขาง (Lateral partnership) หุนสวนกับผูซื้อ (Buyerpartnership) และ หุน สว นภายใน (Internal partnership) ดงั รายละเอยี ดตอไปนี้ 1. หุนสวนกับผูขายปจจัยการผลิต ประกอบดวย ผลิตภัณฑเปนการแลกเปลี่ยนระหวางผูผลิต และผูขายปจจัยการผลิต โดยจิต (Just In Time: JIT) และ การจัดการคุณภาพรวม (TotalQuality Management: TQM) และ การบริการ ผูขายปจจัยการผลิต เปนการแลกเปล่ียนดานโฆษณา ตัวแทนการวจิ ยั การตลาด และการบรกิ ารลกู คา 2. หุนสว นดานขาง ประกอบดวย คูแขงขันที่เปนพันธมิตรเชิงกลยุทธระหวางบริษัท และคูแขง ขนั โดยใชพันธมติ รดา นเทคโนโลยี พันธมิตรดา นการตลาด หรือพนั ธมิตรระดับโลก องคการไมแสวงหาผลกําไร เปนการแลกเปล่ียนระหวางผูผลิต และผูขายปจจัยการผลิต และ รัฐบาล ซ่ึงเปนการรวมมอื ทาํ การวิจัยและพัฒนาระหวา งบรษิ ัท และรัฐบาล (Joint R&D) 3. หุนสวนกับผูซื้อประกอบดวย ผูบริโภคคนสุดทายซึ่งเปนการแลกเปลี่ยนระยะยาวระหวางบรษิ ทั กบั ลกู คา และตลาดคนกลาง ซ่ึงเปนการแลกเปลีย่ นระหวางเพ่อื นรวมงาน 4. หุนสวนภายในประกอบดวย ฝายตาง ๆ (Functional department) เชน การตลาดการเงิน การผลิต เปนตน พนักงาน (Employee) เปนการแลกเปล่ียนระหวางบริษัทกับพนักงานหรอื เรียกวา การตลาดภายใน และหนวยธุรกิจ กลาวโดยสรุปการผูกพัน และความเชื่อใจ (Commitment and trust) นําไปการรวมมือทํางานท่ีกอใหเกิดผลสําเร็จ เพราะ การผูกพัน และความเช่ือใจหนุนเสริมประสิทธิภาพ ผลิตภาพและประสทิ ธผิ ล มอรแกน และฮันท (Morgan and Hunt, 1994) เขียนวาการผูกพัน และความเช่ือใจเปนกุญแจสําคัญในการสรางความสําเร็จใหกับการตลาดสัมพันธ เนื่องจากเปนการรักษาความสัมพันธโดยการรวมมือกับหุนสวน การตอตานความสัมพันธในระยะสั้น เพ่ือรักษาผลประโยชนระยะยาวกับหนุ สวนเดิม และ การสรา งความมนั่ ใจกบั การกระทําทม่ี ีความเส่ียงสงู โปรแกรมการตลาดเชื่อมโยงบริษัทกับลูกคา เพ่ือใหเขาใจการเช่ือมโยง ผูเขียนขอนําเสนอแนวคิดของ คุณคา ลกู คา ความสมั พนั ธก บั ลกู คา การตลาดแบบสัมพนั ธ ดังตอ ไปนี้ เพน (Payne, 1994) เขียนวากุญแจสําคัญของการสรางความสัมพันธทางการตลาดคือการรักษาลูกคา (Retaining customers) ซ่ึงมีประโยชนหลายประการเชน ลูกคาท่ีพึงพอใจจะอา งองิ บรษิ ัท และพรอมจะจายแพงสําหรับความเปนเลิศของการบริการ คาใชจายในการหาลูกคาใหมส ูง เปนตน

