เพลงโหมโรงเป็นเพลงประเภทใด

�ŧ����ç�繺��ŧ�·���������ŧ���ŧ�á �ŧ�á��ǹ�˭��鴹��պ���ŧ��ǹ � �ҧ�ŧ�ռ������ͧ���������������ѡ

�ش������¢ͧ��ú���ŧ�ŧ����ç

1. �����ٴ������ ���� ���֡�֧����Ҩ���� ෾´� ����ѡ����Է��������� �ѭ�ԭ�һ���ͧ������ͧ����ú���ŧ���Ф��駻��ʺ���������

2. ���������������ͧ�ѡ����� ���͹ѡ������Դ�ѡ��㹡�ú���ŧ ����ͺ���ŧ�ŧ���仨к���ŧ���Һ��蹢��

3. ��С����Ң�й���էҹ���� ����ͺ���ŧ�ŧ����ç ���������㹺���dz�����§�з�Һ�ѡɳЧҹ �ҡ���§����շ�����Թ

4. ��餹��ͧ�Թ�Ѻ���§����� ����ö�����§ŧ���ͧ����ç���е�ͧ�Ѵ ŧ�����ŧ “��” ��й�����º���§㹡�â����ͧ�ŧ������

5. ���������ͧ���������������к���ŧ�ŧ���� �� �ó����§���¹ ���鵡�� ������ ������§������¹

�ŧ����ç�������ѡɳ� �ժ������¡੾�� �� ����ç��� ����ç��� ����ç��� ����ç⢹�Ф� ����ç���� ����ç����� �ŧ����ç����դ���ᵡ��ҧ㹡�����ŧ����ç���¡ѹ�����ŧ�ش����ç ��� �ش����ç��� ������ŧ�����ŧ� 1 �ش

������ҧ�ŧ�ش����ç������ŧ��ҧ � �ѧ���
1. �Ҹء��
2. �������ç (˭�һҡ�͡)
3. ��������
4. �������ҹ
5. �����ҹ
6. ���
7. ���»��
8. ��
9. ����
10. ���������
11. �Դ��ͧ
12. ���
13. �ӹҭ
14. �����

������ҧ�ѡɳ��ŧ����ç ��Դ��ҧ �

1. ����ç��� �����ŧ㹧ҹ���žԸյ�ҧ � ��觨��բ��㹵͹��� �� �ҹ������ѡ�ѹ�����ѭ��� �ҹ�Ǵ������繩ѹ��� ��÷Ӻح����§��� �ŧ������ŧ �� 5 �ŧ ���� �Ҹء�� ���� ��� ��� �ӹҭ

2. ����ç��ҧ�ѹ ������ç����Դ��鹨ҡ���ླա���ʴ� ���ʾ�������ҳ ����繡���ʴ���ҧ�ѹ �����������ʴ��������������� ����Ͷ֧�������§�е�ͧ��ش�ѡ��ҧ�ѹ ����������Ф���м�����ŧ����� ��ʹ����������ҹ����ʴ���� ����ش�ѡ����Ѻ��зҹ����á�ҧ�ѹ ����ç��ҧ�ѹ ��Сͺ�����ŧ ����� �Դ �غ �� ��кͧ�ѹ ���͢�����ط� �Դ�ҹ ��١ ����� ������� �ء�� ��� ���� ��� ��

3. ����ç��� ���ŧ �ش��������ŧ㹵͹��繢ͧ�ҹ ��ù����������Ǵ��� 㹡��������ҹ���ŵ�ҧ � ��Сͺ�����ŧ�ش����� 12 �ŧ �Ҹء�� �������ç �������� �鹪غ �����ҹ ��� �� ���� ��� �Դ ��� �ӹҭ ����� �鹪غ

4. ����ç���� �Դ��鹤����á� �����Ѫ��ŷ�� � ��觡�ا�ѵ���Թ��� ����ա�ù���һ��ҷ���Һ���ŧ��Сͺ��âѺ���� �������ç�������ѡɳ����ǡѹ�Ѻ����ç ��͹����ʴ��Ф� ��� ���ҷ��к���ŧ˹�Ҿҷ��ش��ҧ� ����з�觶֧�ŧ�����Ǩ֧���������ʴ� ������������������������ҡ �����ŧ �ŧ�� �ŧ���� �ҡ��鹡�����¹�����ŧ��ѵ���ͧ�����������鹵���������� ����ѧ�ִ��͡ѹ��� ��ͧ�����·ӹͧ�͹���¢ͧ�ŧ�� �͡�ҡ��� �ѧ��˹�������ŧ �ŧ��� ������¡�ѹ�����ѭ��� ��ǻ���ͧ���� ���Ǩ֧����ŧ�ŧ����ç

