ทำไม จึง ต้อง มี การ ออก กฎหมาย เทคโนโลยี สารสนเทศ อธิบาย

�ѧ����ʵ�� �Ѱ��ʵ�� ������ͧ ���ɰ��ʵ�� >>

������෤��������ʹ��㹻������

     

������෤��������ʹ�Ȣͧ������� ������ѹ��� 15 �ѹ�Ҥ� 2541 "��С������෤��������ʹ����觪ҵ�" ���¡�������� "��ʪ" ������෤��������ʹ�Ȼ�Сͺ���¡����� 6 ��Ѻ ����

1.����������ǡѺ��á����ҧ����硷�͹ԡ��
(Electronic Transactions Law)
�����Ѻ�ͧʶҹзҧ�����¢ͧ����������硷�͹ԡ��������ʹ��¡�д�� �ѹ�繡���ͧ�Ѻ�Ե�����ѹ���ҧ � ���������Ҩ�ШѴ�Ӣ����ٻẺ�ͧ˹ѧ��������� �����Ѻ�Ե�����ѹ���ٻẺ������Ѵ�Ӣ�����������ٻẺ�ͧ����������硷�͹ԡ�� �����ʹ��駡��ŧ�����ͪ���㹢���������硷�͹ԡ�� ��С���Ѻ�ѧ��ҹ��ѡ�ҹ���������ٻẺ�ͧ��������� �硷�͹ԡ��

2. ����������ǡѺ�����ͪ�������硷�͹ԡ��
(Electronic Signatures Law)
�����Ѻ�ͧ����������ͪ�������硷�͹ԡ����¡�к� ����� � �ҧ෤�����������ʹ��¡��ŧ�����ͪ��͸����� �ѹ�觼ŵ�ͤ�����������ҡ���㹡�÷Ӹ�á����ҧ����硷�͹ԡ�� ��С�˹�����ա�áӡѺ���š������ԡ�� ����ǡѺ�����ͪ�������硷�͹ԡ���ʹ�������� ��ԡ����� �������Ǣ�ͧ�Ѻ�����ͪ�������硷�͹ԡ��

3.����������ǡѺ��þѲ���ç���ҧ��鹰ҹ���ʹ��� ����Ƕ֧ �����������ѹ
(National Information Infrastructure Law)
���͡������Դ���������� ʹѺʹع ��оѲ���ç���ҧ��鹰ҹ���ʹ�� �ѹ���� �ç�����ä��Ҥ� ෤��������ʹ�� ���ʹ�ȷ�Ѿ�ҡ������� ����ç���ҧ��鹰ҹ���ʹ���Ӥѭ��� � �ѹ�繻Ѩ��¾�鹰ҹ �Ӥѭ㹡�þѲ���ѧ�� ��Ъ����������¡�䡢ͧ�Ѱ ����ͧ�Ѻਵ�������Ӥѭ��С��˹�觢ͧ�ǹ�º�¾�� ��ҹ����Ѱ����Ѱ�����٭ �ҵ�� 78 㹡�á�Ш�����ʹ�������Ƕ֧ �����������ѹ ��йѺ�繡���Ӥѭ㹡�ê���Ŵ�������������Ӣͧ�ѧ �����ҧ�����繤���� ����ʹѺʹع����ͧ������ѡ��Ҿ㹡�û���ͧ���ͧ�Ѳ�����ɰ�Ԩ���㹪���� ��й������ѧ����觻ѭ�� ��С�����¹���

4. ����������ǡѺ��ä�����ͧ��������ǹ�ؤ��
(Data Protection Law)
���͡������Դ����Ѻ�ͧ�Է�����������������ͧ��� �����ǹ�ؤ�� ����Ҩ�١�����ż� �Դ�������¶֧�ؤ�Ũӹǹ�ҡ������������ѹ �Ǵ����������¾Ѳ�ҡ�÷ҧ෤����� ���Ҩ�������Դ��ùӢ����Ź�����㹷ҧ�Ԫͺ�ѹ� 繡������Դ�����Ңͧ������ ��駹�� �¤ӹ֧�֧����ѡ�Ҵ����Ҿ�����ҧ�Է�Ԣ�鹾�鹰ҹ� ���������ǹ��� �����Ҿ㹡�õԴ���������� ��Ф�����蹤��ͧ�Ѱ