23ตารางที่ 1-2 เปรียบเทยี บการตลาดเพื่อการคา และการตลาดเพ่อื สรา งความสมั พันธ เกณฑ การตลาดเพอ่ื การคา การตลาดเพอ่ื ความสมั พันธจดุ สนใจ หาลกู คาใหม รักษาลูกคา เดมิกําหนดทศิ ทาง คุณลกั ษณะของการบริการ ผลประโยชนข องลูกคาขอบเขตของระยะเวลา รายะสั้น ระยะยาวการบรกิ ารลกู คา นอย สูงการผกู พนั กับลูกคา จํากดั สูงการตดิ ตอลกู คา จาํ กดั สูงคุณภาพ เบื้องตน และ การปฏิบตั ิ ทงั้ ระบบทีม่ า (Payne, 1994: 30) จากตารางที่ 1-2 การตลาดเพอ่ื ความสมั พนั ธจะใหค วามสนใจกบั การรกั ษาลูกคา เดมิ เนนผลประโยชนของลูกคา ในระยะยาว และพัฒนาระบบคุณภาพทั่วท้ังองคกร ในขณะที่ การตลาดเพื่อการคาจะใหความสนใจกับการหาลูกคาใหม เนนคุณลักษณะของสินคา และการบริการ ในระยะส้นั และพัฒนาคุณภาพขั้นพ้ืนฐาน นอกจากนั้น เพน (Payne, 1994) จัดประเภทของลูกคาที่จงรักภักดีตอตราสินคาตามการรักษาลูกคา ไดแก ลูกคาคาดหวัง ลูกคา คนไข/ลูกความผูสนับสนนุ ผบู รจิ าค หรือ ผอู ทุ ศิ และ หนุ สว น 1. การตลาดแบบสัมพนั ธ และโปรแกรมการตลาด การสรางความสัมพันธกับลูกคาจะประสบผลสําเร็จได บริษัทควรระบุเสนทางเพื่อติดตอกับลูกคาอยางใกลชิด โดยผานสวนประสมการตลาดเฉพาะ การพัฒนาความสัมพันธกับลูกคาน้ีเรียกวา การตลาดแบบสัมพันธ ซึ่งเชื่อมโยงบริษัท กับลูกคาแตละคน พนักงาน ผูขายปจ จัยการผลติ และหนุ สว นอ่นื เพอ่ื ใหเ กิดผลประโยชนรวมกันในระยะยาว แนวทางในการสรางความสัมพันธทางการตลาด จดั ได 4 แนวทางตามการศกึ ษาของ คริสโตเฟอรและคณะ (Christoper et al., 2002) โคทเลอร (Kotler, 1992) มอรแกน และฮันต(Morgan and Hunt, 1994) และ กัมเมสสนั (Gummesson, 1994) ดงั ตารางที่ 1-3

24ตารางท่ี 1-3 การตลาดเพอ่ื สรา งความสมั พนั ธช่ือนกั วจิ ัย ประเภทของความสัมพนั ธ รายละเอียดคริสโตเฟอรและคณะ (2002) ตลาด 6 ชนดิ ตลาดผูบริโภค (1)โคทเลอร (1992) กลมุ 6 ชนดิ ตลาดสนับสนนุ (5)มอรแ กน และฮันต (1994) หนุ สวน 10 ชนิด สงิ่ แวดลอมทนั ทที นั ใด (4) สง่ิ แวดลอ มมหภาค (6)กมั เมสสนั (1994) ความสมั พันธ 30 ชนดิ หุนสว นผซู ือ้ (2) หนุ สว นผขู ายปจจัยการผลติ (2) หนุ สว นดา นขา ง (3) หุน สว นภายใน (3) ความสัมพนั ธท างการตลาด -ดงั้ เดมิ (3) -พเิ ศษ (14) ความสมั พันธท ่ไี มใชก ารตลาด -ความสัมพนั ธมหภาค (6) -ความสัมพนั ธจุลภาค (7)ท่ีมา (Gummesson, 2008: 332) หลักการตลาดใหม เปนการบูรณาการ 4Ps 4Cs 4Vs มีวิธีการอยู 5 แนวทาง คือ ซ่ึงเรียกยอวา “PRISM” (Product, Relationship, Image, Service, Management) (Neely et al.,2001, 6-12) ดังนี้ การพัฒนาสินคาใหม (Product) เชน มีหลากหลายกลิ่น รสชาติ การตอยอดดวยภาพพจน ภาพลักษณ สรางตรายี่หอหรือสรางภาพพจนตราสินคา (Brand Name/Image)ใหกับสินคาเรา การพวงบริการ (Service) จะทําใหเรามีรายไดมากข้ึนจากบริการพวง การสรางความประทับใจและความสัมพันธกับลูกคา (Relationship) และ การบริหารกระบวนการภายใน(Management) ใหคนขางในไดมคี วามรคู วามสามารถเตม็ ที่ (ดงั ตารางท่ี 1-4)