�ŧ����ç���Ҫش����� 2 �ŧ���

1) �ŧ��ǻ���ͧ���� ���ŧ��� � �����������ͧ�ͧ�ѡ�����������͵�Ǩ�������º���¢ͧ����ͧ����� �͡�ҡ����������ѧ���������� ��͹���пѧ�ŧ����ç��ҹ � ��ŧ����

2) ����ŧ����ç���� ���ŧ����� � �� �ŧ������ �кѴ�к�� �������á��� ���ͨ���� 2 - 3 �ŧ�Һ���ŧ�Դ��͡ѹ�繪ش��� � ���� ����Ӥѭ�ŧ����ç����ҹ��е�ͧŧ���´����ŧ������

�ѡ���¹�����������ŧ�·ء�ŧ����觢���ըش�����������Ƿҧ ����ŧ���ᵡ��ҧ�ѹ� �Ҩ�����ͤ���ʹءʹҹ ���������ʴ���������ö�ͧ������ŧ �������ͻ�Сͺ㹡Ԩ������� � �������͵�ͧ��ÿѧ�������ó�Ẻ ��д����˵ع�����оѹ���ŧ�֧��������оѹ�캷�ŧ����շ�ǧ�ӹͧ��� ���Ңͧ�ŧ仵���ش������¹�� � ����

     หากจะกล่าวถึงความหมายของคำว่า " โหมโรง " ตามการรับรู้ในระดับบุคคลโดยทั่วไปแล้ว มักจะคิดถึงเพลงประเภทนี้ในลักษณะที่เป็นเพลงที่ต้องบรรเลงก่อนเพลงอื่นๆ สำหรับคำว่า " โหมโรง " ตามความหมายที่ให้ไว้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 คือ " การประโคมดนตรีเบิกโรง "

คือเป็นเพลงที่ต้องบรรเลงใช้บรรเลงเป็นเพลงแรกก่อนจะมีรายการอื่นๆ ตามมา วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงความเคารพและอัญเชิญพระอิศวรกับเทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านได้รู้ว่ามีงานอะไรที่ไหน

1.เพลงโหมโรงพิธีกรรม 
เป็นเพลงที่ใช้ประกอบพิธีกรรมส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับศาสนพิธี เช่น พิธีสวดมนต์เย็น การที่จะมีพระมาสวดมนต์เย็นนั้นช่วงเวลาก่อนพระมา นักดนตรีจะบรรเลงเพลงชุดโหมโรงเย็นเพื่อบอกชาวบ้าน เพลงโหมโรงที่ใช้ประกอบพิธีกรรมมี 3 ชุด คือ 
1.1 โหมโรงเย็น 1.2 โหมโรงเช้า 1.3 โหมโรงเทศน์

1.1 โหมโรงเย็นชุดโหมโรงเย็น ประกอบด้วยเพลงต่างๆ 13 เพลงคือ

1.1.1 เพลงสาธุการ

1.1.2 เพลงตระ ประกอบด้วย ตระหญ้าปากคอก ตระปลายพระลักษณ์ และ ตระมารละม่อม

1.1.3 เพลงรัวสามลา

1.1.4 เพลงเข้าม่าน

1.1.5 เพลงปฐมและท้ายปฐม

1.1.6 เพลงเพลงเสมอและรัวลาเดียว

1.1.7 เพลงเชิดสองชั้นและเชิดชั้นเดียว

1.1.8 เพลงกลม

1.1.10 เพลงชำนาญ

1.1.11 เพลงกราวใน

1.1.12 เพลงต้นชุบ

1.1.13 เพลงลา

1.2 โหมโรงเช้าประกอบด้วยเพลงชุด 5 เพลงคือ

1.2.1 เพลงสาธุการ

1.2.2 เพลงเหาะ

1.2.3 เพลงรัวลาเดียว

1.2.4 เพลงกลม

1.2.5 เพลงชำนัน (ชำนาญ)

1.3 โหมโรงเทศน์ ใช้สำหรับบรรเลงก่อนมีการแสดงพระธรรมเทศนา ประกอบด้วยชุดเพลง 6 เพลง คือ

