แรงแวนเดอร์วาลส์ มีอะไรบ้าง

            13. �ç�ִ�˹���������ҧ���š���

 ���� 2 ������

 1.�ç�ǹ��������� (Van Der Waal Borces)

 - �ç�͹�͹

 - �ç�֧�ٴ�����ҧ����

 2.�ѹ������ਹ (Hydrogen Bond)

       1.�ç�ǹ��������� ���ç��ִ�˹���������ҧ���š��ŷ��������ç�ѡ ���͡��

   1.1 �ç�͹�͹ ���ç�ִ�˹���������ҧ���š�������բ����ç��風�����Ҿ�Դ���鹪��Ǥ������ͧ�ҡ����硵�͹�

 �е����������� ����˹���

 �ͧ����硵�͹�ͺ������������¹�ŧ�����骤���˹��蹢ͧ����硵�͹����������� �֧�Դ�繢��Ǣ�����

 ���š��ŷ�������ҧ��§�١�˹���ǹ�����Դ���Ǣ����蹡ѹ �������š�������ҹ�鹡���Դ�ç�֧�ٴ�ѹ ���¡��� "�ç�͹�͹"

   1.2 �ç�֧�ٴ�����ҧ���� ���ç�ִ�˹���������ҧ���š��ŷ�����ç�����ç�͹�͹�͡�ҡ��þǡ���͡�ҡ���

 ��ç�͹�͹���� �ѧ��鹡Ѻ��Ҿ�ͧ���Ǵ���

      2.�ѹ������ਹ ���ç�ִ�˹���������ҧ���š��ŷ����Ҿ�����٧�ҡ �Դ�ҡ�ҵ�� H ��иҵ�ַ���դ��

 �������๡ҵ��Ե���٧����բ�Ҵ��� ���� F,O,N ��Ҿ���Ƿ���٧�����ռ���ҧ EN �ҡ

������ҧ��÷���Դ�ç�ִ�˹���������ҧ���š����繾ѹ������ਹ

 ��ҿ�ʴ�����ʹ�ͧ������֨��ѹ�ҵ������ IV,V,VI, ��� VII

 *�������ç�ִ�˹���������ҧ���š����繾ѹ������ਹ�����ç�ִ�˹���Ƿ����͹���һ��������㹷���� ��� �ç�֧�ٴ

 �����ҧ��������ç�͹�͹

 *���㴷�����ç�ִ�˹���Ǵ��š������ç�����ҧ���� �����ç�ʹ�͹���������

 *���š�������բ��Ǩ��ִ�����ç�ʹ�͹��§���ҧ����

**�����˵�� ��û�Сͺ������ç�ִ�˹���������ҧ���š���੾����ç�͹�͹

�Ҩ�ը�ִ��ʹ�٧������û�Сͺ������ç�ִ�˹���������ҧ���š�����

�ѹ������ਹ���� �����ù�������������š����ҡ�����ҡ�� **

น้ำฝนไหลลงจากกันสาด แรงที่มีส่วนในการก่อตัวของหยดน้ำได้แก่ แรงวานเดอร์วาลส์ แรงตึงผิว การเชื่อมแน่น และความไม่เสถียรพลาโต–เรย์ลี

แรงวานเดอร์วาลส์มีบทบาทสำคัญในหลายสาขาวิชา เช่น เคมีซูปราโมเลกุล ชีววิทยาเชิงโครงสร้าง วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ นาโนเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์พื้นผิว และฟิสิกส์สสารควบแน่น แรงนี้ยังเป็นพื้นฐานของหลายคุณสมบัติในสารประกอบอินทรีย์และของแข็งโมเลกุล รวมถึงการละลายในตัวกลางมีขั้วและไม่มีขั้ว