25ตารางท่ี 1-4 การตลาดตามหลกั การของ PRISMเปา หมาย สรา งภาพ สรา งยอด สรางความสมั พันธการตลาด การรจู ักตราสนิ คา การยอมรบั ในตลาด ความประทบั ใจกลุม เปา หมาย วงกวา ง สาธารณะ ลูกคา ท่ีสนใจ รา นคา ลกู คา ภกั ดี ผูบ รโิ ภคกลุม เปา หมาย พันธมิตร ลกู คา ทท่ี ดลอง แฟนพนั ธแท คคู า บรโิ ภคกลยุทธต ลาด สรางลูกคา ใหม สรา ง/รักษาลกู คา รักษาลกู คา เกา (Acquisition) (Acquisition/Retention) (Retention)เครอ่ื งมือตลาด แนะนาํ (Information) โปรโมชน่ั (Promotion) บรกิ าร(Service) ภาพพจน (Image) ไดสินคา ถูกใจ(Product) สรา งความสัมพนั ธ2. โปรแกรมการตลาด (Marketing Program) กลยุทธการตลาดสัมพันธชวยผูจัดการตลาดคนพบความตองการของลูกคาคาดหวังแลวแปลความตองการเปนแนวคิดของผลิตภัณฑ แนวคิดเหลาน้ีจะเปลี่ยนเปน โปรแกรมการตลาด ซึ่งถือเปนแผนซึ่งบูรณาการสวนประสมการตลาด (4Ps) เพ่ือนําผลิตภัณฑไปสูลูกคาคาดหวัง จากภาพที่ 1-16 แสดงใหเห็นงานการตลาด เริ่มตนท่ีความตองการของลูกคา แลวแปลงเปล่ยี นแนวคิดของผลติ ภณั ฑ ตอ จากนัน้ จงึ พัฒนาเปนตวั ผลติ ภัณฑท่ีจะนาํ เสนอสลู กู คา ฝายการตลาด คน พบความตองการของลูกคา แนวคิดของ สรางความพงึ พอใจใหกับลกู คา ผลติ ภณั ฑ โดยกาํ หนดสวนประสม การตลาด (4Ps) ทมี่ ีประสทิ ธิผล ขอมูลความตองการของลกู คา สินคา บรกิ าร ความคดิ ลกู คาทม่ี ีศกั ยภาพ: ตลาดภาพท่ี 1-16 งานการตลาดขั้นท่สี อง การตอบสนองความตอ งการของลกู คาท่ีมา (Kerin et al., 2003: 17)

26 2.1 สว นประสมการตลาด (The Controllable Marketing Mix Factors) สวนประสมการตลาดเปนปจจัยที่ฝายการตลาดควบคุมได หลังจากท่ีบริษัทคัดเลือกตลาดเปาหมายแลว ขั้นตอไปบริษัทตองตอบสนองความตองการของลูกคาเปาหมายใหเกิดความพึงพอใจ โดยผูจัดการตลาดตองพัฒนาโปรแกรมการตลาด ที่เขาถึงตลาดเปาหมาย ซ่ึงเจอโรเม แมคคารธี เรียกวา ”4Ps’ มีดังน้ี ผลิตภัณฑ (Product) เปนสินคา บริการ และความคิดที่สรา งความพงึ พอใจตามความตอ งการของลูกคา ราคา (Price) เปนสงิ่ ท่ใี ชในการแลกเปลี่ยน การสงเสริม (Promotion) เปนวิธีการติดตอส่ือสารระหวางผูขายกับผูซ้ือ และ สถานที่ (Place) เปนวิธกี ารนําผลติ ภณั ฑไปถึงมอื ลกู คา (แสดงดงั ภาพที่ 1- 17) ภาพท่ี 1-17 สวนประสมการตลาด (4Ps) ที่มา (Kotler, 2003: 16) นอกจากนั้น กัมเมสสัน (Gummesson, 2008: 323) ไดทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับสวนประสมทางการตลาด ซึ่งมีสวนประสมแตกตางกัน ต้ังแต 4 องคประกอบ ไปจนถึง 15องคประกอบ (4Ps ถึง 15 Ps) ดังนี้