1.3.1 เพลงสาธุการ

1.3.2 เพลงกราวใน

1.3.3 เพลงเสมอ

1.3.4 เพลงเชิด

1.3.5 เพลงชุบ

1.3.6 เพลงลา


2.เพลงโหมโรงการแสดง

   การแสดงที่เป็นเรื่องราวของไทยที่ได้รับความนิยมในหมู่มหาชนอย่างแพร่หลายตั้งแต่อดีตมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน เช่น โขน และ ละคร เป็นต้นดังนั้น เพลงโหมโรงที่ใช้ประกอบการแสดง จึงมีความแตกต่างกันไปตามประเภทของการแสดง และ เพลงโหมโรงการแสดงมี 3 อย่างคือ

2.1 โหมโรงละคร

2.2  โหมโรงโขน 

2.3  โหมโรงหนังใหญ่ 

2.4 โหมโรงหุ่นกระบอก

2.1โหมโรงละครแบ่งออกเป็น 3 ชุด

2.1.1 โหมโรงละครตอนเช้า

2.2.2 โหมโรงละครตอนกลางวัน

2.1.3 โหมโรงละครตอนเย็น

2.1.1 โหมโรงละครตอนเช้าใช้เพลงชุดโหมโรงเย็น แต่ตัดเพลงสาธุการออก

2.1.2 โหมโรงละครตอนกลางวัน ประกอบด้วยเพลงต่างๆ ดังนี้

1.เพลงกราวในสามท่อน

2.เพลงเสมอข้ามสมุทร

3.เพลงรัวสามลา

4.เพลงเชิด

5.เพลงชุบ

6.เพลงลา

7.เพลงตระบองตัน

8.เพลงตระคุกรุกร้น - รัวลาเดียว

9.เพลงปลูกต้นไม้ - รัวลาเดียว

10.เพลงใช้เรือ - รัวลาเดียว

11.เพลงเหาะ - รัวลาเดียว

12.เพลงเชิดฉาน - รัวลาเดียว

2.1.3 โหมโรงละครตอนเย็นใช้เพลงชุดโหมโรงเย็น แต่ตัดเพลงสาธุการออก



2.2 โหมโรงโขน เพลงโหมโรงโขนชุดนี้ใช้บรรเลงก่อนการแสดงโขนมี 3 ชุด คือ

2.2.1 โหมโรงโขนตอนเช้า

2.2.2 โหมโรงโขนตอนกลางวัน

2.2.3 โหมโรงโขนตอนเย็น

2.2.1 โหมโรงโขนตอนเช้า ประกอบด้วยเพลงดังต่อไปนี้

1.เพลงตระสารนิบาต - รัว

2.เพลงเข้าม่าน 6 เที่ยว - ลา

3.เพลงเสมอ - รัว

4.เพลงเชิด

5.เพลงกลม

6.เพลงชำนัน (ชำนาญ)