5.����������ǡѺ��á�зӤ����Դ����ǡѺ�������� ��
(Computer Crime Law)
���͡�˹��ҵá�÷ҧ�ҭ�㹡��ŧ�ɼ���зӼԴ����� ����÷ӧҹ�ͧ���������� �к������� ����к����͢��� ��駹����������ѡ��Сѹ�Է�������Ҿ ��С�ä�����ͧ������������ѹ�ͧ�ѧ��

6.����������ǡѺ����͹�Թ�ҧ����硷�͹ԡ��
(Electronic Funds Transfer Law)
���͡�˹�����Ӥѭ�ҧ������㹡���ͧ�Ѻ�к�����͹�Թ�ҧ����硷�͹ԡ�� ��駷���繡���͹�Թ�����ҧʶҺѹ����Թ ����к���ê����Թ�ٻẺ������ٻ�ͧ�Թ����硷�͹ԡ��������Դ����������蹵���к���÷Ӹ�á����ҧ����Թ ��С�÷Ӹ�á����ҧ����硷�͹ԡ���ҡ��觢��

» �Ҫ�ҡä���������

» �Ըա�÷����㹡�á�зӤ����Դ�ҧ�Ҫ�ҡ����ҧ����������

» ������ҧ�ĵԡ�������դ����Դ��� �.�.�.���

» �����Դ�ͧ�������ԡ��������Ңͧ���

» �Ըա�û�ͧ�ѹ�����Ҷ֧��������Ф���������

» ����Ҫ�ѭ�ѵ��Ԣ�Է���

» ������ҫ���Ԣ�Է���

» ���ء�ä�����ͧ�Ԣ�Է���

» �������Դ�Ԣ�Է���

» ���¡��鹡������Դ�Ԣ�Է���������Ҫ�ѭ�ѵ��Ԣ�Է��� �.�. 2537

» ������Թ������ �������§��͡�üԴ������෤�����������ʹ��

2014-07-30 22:10:58

บทบาทของกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ตอนจบ)

โดย คัชชิดา มีท่อธาร, ณัฐวรรธน์ สุขวงศ์ตระกูล
สำนักกฎหมาย
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

          ก่อนหน้านี้ได้อธิบายถึงภาพรวมของโครงสร้างพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยได้สรุปในเบื้องต้นว่า โครงสร้างพื้นฐานที่เกื้อหนุน หรือ Logical Infrastructure ในประเทศไทยยังเรียกได้ว่าไม่สมบูรณ์เสียทีเดียว และเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งที่ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น ในตอนจบนี้จะขอกล่าวในส่วนของกฎหมายเทคโนโลยีสารเทศว่าจะมีบทบาทและช่วยเสริมโครงสร้างพิ้นฐานที่เกื้อหนุนให้สมบูรณ์ได้อย่างไรได้บ้าง

          สำหรับกฎหมายนับเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของโครงสร้างพื้นฐานที่เกื้อหนุน โดยกฎหมายสามารถเป็นเครื่องมือหนึ่งในการผลักดันโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ให้เกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ โดยการนำสิ่งเหล่านั้นมาเขียนเป็นกฎหมายเพื่อให้เกิดการบังคับใช้ และเกิดเป็นระบบหรือมาตรฐานในทางปฏิบัติที่ชัดเจน ซึ่งเป็นการเสริมให้โครงสร้างพื้นฐานที่เกื้อหนุนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเป็นปัจจัยให้เกิดความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มมากขึ้น

          ทั้งนี้ หากจะอธิบายในภาพรวมของกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว สามารถจำแนกตามบทบาทได้เป็น 3 ลักษณะ คือ