27 - 4Ps ไดแก สินคา (Product) ราคา (Price) การสงเสริม (Promotion) สถานท่ี (Place)(McCarthy, 1960) - 5Ps ไดแก สินคา (Product) ราคา (Price) การสงเสริม (Promotion) สถานท่ี (Place) บุคคล (people) (Judd, 1987) - 6Ps ไดแก สินคา (Product) ราคา (Price) การสงเสริม (Promotion) สถานที่ (Place) พลังการเมือง (Political power ประชามติ (Public opinion formation)(Kotler, 1984) - 7Ps ไดแก สินคา (Product) ราคา (Price) การสง เสรมิ (Promotion) สถานที่ (Place) การ มีสวนรวม (Participants) หลักฐานทางกายภาพ (Physical evidence) กระบวนการ (Process)(Rafiq and Ahmed, 1995) - 15Ps ไดแก สินคา (Product) ราคา (Price) การสงเสริม (Promotion) สถานท่ี (Place) บุคคล (people) การเมือง (Politics) ประชาสัมพันธ (Public relations) ตรวจสอบ (Probe) การมีสวนรวม (Partition) อันดับความสําคัญ (Prioritize) ตําแหนง (Position) กําไร (Profit) แผน (Plan) การดําเนินงาน (Performance) การปฏิบัติงานท่ีดี (Positive implementations) (Baumgartner, 1991) 2.2 สิ่งแวดลอ มทค่ี วบคุมไมไ ด (The Uncontrollable, Environmental Factors) ปจจัยส่ิงแวดลอมท่ีควบคุมไมไดหมายถึง ปจจัยที่ฝายการตลาด และองคการไมสามารถควบคมุ ได มี 5 อยา ง คือ สงั คม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การแขงขัน และกฎหมาย ปจจัยท้ังหา อยางนี้อาจสรา งโอกาส หรืออุปสรรคใหก บั บริษทั กไ็ ดจรยิ ธรรม และการรับผดิ ชอบตอสังคมของการตลาด เนื่องดวยบริษัท หรือ องคการเปล่ียนแปลงทิศทาง ความคาดหวังของสังคมตอนักการตลาดจึงเปลย่ี นแปลงไป ปจ จุบัน มาตรฐานของการปฏบิ ตั ิการตลาดเปลย่ี นแปลงจากผลประโยชนของบริษัทกลายเปนผลประโยชนของลูกคา หรือผูซ้ือ นอกจากน้ันบริษัทตองพิจารณาผลกระทบตอสังคม และส่ิงแวดลอม เนื่องจากความแตกตางของผลประโยชนของลูกคา บริษัท และสังคมนักการตลาดตองคนหาความสมดุลยระหวางกลุมตางๆ จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคมจะเปนแนวทางปฏบิ ัติสาํ หรับผจู ดั การตลาดท่ีหาคาํ ตอบท่ีซบั ซอนได