7.เพลงกราวใน

8.เพลงชุบ

9.เพลงกราวรำ

2.2.2 โหมโรงโขนตอนกลางวัน ประกอบด้วยเพลงดังต่อไปนี้

1.เพลงกราวใน

2.เพลงเสมอข้ามสมุทร - รัวลาเดียว

3.เพลงเชิด

4.เพลงชุบแล้วลงลา

5.เพลงตระบองตัน - รัว

6.เพลงตระคุกรุกร้น - รัว

7.เพลงใช้เรือ - รัว

8.เพลงปลูกต้นไม้ - รัว

9.เพลงคุกพาทย์ - รัว

10.เพลงพระพิราบ

11.เพลงตระสารนิบาต

12.เพลงเสี้ยน 2 เที่ยว

13.เพลงเชิด - ปฐม - รัว

14.เพลงบาทสกุณี - ปลายลงกราวรำ

2.2.3 โหมโรงโขนตอนเย็น ประกอบด้วยเพลงดังต่อไปนี้

1.เพลงตระสารนิบาต

2.เพลงเข้าม่าน 6 เที่ยว - ลา

3.เพลงกราวใน

4.เพลงเชิด

5.เพลงกราวรำ



2.3 โหมโรงหนังใหญ่ 
  หนังใหญ่เป็นการแสดงไทยมีมาตั้งแต่ประมาณสมัยกรุงศรีอยุธยา และเสื่อมความนิยมลงในปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คนรุ่นหลังไม่ค่อยมีโอกาสได้ดูการแสดงหนังใหญ่ เพราะคณะที่รับแสดงมีแค่ 2 คณะเท่านั้น คือ คณะของกรมศิลปากร ซึ่งนานๆจะแสดงครั้งหนึ่งโดกยการแสดงส่วนใหญ่จะออกมาในรูปของโขนและละคร อีกคณะหนึ่งเป็นหนังใหญ่วัดขนอน ตำบลสร้อยฟ้า อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี หนังใหญ่เป็นการแสดงกลางแจ้ง ตัวละครสลักด้วยเเผ่นหนัง มีคนเชิดให้ปรากฏบนเงาหน้าจอ ดังนั้น หนังใหญ่จึงแสดงเฉพาะเวลากลางคืนเท่านั้น เพลงต่างๆ ในชุดหนังใหญ่ประกอบเพลงดังต่อไปนี้
2.3.1 เพลงสาธุการ
2.3.2 เพลงตระ
2.3.3 เพลงรัวสามลา
2.3.4 เพลงเข้าม่าน
2.3.5 เพลงลา
2.3.6 เพลงเสมอ
   เมื่อบรรเลงเพลงเสมอจบแล้ว คนพากย์จะจุดเทียน 2 เล่มบูชาหนังเจ้า ในขณะนั้นคนข้างโห่ขึ้นสามลา ปี่พาทย์ก็ทำเพลงเชิด หลังจากนั้น คนเชิดจะออกมาชูหนังเจ้า ส่วนหนังเจ้าตัวฤาษีจะเชิญกลับไปไว้ที่หน้าจอ แล้วปี่พาทย์ก็จะหยุด คนพากย์ก็จะบอกว่าบทไหว้ครู 3 ตอนเรียกว่า 3 ทวย เมื่อจบทวยหนึ่งปี่ีพาทย์ก็จะบรรเลงเพลงเชิดหนึี่งครั้งจนครบ 3 ทวย



2.4 โหมโรงหุ่นกระบอก 

   การแสดงหุ่นกระบอกเป็นการแสดงที่วิวัฒนาการมาจากการแสดงหุ่นกระบอกหลวงหรือหุ่นใหญ่ เพลงในชุดโหมโรงหุ่นกระบอกประกอบด้วยเพลงดังต่อไปนี้
2.4.1 เพลงสาธุการ
2.4.2 เพลงตระ
2.4.3 เพลงรัวสามลา
2.4.4 เพลงเข้าม่าน
2.4.5 เพลงปฐม
2.4.6 เพลงลา
2.4.7 เพลงเสมอ
2.4.8 เพลงรัวลาเดียว
2.4.9 เพลงเชิด
2.4.10 เพลงกลม
2.4.11 เพลงชำนัน (ชำนาญ)
2.4.12 เพลงกราวใน - ลา - วา





3.เพลงโหมโรงประกอบการร้อง - ส่ง 

    ตามประเพณีนิยมที่ชาวไทยยึดถือปฏิบัติต่อกันมาเกี่ยวกับการสวดมนต์เย็นนั้นหลังจากพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เย็นเรียบร้อย ถ้างานนั้นไม่่มีการแสดงอะไร เช่น ลิเก ละคร และ ภาพยนตร์ ตกค่ำปี่พาทย์ชุดที่มาบรรเลงตั้งแต่ตอนเย็นก็จะเล่นร้อง - ส่ง ตามหลักดุริยางค์ไทย ก่อนที่จะมีการร้อง - ส่งก็ต้องมีการโหมโรงเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อเป็นสัญญาณให้รู้ว่าหลังจากจบการบรรเลงโหมโรง จะเริิ่มมีการบรรเลงร้อง - ส่ง เพลงประเภทโหมโรงประกอบการร้อง - ส่งมีด้วยกัน 2 แบบ คือ 
3.1 เพลงโหมโรงเสภา
3.2 เพลงโหมโรงมโหรี