เมื่อไม่มีแรงอื่นปรากฏ ระยะระหว่างอะตอมจะก่อให้เกิดแรงผลักมากกว่าแรงดึงดูด สิ่งนี้เรียกว่าระยะติดต่อวานเดอร์วาลส์ (Van der Waals contact distance) ปรากฏการณ์นี้เกิดจากแรงผลักซึ่งกันและกันของหมอกอิเล็กตรอนของอะตอม แรงวานเดอร์วาลส์มีต้นกำเนิดเดียวกับปรากฏการณ์คาซิมีร์ อันเป็นแรงที่เกิดจากการกระเพื่อมทางควอนตัมในสนามของแรง

แรงวานเดอร์วาลส์ตั้งชื่อตามโยฮันเนส ดิเดริก ฟาน เดอ วาลส์ นักฟิสิกส์ชาวดัตช์ มักถูกอธิบายว่าเป็นกลุ่มร่วมของแรงลอนดอน (ระหว่างขั้วเหนี่ยวนำชั่วคราว) แรงเดอบาย (ระหว่างมีขั้วถาวรกับขั้วเหนี่ยวนำ) และแรงเคโซม (ระหว่างขั้วถาวร)

แรงวานเดอร์วาลส์รวมถึงแรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างอะตอมและโมเลกุล แรงนี้แตกต่างจากพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิกเพราะเกิดจากความสัมพันธ์ทางสภาพมีขั้วที่ผันผวนของอนุภาคใกล้เคียง แรงวานเดอร์วาลส์เป็นแรงอ่อนที่สุดในบรรดาแรงเคมีอย่างอ่อน มีความแข็งแรงประมาณ 0.4 ถึง 4 kJ/mol แรงนี้เป็นผลจากการเปลี่ยนผ่านชั่วคราวของความหนาแน่นอิเล็กตรอน กล่าวคือเมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอนไปมาระหว่างด้านใดด้านหนึ่งของนิวเคลียส จะก่อให้เกิดประจุย่อยที่สามารถดึงดูดและผลักอะตอมใกล้เคียง แรงวานเดอร์วาลส์ตรวจพบได้ยากเมื่อระยะระหว่างอะตอมมากกว่า 0.6 นาโนเมตร ขณะที่หากระยะระหว่างอะตอมน้อยกว่า 0.4 นาโนเมตร แรงนี้จะกลายเป็นแรงผลัก

แรงวานเดอร์วาลส์มีลักษณะเด่นคือ เป็นแรงที่อ่อนกว่าพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก เป็นแรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับทิศทาง เป็นแรงในระยะใกล้จึงกระทำต่ออนุภาคใกล้เคียงเท่านั้น และไม่ได้ขึ้นกับอุณหภูมิ ยกเว้นแรงดึงดูดระหว่างขั้ว (dipole–dipole interactions) หรือแรงเคโซม

แรงลอนดอน (London dispersion force) เป็นแรงที่เกิดจากอะตอมหรือโมเลกุลมีขั้วชั่วคราว สภาพมีขั้วนี้สามารถเหนี่ยวนำจากโมเลกุลมีขั้วหรือการผลักของหมอกอิเล็กตรอนประจุลบในโมเลกุลไม่มีขั้ว ฉะนั้นแรงลอนดอนจึงถือว่าเกิดจากการผันผวนของความหนาแน่นอิเล็กตรอนในหมอกอิเล็กตรอน อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนมากจะมีแรงลอนดอนมากกว่าอะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนน้อย แรงลอนดอนตั้งชื่อตามฟริตซ์ ลอนดอน นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน

แรงเดอบาย (Debye force) เป็นแรงที่เกิดจากอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลมีขั้วถาวรกับโมเลกุลมีขั้วเหนี่ยวนำ โมเลกุลมีขั้วเหนี่ยวนำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลหนึ่งที่มีขั้วถาวรผลักอิเล็กตรอนของอีกโมเลกุล เหนี่ยวนำให้เกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกันระหว่างโมเลกุล แรงเดอบายไม่สามารถเกิดได้ระหว่างอะตอมและไม่ขึ้นกับอุณหภูมิเหมือนแรงเคโซม แรงเดอบายตั้งชื่อตามปีเตอร์ เดอบาย นักฟิสิกส์ชาวดัตช์