28 1. จรยิ ธรรม (Ethics) จริยธรรม (Ethics) มีประเด็นทางการตลาดมากมายท่ีไมไดเขียนไวในกฎหมาย เชนลกู คาควรประเมินความปลอดภัยของสินคาหรือไม? ขอมูลของลูกคาควรเปดกับบริษัทอ่ืนหรือไม?การโฆษณาทใ่ี ชมอื อาชีพ (นักบัญชี นักกฎหมาย หรือ นายแพทย)เปนผูแสดงจะมีความเหมาะสมหรือไม? คําถามเหลานี้มีความสัมพันธกับจริยธรรม ซ่ึงเปนคุณธรรม (Morale) และคานิยม(Value) ทจ่ี ัดกรอบการตดั สินใจ และปฏิบตั ิของบุคคล หรือ กลุม คน (Ingram et al., 2005) จริยธรรมทางการตลาด (The marketing ethics) ประกอบดวย 3 มิติ (Rao andSinghapakdi, 1997) ไดแก 1) การรับรูความสําคัญของจริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคมซ่งึ ประเมนิ ผลโดยมาตราสวนพรีเซอร (PRESOR)โดยมี 3 องคป ระกอบคือ ไมเนนท่ีกําไร คุณภาพและการตดิ ตอสอ่ื สาร และจรยิ ธรรม 2) อีพคี ิว (EPQ) ซ่ึงประกอบดวย 2 องคประกอบ คือ อุดมคติและความสัมพันธ (idealism and relativism) และ 3) คุณคาทางจริยธรรมขององคการ (Davis etal., 2001)แผนความรบั ผิดชอบ ตวั ขบั เคลอื่ นความ ทัศนคติและพฤตกิ รรม ผลลพั ธทางธุรกิจ ตอ สงั คมของบริษทั รบั ผดิ ชอบตอสังคมของ ของผมู สี วนไดเ สยี -รายไดวสิ ยั ทัศน -ตน ทุน-วตั ถปุ ระสงคบรษิ ัท บรษิ ทั -ลูกคา พนกั งาน ผูถือหนุ -ความเสี่ยง -ตราสนิ คา ช่อื เสียง ชมุ ชน supplier หุน สวน-อนั ดับความสําคัญและ บริษัท พฤติกรรมและ ธรุ กจิ รัฐบาลกลยทุ ธข องผมู ีสว นไดเสยี แรงจงู ใจของพนักงาน -ภาคประชาชนคานยิ ม (values) ผลลัพธท างสงั คม-นโยบายการผลิต การลงทุน กระบวนการระเบยี บการปฏบิ ัติงาน ภาพท่ี 1-18 ความสัมพนั ธระหวางความรบั ผดิ ชอบตอสงั คมของบรษิ ทั กับผูม สี วนไดเ สยี ทม่ี า (Knox et al., 2005) 2. ความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) ความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัท (Corporate Social Responsibility: SCR)ในขณะที่จริยธรรมเปนประเด็นท่ีเก่ียวกับเฉพาะผูผลิต กับผูซื้อเทาน้ัน โดยท่ัวไป ความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทประกอบดวย 4 มิติ ไดแก เศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรม และความมีใจบุญ(Philanthropy)(Mohr et al., 2001) ความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัท หมายถึง คําสัญญาท่ีจะกําขัด หรือลดผลรายตอสังคมตํ่าท่ีสุด และเพิ่มคุณประโยชนระยะยาวใหสังคมมากที่สุด

29การศกึ ษาพบวาสง่ิ แวดลอมและความมีใจบุญทผี ลกระทบตอการตงั้ ใจซ้ือของผูบรโิ ภค (Mohr andWebb, 2005) บริษัทโตโยตารวมกับคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันส่ิงแวดลอมไทยในการจัดโครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง ปลูกปาในบาน สรางปาในเมืองลดเร่ืองโลกรอน นอกจากนั้น บริษัทฮอนดาเปดตัวรถยนตฮอนดา