การปกครองแบบจตุสดมภ์มาจากที่ใด

 กรมคลัง      -   มี   ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล  มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร

           อยุธยาเป็นเมืองหลวง   เป็นจุดของศูนย์รวมอำนาจการปกครอง    ล้อมรอบด้วยเมืองลูกหลวง ประกอบด้วยทิศเหนือ  เมืองลพบุรี    ทิศตะวันออก  เมือง นครนายก   ทิศใต้ เมืองนครเขื่อนขันธ์   และทิศตะวันตก เมือง สุพรรณบุรี

           ถัดออกมาคือ หัวเมืองชั้นใน  ได้แก่   สิงห์บุรี ปราจีนบุรี  ชลบุรีและเพชรบุรี   และเมืองประเทศราช เช่น เมืองนครศรีธรรมราชและเมืองพิษณุโลก

การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง

1991-2231

              การปกครองเริ่มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา  หลังจากที่ได้ผนวกเอาอาณาจักรสุโขทัยมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาโดยมีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ

          1. จัดการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง

          2. แยกกิจการฝ่ายพลเรือนกับฝ่ายทหารออกจากกัน

การปกครองส่วนกลาง 

          สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดฯให้มีตำแหน่งสมุหกลาโหมรับผิดชอบด้านการทหารนอกจากนี้ยังได้ทรงตั้งหน่วยงานเพิ่มขึ้นมา อีก 2 กรม คือ

            กรมมหาดไทยมีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายกมีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการพลเรือนทั่วประเทศ

            กรมกลาโหมมีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหมมีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดีมีหน้าที่ควบคุมกิจการทหารทั่วประเทศ

           นอกจากนี้ใน 4 กรมจตุสดมภ์ที่มีอยู่แล้ว ทรงให้มีการปรับปรุงเสียใหม่ โดยตั้งเสนาบดีขึ้นมาควบคุมและรับผิดชอบในแต่ละกรมคือ

  กรมเมือง(เวียง                                 มีพระนครบาลเป็นเสนาบดี

  กรมวัง                                                                มีพระธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดี

  กรมคลัง                                             มีพระโกษาธิบดีเป็นเสนาบดี

  กรมนา                                                                มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี

  การปกครองส่วนภูมิภาค

           สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกการปกครองแบบเดิมทั้งหมดแล้วจัดระบบใหม่ดังนี้

 1. หัวเมืองชั้นในยกเลิกเมืองหน้าด่านแล้วเปลี่ยนเป็นเมืองชั้นใน มีฐานะเป็นเมืองจัตวาผู้ปกครองเมืองเหล่านี้เรียกว่า ผู้รั้งพระมหากษัตริย์จะเป็นผู้แต่งตั้งขุนนางในกรุงศรีอยุธยา ทำหน้าที่ผู้รั้งเมืองต้องรับคำสั่งจากในราชธานีไปปฏิบัติเท่านั้นไม่มีอำนาจในการปกครองโดยตรง

  2.หัวเมืองชั้นนอก(เมืองพระยามหานคร)เป็นหัวเมืองที่อยู่ภายนอกราชธานีออกไป จัดเป็นหัวเมืองชั้นตรี โท เอกตามขนาดและความสำคัญของหัวเมืองนั้น เมืองเหล่านี้มีฐานะเดียวกันกับหัวเมืองชั้นในคือขึ้นอยู่ในการปกครองจากราชธานีเท่านั้น

  3. หัวเมืองประเทศราชยังให้มีการปกครองเหมือนเดิมมีแบบแผนขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง มีเจ้าเมืองเป็นคนในท้องถิ่นนั้นส่วนกลางจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวในด้านการปกครอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย


  
การปกครองส่วนท้องถิ่นแบ่งการปกครองเป็นหน่วยย่อยโดยแบ่งเป็น

  1. บ้านหรือหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้าน มีผู้ว่าราชการเมืองเป็นหัวหน้า จากการเลือกตั้งจากหลายบ้าน

  2. ตำบลเกิดจากหลายๆหมู่บ้านรวมกันมีกำนันเป็นหัวหน้ามีบรรดาศักดิ์เป็น พัน 

  3. แขวงเกิดจากหลายๆตำบลรวมกัน มีหมื่นแขวงเป็นผู้ปกครอง

  4. เมืองเกิดจากหลายๆ แขวงรวมกันมีผู้รั้งหรือพระยามหานครเป็นผู้ปกครอง

  ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2ได้มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองทางด้านการทหาร ได้แก่


 
1. การจัดทำสารบัญชี (หรือสารบาญชี)เพื่อให้ทราบว่ามีกำลังไพร่พลมากน้อยเพียงใด

  2. สร้างตำราพิชัยสงคราม ซึ่งเป็นตำราที่ว่าด้วยการจัดทัพ การเดินทัพ การตั้งค่าย การจู่โจมและการตั้งรับส่วนหนึ่งของตำราได้มาจากทหารอาสาชาวโปรตุเกส

  3. การทำพิธีทุกหัวเมืองซักซ้อมความพร้อมเพรียงเพื่อสำรวจจำนวนไพร่พล(คล้ายกับพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณต่อธงชัยเฉลิมพลในปัจจุบัน

 

รูปแบบการปกครองแบบจตุสดมภ์มาจากชนชาติใด

การปกครองแบบจตุสดมภ์เป็นการปกครองที่เริ่มในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ได้ปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่ตามแบบอย่าง ของขอม โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่าย คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอันเป็น ...

อยุธยาได้แบบอย่างการปกครองแบบจตุสดมภ์มาจากไหน *

จตุสดมภ์ (เกิดจากคำบาลี "จตุ" หมายถึง สี่ และสันสกฤต สฺตมฺภ หมายถึง หลัก รวมหมายถึง "หลักสี่") เป็นคำที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพใช้เรียกระบบการปกครองส่วนกลางภายในกรุงศรีอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้น โดยมีระบุว่าเป็นแนวคิดที่รับเอามาจากขอม ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ...

จตุสดมภ์อยู่ภายใต้การดูแลของใคร

การปกครองแบบจตุสดมภ์เป็นการปกครองที่เริ่มในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ได้ปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่ตามแบบอย่างของขอม โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่าย คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา

ตำแหน่งใดดูแลจตุสดมภ์ในสมัยกรุงธนบุรี

องค์ประกอบของ “จตุสดมภ์จตุสดมภ์ หมายถึง “หลักทั้งสี่” มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ กรมเวียง – มี ขุนเวียง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่ รักษาความสงบสุขของราษฏร กรมวัง – มี ขุนวัง เป็นผู้ดูแล เป็นหัวหน้าฝ่าย ราชสำนักการพิจารณาพิพากษาคดี กรมคลัง – มี ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้