          1. กฎหมายเชิงรุก จะเป็นกฎหมายที่กำหนดในลักษณะของการรับรองกิจกรรมต่างๆ ที่ทำในทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีผลผูกพันตามกฎหมาย เช่น การรับรองผลทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น หรือกำหนดเงื่อนไขที่จำเป็นที่หน่วยงานหรือผู้ประกอบการที่ดำเนินงานหรือให้บริการด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ต้องปฏิบัติตาม เช่น การกำหนดให้หน่วยงานต้องมีแนวนโยบายรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบสารสนเทศ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ที่ต้องการทำธุรกรรมผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ว่าสิ่งที่ตนเองทำอยู่นั้นมีกฎหมายรองรับ และระบบที่ตนเองกำลังใช้งานหรือใช้บริการอยู่เป็นระบบที่น่าเชื่อถือและมีความปลอดภัยนั่นเอง

          โดยแรกเริ่มได้แยกกฎหมายออกเป็น 3 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม ในภายหลังได้รวมหลักการของกฎหมายทั้ง 3 ฉบับไว้ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ฉบับเดียว ซึ่งต่อมามีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551

         นอกจากนี้ ยังได้มีการออกกฎหมายลำดับรองภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อีกหลายฉบับ เพื่อกำหนดเงื่อนไขในรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่ พระราชกฤษฎีกากำหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ที่ยกเว้นมิให้นำกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ พ.ศ. 2549 พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553 รวมทั้งอนุบัญญัติในลำดับประกาศอีกจำนวน 11 ฉบับด้วยกัน

         2. กฎหมายเชิงรับ เป็นกฎหมายที่มีบทบาทหรือทำงานในลักษณะการป้องปราม แก้ไขปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งลดความเสี่ยง ภัยคุกคาม หรือความเสียหายใด ๆ จากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในทางมิชอบ หรือการละเมิดความเป็นส่วนตัว อันประกอบด้วยกฎหมายจำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ และกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

          สำหรับกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 จะอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภายใต้กฎหมายฉบับนี้ได้มีการจัดทำกฎหมายลำดับรองเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในทางปฏิบัติต่างๆ  ทั้งกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ รวมจำนวน 5 ฉบับ และมีการจัดทำประกาศเรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เพิ่มเติมด้วย

          ส่วนกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในขณะนี้ยังไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ว่าเรื่องการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลออกมาใช้บังคับ แต่จริงๆ แล้วหลักการเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลปัจจุบันก็มีแฝงอยู่ในกฎหมายหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่กำหนดหลักเกณฑ์การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในการครอบครองของหน่วยงานรัฐ หรือพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ.2545 ที่กำหนดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ในการครอบครองของสถาบันการเงิน เป็นต้น แต่ในภาพรวมแล้วยังไม่ครอบคลุมหน่วยงานทั้งหมดที่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงกลไกการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลก็ยังไม่ชัดเจนหรือไม่มีมาตรฐานตามแนวทางสากล ดังนั้นคงต้องรอกฎหมายเฉพาะว่าจะอุดช่องว่างหรือแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ดีเพียงใด ซึ่งเท่าที่ทราบมาขณะนี้อยู่ระหว่างการเสนอพิจารณาต่อสภาและเป็นกฎหมายที่บังคับใช้กับหน่วยงานเอกชน

          3. กฎหมายที่ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ สำหรับกฎหมายที่ทำหน้าที่ในบทบาทนี้ได้แก่ กฎหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 78 เกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก็ได้มีการผลักดันให้มีการดำเนินนโยบายทางปฏิบัติแทนการออกเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับ

          อย่างไรก็ตาม การออกกฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถตอบสนองบทบาทต่างๆ ตามที่กล่าวมาข้างต้นนั้นคงเป็นสิ่งที่ทุกประเทศวางเป้าหมายไว้ แต่ก็เป็นงานที่แฝงไปด้วยความท้าทายมากมายเช่นกัน ไม่ว่าจะทำอย่างไรให้กฎหมายที่ออกมามีเนื้อหาที่ครอบคลุม ทันสมัยและมีกลไกการบังคับใช้ที่มีประสิทธิภาพ หรือจะใช้ถ้อยคำในกฎหมายอย่างไรให้เข้าใจง่าย บุคคลทั่วไปอ่านแล้วเข้าใจเจตนารมณ์และขอบเขตหรือความหมายที่ตรงกัน เพราะกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นกฎหมายที่มีศัพท์เทคนิคจำนวนมากและยากต่อบุคคลทั่วไปจะเข้าใจ อีกทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศก็มีการพัฒนาที่รวดเร็ว และเข้าไปมีบทบาทต่อการทำกิจกรรมต่างๆ มากมาย โดยสิ่งท้าทายเหล่านี้ไม่ใช่ประเทศไทยประเทศเดียวที่เผชิญ แม้แต่ประเทศสหรัฐอเมริกาผู้นำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและมีการออกกฎหมายต่างๆ มากมายยังเคยมีการตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการเขียนกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับหนึ่งไว้อย่างน่าสนใจ นั่นคือกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่ชื่อว่า Computer Fraud and Abuse Act (CFAA) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า Title 18 U.S.C Section 1030 โดยกฎหมายนี้ผ่านการพิจารณาของสภาคองเกรสและบัญญัติขึ้นในปี ค.ศ. 1984 มีการตั้งข้อสังเกตในกฎหมาย CFAA นี้ก่อนการแก้ไขในปี ค.ศ. 1986 เพียงประการเดียว คือ การจะเขียนให้กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพนั้นเป็นงานที่ยาก และสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าข้อสังเกตดังกล่าวเป็นจริงก็คือ กฎหมายฉบับนี้ยังคงมีแก้ไขอย่างต่อเนื่องหลังจากที่แก้ไขครั้งแรกในปี ค.ศ. 1986 โดยการแก้ไขเกิดขึ้นอีกในปี ค.ศ.1994, ค.ศ. 1996, ค.ศ. 2001, ค.ศ. 2002 และ ค.ศ. 2008

          ดังนั้น แม้ปัจจุบันประเทศไทยจะมีกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้เกิดการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ออกมาบังคับใช้พอสมควรแล้ว แต่ก็ยังคงมีการบ้านอีกมากที่ภาครัฐต้องแก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นพัฒนาปรับปรุงกฎหมายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงกลไกการบังคับใช้กฎหมายที่ต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น และที่สำคัญคือการสร้างความตระหนักและสร้างความรู้ความเข้าใจในกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้กับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกัน เพื่อยกระดับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เพิ่มสูงขึ้น

วันที่เผยแพร่ 23 พฤศจิกายน 2555
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด 7 พฤษภาคม 2556

บทความที่เกี่ยวข้อง

  • บทบาทของกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

    คำกล่าวที่ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันไปแล้ว คงเป็นคำกล่าวที่ไม่เกินจริง เมื่อลองสังเกตพฤติกรรมตนเองในแต่ละวันจะเห็นได้ถึงความเปลี่ยนแปลง

กฎหมายไอที มีการตรากฎหมายขึ้นใช้บังคับ เมื่อใด

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2545 นับเป็นกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรกที่ใช้บังคับกับการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์บางประเภท เช่น การทาสัญญา กฎหมายกาหนดว่าต้อง มีการลงลายมือชื่อคู่สัญญาจึงจะมี ...

กฎหมายใดจัดทำเพื่อรองรับอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

สำหรับกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 จะอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภายใต้กฎหมายฉบับนี้ได้มีการจัดทำกฎหมายลำดับรองเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในทางปฏิบัติต่างๆ ทั้งกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ ...

กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวกับการกระทำผิดในการเผยแพร่ข้อมูลต้องห้าม มีอะไรบ้าง

- ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลกับผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต - ไม่ทำลายข้อมูล - ไม่เข้าควบคุมระบบบางส่วน หรือทั้งหมดโดยไม่ได้รับอนุญาต - ไม่ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจว่าตัวเองเป็นอีกบุคคลหนึ่ง ตัวอย่างเช่น การปลอมอีเมล์ของผู้ส่งเพื่อให้ผู้รับเข้าใจผิด เพื่อการเข้าใจผิด หรือ ต้องการล้วงความลับ

ข้อใดเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ.
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537..
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544..
ประเด็นที่สำคัญ.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550..
ลักษณะความผิด.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้