แอคคอรดรุนใหมท่ีใชแกสโซฮอล E20 (ภาวนา อรัญญกิ , 2008: 1-5) ความกวาง และความลึกของกจิ กรรมการตลาด ปจจุบันการตลาดมีผลกระทบตอคนทุกคน และองคการทุกองคการ ซึ่งสามารถอธิบายไดโดยประเดน็ ดังน้ี 1. ผูทําตลาด หมายถึง ผูผลิตสินคา บริการ หรือความคิด หรือ รานคา ตัวแทนจําหนายเชน หางฯบิก๊ ซี โรงพยาบาลเอกอุดร เปนตน 2. สิ่งที่ขายสูตลาด อาจเปน สินคา บริการ หรือ ความคิด การบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได เชน การใหค าํ ปรึกษาดานบญั ชี กฎหมาย 3. ผูซ้ือสินคา และบริการเปนบุคคล หรือ องคการ ผูซ้ือสินคาที่เปนองคการ ไดแก ผูผลิตสนิ คา ผูค า ปลกี และหนวยงานรัฐบาล 4. ผูที่ไดรับผลประโยชนจากกิจกรรมการตลาด ในสังคมเศรษฐกิจเสรีซ่ึงจะมีกลุมที่ไดรับประโยชนจากการตลาด คือ ผูบริโภคสินคา องคการท่ีขายสินคา และสังคมโดยรวม ภายใตการแขง ขนั โดยเสรที าํ ใหผบู ริโภคเลอื กซ้อื สินคาที่มีคณุ ภาพดี ในราคาที่เหมาะสมฝายการผลิตเปนผูพ ฒั นา ฝายการตลาดเปนผูพัฒนา เวลารูปแบบ อรรถประโยชน สถานท่ี ความเปน เจา ของภาพท่ี 1-19 ชนดิ ของอรรถประโยชนทม่ี า (Perreault, & McCarthy, 2000: 6)

30 1. ลูกคาไดประโยชนอยางไร (How do Consumer Benefit) การตลาดสรางสรรค อรรถประโยชน (Utility) เปนประโยชน หรือ คุณคาของลูกคาที่ผูใชสินคาไดรับ อรรถประโยชนน้ีเปนผลจากกระบวนการแลกเปลี่ยนทางการตลาด ซ่ึงอรรถประโยชน มี 4 ประการ อรรถประโยชนดานรูปราง (Form) อรรถประโยชนดานสถานที่ (Place)หมายความวา รานคามสี นิ คาวางจําหนายในสถานทีท่ เ่ี มื่อลูกคาตองการ 2. อรรถประโยชนดานเวลา (Time) หมายความวา กิจการธุรกิจมีสินคาในเวลาที่ลูกคา ตองการ และอรรถประโยชนดานความเปนเจาของ (Possession) หมายความวา ลูกคา มกี รรมสิทธ (right) ในสนิ คาทเี่ ขาซอื้ อยางถกู ตองตามกฎหมาย แสดงดังภาพท่ี 1-19บทสรุป แนวคิดพื้นฐานของการบริหารการตลาด ประกอบดวย ความตองการ ความปรารถนาและอุปสงค ผลิตภัณฑ คุณคาและการเลือกผลิตภัณฑ วิวัฒนาการของแนวคิดการตลาดประกอบดวย แนวคิดการผลิต แนวคิดการขาย แนวคิดการตลาด และแนวคิดการมุงตลาด โดยแนวคิดการตลาดประกอบดวยองคประกอบ 4 อยาง คือ ตลาดเปาหมาย ความตองการลูกคาการประสานงานตลาด และความสามารถทาํ กําไร บริษัทที่ใชการมุงตลาดจะใหความสนใจกับ 1)การรวบรวมขอมูลความตองการของลูกคา และความสามารถของคูแขงขันอยางตอเน่ือง 2)แบง ปน ขอมลู ระหวางฝา ยตา งๆภายในบรษิ ทั และ 3) ใชข อมูลสรางสรรคคุณคาของลกู คา ประเดน็ ที่เกี่ยวขอ งกับผบู รหิ ารการตลาด 3 ประเดน็ คอื 1) การตดั สนิ ใจของผูบรหิ ารการตลาด 