แรงเคโซม (Keesom force) เป็นอันตรกิริยาที่เกิดระหว่างโมเลกุลมีขั้วถาวรสองโมเลกุล โมเลกุลมีขั้วถาวรนี้มีการจัดเรียงที่ทำให้ประจุย่อยต่างขั้วของทั้งสองโมเลกุลอยู่ใกล้กันจึงก่อให้เกิดแรงดึงดูด แรงเคโซมเป็นแรงที่ขึ้นกับอุณหภูมิและไม่เกิดในสารละลายในน้ำที่มีอิเล็กโทรไลต์ แรงนี้ตั้งชื่อตามวิลเลิม เฮนดริก เคโซม นักฟิสิกส์ชาวดัตช์

  1. Garrett, Reginald H.; Grisham, Charles M. (2016). Biochemistry (6th ed.). University of Virginia. pp. 12–13.
  2. Klimchitskaya, G. L.; Mostepanenko, V. M. (July 2015). "Casimir and Van der Waals Forces: Advances and Problems". Proceedings of Peter the Great St. Petersburg Polytechnic University (517): 41–65. arXiv:. doi:. S2CID .
  3. . Britannica. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  4. Mahan, Gerald D. (2009). . Princeton: Princeton University Press. ISBN 0-691-13713-7. OCLC .
  5. . Chemistry LibreTexts. August 15, 2020. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  6. Helmenstine, Anne Marie (November 30, 2019). . ThoughtCo. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  7. Sethi, M. S.; Satake, M. (1992). Chemical bonding. New Delhi: Discovery Publishing House. ISBN 978-81-7141-163-4. OCLC .
  8. . Chemistry LibreTexts. August 15, 2020. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  9. Leite, F. L.; Bueno, C. C.; Da Róz, A. L.; Ziemath, E. C.; Oliveira, O. N. (2012). . International Journal of Molecular Sciences. 13 (12): 12773–856. doi:. PMC. PMID .

    แรงแวนเดอร์วาลส์ คืออะไร

    แรงแวนเดอร์วาลส์ คือ แรงยึดเหนี่ยวในโมเลกุลโคเวเลนต์ให้อยู่ด้วยกัน แรงนี้จะมีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับแรงในพันธะไอออนนิกหรือพันธะโคเวเลนต์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ แรงที่เกิดจากการกระท าระหว่างโมเลกุลแบบมีขั้วซึ่งมีไดโพลแบบถาวร (permanent dipole) เรียกว่า “แรงดึงดูดระหว่างขั้ว”(dipole-dipole interaction)

    แรงระหว่างโมเลกุล มีกี่ชนิด

    แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. แรงลอนดอน (ไม่มีขั้ว) เช่น F2 (F-F F-F) 2. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เช่น FCl ( F-Cl F-Cl ) 3. พันธะไฮโดรเจน เช่น H2O กับ H2O.

    แรงแวนเดอร์วาลส์ค้นพบโดยใคร

    แรงวานเดอร์วาลส์ตั้งชื่อตามโยฮันเนส ดิเดริก ฟาน เดอ วาลส์ นักฟิสิกส์ชาวดัตช์ มักถูกอธิบายว่าเป็นกลุ่มร่วมของแรงลอนดอน (ระหว่างขั้วเหนี่ยวนำชั่วคราว) แรงเดอบาย (ระหว่างมีขั้วถาวรกับขั้วเหนี่ยวนำ) และแรงเคโซม (ระหว่างขั้วถาวร)

    แรงลอนดอน มีสารอะไรบ้าง

    แรงลอนดอนเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงอ่อนๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสารทั่วไป และจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลของสาร จัดเป็นแรงที่มีความแข็งแรงน้อยที่สุดในชนิดของแรงแวนเดอวาลล์ จึงต้องการพลังงานในการสลายพันธะหรือแรงระหว่างโมเลกุลน้อยมาก โมเลกุลที่ยึดจับกันด้วยแรงชนิดนี้มีจุดเดือด และจุดหลอม เหลวต่ำมาก

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้