3.1 เพลงโหมโรงเสภา การเล่นเสภานั้น พัฒนามาจากการเล่านิทาน เริ่มจากการเล่านิทานเป็นเเบบความเรียงธรรมดา ภายหลังพัฒนามาเป็นการเล่าโดยอาศัยกลอน ผู้รับจะต้องอาศัยความสามารถในการด้นเป็นกลอนสด เพื่อให้ถ่ายทอดได้สมบรูณ์ ภายหลังจึงมีตัวแสดงเข้าไปประกอบ การเดินเรื่องจึงมีทั้งการขับเสภาและการร้อง จากการที่ต้องมีตัวแสดงเข้าไปร่วมนั้น จึงมีความจำเป็นที่ต้องใช้เวลาในการแต่งตัวก่อนแสดง ดังนั้น เพลงโหมโรงเสภา เดิมทีเดียวใช้เพลงโหมโรงเช่นเดียวกับการแสดงละคร ซึ่งประกอบด้วย

3.1.1 เพลงตระ
3.1.2 เพลงรัวสามลา
3.1.3 เพลงเข้าม่าน
3.1.4 เพลงปฐม
3.1.5 เพลงลา
3.1.6 เพลงเสมอ
3.1.7 เพลงรัวลาเดียว
3.1.8 เพลงเชิด
3.1.9 เพลงกลม
3.1.10 เพลงชำนัน (ชำนาญ)
3.1.11 เพลงกราวใน - ลงลา
  ครั้นต่อมาการแสดงเสภาได้เสื่อมความนิยมลง การเล่นเสภาจึงได้กลายรูปมาเป็นการร้อง - ส่งแทน ทั้งนี้เพื่อเป็นการรักษาธรรมเนียมของการบรรเลงโหมโรงเสภาที่มีมาแต่เดิม ซึ่งยังคงยึดปฏิบัติมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เพลงโหมโรงเสภาใช้บรรเลงเฉพาะกับวงปี่พาทย์ไม้แข็ง ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ คือ เพลงรัวประลองเสภา ตังเพลงโหมโรง และส่วนท้ายเพลงวา

3.2 เพลงโหมโรงมโหรี โหมโรงชนิดนี้นิยมใช้บรรเลงกับวงมโหรีและเครื่องสาย มีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับการโหมโรงที่ใช้ในวงปี่พาทย์ แต่แตกต่างกันตรงที่โหมโรงเสภามีการรัวประลองเสภา แต่โหมโรงมโหรีตัดการรัวประลองเสภาออก สาเหตุที่ตัดออก การบรรเลงรัวประลองเสภาคงจะไม่สะดวกในบางประการ เช่น เครื่องดนตรีไม่เอื้ออำนวยเพราะเป็นวงมโหรีมีแต่เครื่องสาย ประกอบไปด้วย จะเข้ และซอ การบรรเลงก็ยังคงยึดตามแบบแผนเดิม กล่าวคือ จะต้องประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นตัวเพลง และ ส่วนท้ายของเพลงวา 

เพลงโหมโรง อยู่ในประเภทเพลงอะไร?

เพลงหน้าพาทย์ประกอบการโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ประกอบการโหมโรง เพลงโหมโรงนั้นเป็นเพลงที่บรรเลงเพื่อประกาศให้ชาวบ้านทราบว่าสถานที่แห่งนี้จะมีการกระทำพิธีทางศาสนา หรือจะมีการแสดงต่างๆ ประชาชนจะได้มาดู และเป็นการเชิญเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายมาประชุมสโมสรสันนิบาตในบริเวณงานจะได้เป็นสิริมงคลแก่เจ้าของบ้านหรือ

บทเพลงประเภทใดที่เปรียบเสมือนการบรรเลงเพลงโหมโรง ของไทย

เพลงสาธุการ เพลงสาธุการ เป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงมีความหมายเพื่อแสดงการน้อมไหว้และเคารพบูชา ใช้ประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ มีบทบาทสำคัญในวัฒนธรรมดนตรีไทยโดยจะบรรเลงเป็นเพลงแรกในชุดโหมโรงเช้า และ โหมโรงเย็น

ประเภทของเพลงไทยแบ่งได้เป็นกี่ประเภท ?

เพลงไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือเพลงบรรเลง และเพลงขับร้อง

เพลงที่บรรเลงต่อกันคือเพลงประเภทใด

- เพลงตับเพลง คือ เพลงที่นำมารวมร้อง และบรรเลงติดต่อกัน ยึดถือ. สำนวน ทำนองของเพลง ที่สอดคล้องเหมาะสม และต้องอยู่ในอัตราจังหวะเดียวกัน ส่วนบทร้องจะเป็นอย่างไรไม่ถือเป็นสำคัญ เช่น เพลงตับลมพัดชายเขา เพลงตับเพลงยาว เป็นต้น

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้