2) คณุ สมบตั ขิ องผูบ รหิ ารการตลาด 3) งานของผูบ ริหารการตลาด การสรา งความสัมพนั ธก ับลกู คา ประกอบดว ย หนุ สวนกบั ผูขายปจ จยั การผลิต หนุ สว นดานขา ง หนุ สวนกบั ผูซ ือ้ และ หุน สว นภายใน หลกั การตลาดใหม เปน การบรู ณาการ สว นประสมการตลาด (4Ps) และ สว นประสมผบู ริโภค (4Cs) สวนประสมการตลาด (4Ps) ไดแ ก ผลิตภัณฑ (Product) เปน สินคา บรกิ าร และความคิดท่ีสรางความพงึ พอใจตามความตองการของลกู คา ราคา (Price) เปนสง่ิ ทีใ่ ชใ นการแลกเปล่ยี นการสง เสรมิ (Promotion) เปนวิธกี ารติดตอสอื่ สารระหวา งผูขายกบั ผซู อ้ื และ สถานที่ (Place) เปนวิธกี ารนําผลิตภัณฑไปถึงมือลกู คา ในขณะท่ี สว นประสมผูบริโภค4Cs ประกอบดวยคุณคา เพมิ่ตน ทนุ ซอ้ื ซือ้ ไดส ะดวก การติดตอส่ือสารกนั นอกจากน้นั โปรกแกรมสว นประสมการตลาดยงัรวมถงึ 5Ps 6Ps 7Ps และ 15Ps

31 การเปล่ยี นแปลงแนวคดิ การตลาดจาก 4 Ps กลายเปน 30 Rs โดยแนวคดิ การตลาด 4Psจะเนน ความสาํ คัญทส่ี ินคา ราคา สถานที่ และการสงเสริมการตลาด ในขณะทแ่ี นวคิดความสมั พันธ 30 Rs เนน ความสําคญั ท่ีเครือขาย ปฏิสมั พันธ และความสัมพนั ธ การตลาดเปน ตัวขับเศรษฐกจิ สมัยใหมเ พ่ือใหเ ขาใจความสาํ คญั ของการตลาดนอกจากนนั้ บริษทั ตองพจิ ารณาผลกระทบตอสงั คม และสิง่ แวดลอ ม เน่อื งจากความแตกตางของผลประโยชนข องลกู คา บริษทั และสงั คม นักการตลาดตองคน หาความสมดลุ ยระหวา งกลมุ ตา งๆจรยิ ธรรม และความรับผดิ ชอบตอ สงั คมจะเปนแนวทางปฏิบตั ิสําหรบั ผจู ัดการตลาดทหี่ าคาํ ตอบที่ซบั ซอนไดคาํ ถามทา ยบท1. ความตองการ(Need) ความปรารถนา (Want) มูลคา (Value)หมายถึงอะไร?2. จงใหค วามหมายของการตลาด ขั้นตอนของการจัดการตลาด มกี ่ขี น้ั ตอนอะไรบาง3. องคก ารมงุ ตลาดหมายถงึ อะไร?4. ผบู รหิ ารการตลาดมหี นาท่ีอะไร?5. อุปสงคมีก่ชี นดิ ?6. สว นประสมการตลาดมอี งคป ระกอบอะไร?7. แนวความคิด หรอื ปรชั ญาการตลาดมีอะไร?8. การตลาดท่สี รา งความสัมพนั ธกับลกู คา มอี งคป ระกอบอะไร?9. การตลาดมคี วามสําคัญตอ เศรษฐกจิ และสงั คมอยา งไร? เอกสารอางองิภาวนา อรญั ญกิ . (2008, January-March). Green Marketing เติบโตอยางยั่งยืนดวยการตลาดสี เขียว. Marketing Review, 1(1), 1-5.Bass, B.M. (1990). From transactional to transformational leadership: learning to share the vision. Organizational Dynamics, 18, 19-31.Carless. S.A., A. J. Wearing and L. Mann. (2003). A short measure of transformational leadership. Journal of Business and Psychology, 14(3), 389-405.

32Coles, J.W. and William S. Hesterly. (2000). Independence of the Chairman and Board Composition: Firm Choices and Shareholder Value. Journal of Management, 26 (2), 195-214.Davis, M.A., M.G. Andersen and M.B. Curtis. (2001). Measuring ethical ideology in business ethics: a critical analysis of the ethics position questions. Journal of Business Ethics, 32, 35-53.Doyle, Peter. (2002). Marketing Management and Strategy. 3trded. Singapore: Prentice-Hall.Groves, Kevin S. (2005). Linking leader skills, follower attitudes, and contextual variables via an integrated model of charismatic leadership. Journal of Management, 31 (2), 255-77.Guiltinan, Joseph P., Paul, Gordon W., and Madden, Thomas J. (1997). Marketing Management: strategies and programs. 6th ed. Singapore: McGraw-Hill, Inc.Gummesson, E. (1994). Making relationship marketing operational. International Journal of Service Industry Management, 5 (5), 5-20.________. (1996). Relationship marketing and imaginary organizations: a synthesis. European Journal of Marketing, 30 (2), 31-44.________. (2008). Total relationship marketing. 3rd ed. Singapore: Butterworth- Heinemann.Jaworski, B.J. and Koli, A.K. (1993). Market orientation: antecedents and consequences. Journal of Marketing, 59 (July), 53-70.Kerin, Roger A., Berkowitz, E.N., Hartley, S.W, and Rudelius, W. (2003). Marketing. 8th ed. Singapore: McGraw-Hill. Inc.Knox, S., S. Maklan and P. French. (2005). The role of corporate social responsibility : exploring stakeholder relationship and program reporting across leading FTSE companies. Journal of Business Ethics, 61, 71-28.Koli, A.K. and B.J. Jaworski. (1990). Market orientation: the construct, research propositions, and managerial implication. Journal of Marketing, 54 (April), 1-18.Kotler, P. (1994). Marketing Management: analysis, planning, implementation, and control. 8th ed. Singapore: Prentice-Hall.

33________. (2003). Marketing Management. 11th ed. Singapore: Prentice-Hall.Mandall, B. and S. Pherwani. (2003). Relationship between emotional intelligence and transformational leadership style: a gender comparison. Journal of Business and Psychology, 17 (3), 387-404.McDonald, Malcolm. (2002). Marketing Plans: How to prepare them, how to use them. 5th ed. Singapore: Butterworth-Heinemann.Mintzberg, H. (1994). Rounding out the manager’s job. Sloan Management Review, 36 (1), 11-26.Mohr, L.A. and D.J. Webb. (2005). The effects of corporate social responsibility and price on consumer responses. The Journal of Consumer Affairs, 39 (1), 121- 147.________., D.J. Webb and K.E. Harris. (2001). Do consumers expect companies to be socially responsible?: the impact of corporate social responsibility in buying behavior. The Journal of Consumer Affairs, 35 (1), 45-72.Morgan and Hunt. (1994). The commitment-trust theory of relationship marketing. Journal of Marketing, 58(July), 20-38.Murphy, R. (2002). The correlation relationship between value, price, and cost. Journal of American Academy of Business, 2(1), 204-209.Narver, J.C. and Slater, S.F. (1990). The effect of a market orientation on business profitability. Journal of Marketing, 54 (October), 20-35.Neely, A., C. Adams and P. Crowe. (2001). The performance PRISM in practice. Measuring Business Excellence, 5 (2), 6-12.Payne, Adrian. (1994). Relationship Marketing: making the customer count. Managing Service Quality, 4(6), 29-31.Perreault, William D., and McCarthy, E. Jerome. (2000). Essentials of Marketing: A global-managerial approach. 8th ed. Singapore: McGraw-Hill. Inc.Rafig, M. and Ahmed, P.K. (1995). Using the 7Ps as a generic marketing mix: an exploratory survey of UK and European marketing academics. Marketing Intelligence and Planning, 13 (9), 4-15.

34Rao, C.P. and A. Singhapakdi. (1997). Marketing ethics: a comparison between services and other marketing professionals. Journal of Service Marketing, 11 (6), 409- 426.Sarros, J.C. and B.K. Cooper (2006). Building character: a leadership essential. Journal of Business and Psychology. 21 (1), 1-22.Slater, S.F. and Narver, J.C. (1995). Market orientation, and the learning organization. Journal of Marketing, 59 (July), 63-74.Somech, A. (2006). The Effects of Leadership Style and Team Process on Performance and Innovation in Functionally Heterogeneous Teams. Journal of Management, 32(1), 132-57.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้