ประเทศต้นแบบของการปกครองประชาธิปไตย คือประเทศใด

�ٻẺ�ͧ��û���ͧ�кͺ��ЪҸԻ��
������������
㹻���Ȼ�ЪҸԻ�¹�� ��������ٻẺ��û���ͧ����͹� �ѹ������ �ѡ�Ԫҡ����������ʹ���ѡࡳ���ҧ� ����Ҩ�����ٻẺ��û���ͧ�ͧ����Ȼ�ЪҸԻ���ҡ��´��¡ѹ ��ػ���� 2 ��ѡࡳ�� �ѧ���
��������������� 1.��ѡ����آ�ͧ����� ���ٻẺ��ЪҸԻ���� 2 �ѡɳФ��
����������������������� 1) �վ����ҡ�ѵ�����繻���آ �����ҡ�ѵ����зç���ӹҨ͸Ի�� ����繢ͧ�ǧ�� ����ͧ����¡�ѹ�� 3 �ҧ���
�ç���ӹҨ�ԵԺѭ�ѵ��¼�ҹ�ҧ�Ѱ��� �ӹҨ�������¼�ҹ�ҧ����Ѱ����� ����ӹҨ���ҡ���¼�ҹ�ҧ��� ��ǹͧ������ҡ�ѵ����зç�繡�ҧ㹷ҧ������ͧ �� �� �ѧ��� �繵�
����������������������� 2) �ջ�иҹҸԺ���繻���آ �����ç���˹觻�иҹҸԺ���Ҩҡ������͡��駢ͧ��ЪҪ� ��˹�ҷ���繻���آ�ͧ�Ѱ��§˹�ҷ������ �� �ԧ���� �Թ��� ��� ��кҧ����Ȼ�иҹҸԺ�շ�˹�ҷ���繻���آ�ͧ���º����ô��� �� ���Ѱ����ԡ� �Թⴹ���� ���
��������������� 2.��ѡ��������С���¡�ӹҨ ���͡�� 3 �ѡɳ�
����������������������� 1)Ẻ�Ѱ��� �кͺ��ЪҸԻ��Ẻ�Ѱ��� ���� �����੾�м��᷹��ɮ���§������������Ҩ�� 2 ��ҡ��� �շ����Ҽ��᷹��ɮ� ��觵��᷹������Ҫԡ��Ҽ��᷹��ɮ÷���ЪҪ��繼��ŧ��ṹ���§���͡��� ����Ҩҡ������͡��� ����ز���ҫ������Ңͧ���ç�س�ز� ��ǹ�ҡ��Ҫԡ���Ҩҡ����觵�� ����Ҫԡ�ز����㹺ҧ����ȡ��Ҩҡ������͡��� ��������Ҩ���¡��ҧ�ѹ�� �� ��ѧ������¡��Ҽ��᷹��ɮ���� �����ҧ����ز������� ����٧������Ңع�ҧ ������ѡ�����ҷ���ͧ��ͧ��Ъ�������ѹ����ѹ�� �Ѱ��� ������ӹҨ�ԵԺѭ�ѵ�����ӹ�º����� ������ӹҨ㹡���͡�����������黡��ͧ����� ������ӹҨ������㹡����������繪ͺ���ͨѴ����Ѱ��� ��ФǺ�����ú����âͧ�Ѱ��Ŵ��� ��� �Ѱ��ź����ô��¤�������ҧ㨢ͧ�Ѱ��� 㹷ҧ��ԺѵԶ�͡ѹ����ѡࡳ����� ���ԡ��ҡ�������;�ä����ͧ��������§��ҧ�ҡʹѺʹع�����Է��㹡�èѴ����Ѱ��� ���ͷ�˹�ҷ������ú�ҹ���ͧ ���Ѱ��Ũе�ͧ����㹤����Ǻ����ͧ��Ҫԡ�Ѱ��� �ѡɳдѧ����ǹ�� �Ѱ�������Ѱ��ŵ�ҧ��˹�ҷ��ͧ�� ���Ѱ��ҤǺ����Ѱ��Ŵ��¡�кǹ��õ���Ѱ�����٭ ����Ҩŧ����������ҧ���������Ѱ������͡�� ��ǹ�Ѱ��š��Ҩ�غ����� ������Դ�������������ӹҨ
����������������������� 2) Ẻ��иҹҸԺ�� �кͺ��ЪҸԻ��Ẻ��иҹҸԺ�����ѡɳФ���¤�֧�ѺẺ�Ѱ����� ������Ѱ�������͹�ѹ �����ѡɳз��ᵡ��ҧ�ѹ ��� ����ջ�иҹҸԺ���繼�����ӹҨ������ �»�иҹҸԺ�����Է�����˹�ҷ��㹡�è��觵�駤���Ѱ����բ���Ҫش˹�� ���ͺ����û��������Ѻ�Դ�ͺ�����ѹ ��ǹ�ӹҨ�ԵԺѭ�ѵԹ�鹡��ѧ�����������Ѱ��� ��û���ͧ�кͺ��ЪҸԻ��Ẻ��иҹҸԺ�չ�� ��駻�иҹҸԺ�������Ҫԡ��Ҽ��᷹��ɮõ�ҧ�����Ѻ���͡�ҡ��ЪҪ� ����ͧ���� �֧��ͧ�Ѻ�Դ�ͺ�µç����ЪҪ� ��ǹ�ӹҨ���ҡ���ѧ��������� �й���ӹҨ�ԵԺѭ�ѵ� �ӹҨ������ ����ӹҨ���ҡ�� ��ҧ�������������¡�ѹ ʶҺѹ������ӹҨ���������繵�Ƿ�����Ѻ�����ж�ǧ��šѹ��Сѹ ���������˹�觽�������ӹҨ�Թ�ͺࢵ �� ��û���ͧ�ͧ���Ѱ����ԡ� �繵�
����������������������� 3) Ẻ����Ѱ��ҡ�觻�иҹҸԺ�� �кͺ��ЪҸԻ��Ẻ����иҹҸԺ���繷�駻���آ�ͧ�Ѱ��к������Ҫ����蹴Թ�����Ѻ����Ѱ����� 㹴�ҹ��ú����ù�鹹�¡�Ѱ����� �繼��ŧ�����С���顮���� ��Ф���Ѱ����ա��ѧ���繼�����ӹҨ������ ���ͧ�Ѻ�Դ�ͺ����Ѱ��� ��ǹ�Ѱ����ͧ���ѧ����˹�ҷ���Ӥѭ ��� �͡��������ФǺ�����ú������Ҫ����蹴Թ ��иҹҸԺ����кͺ��ЪҸԻ�� Ẻ����繼���˹���º�µ�ҧ�������С�����ͧ�·���� 价���ѧ��˹�ҷ��͹ح�⵵��ҡ�� �����ҧ�Ѱ��ҡѺ����Ѱ����� �͡�ҡ����ѧ���ӹ���غ�������� �֧���ӹҨ�ҡ �� �Թ��� �������

Ref : //www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Democracy-System.htm 04/06/2008

ประชาธิปไตยในบริบทโลกสมัยใหม่

               ความเป็นประชาธิปไตยในระบบการเมืองการปกครองของประเทศหนึ่งประเทศใด ในทางทฤษฎีและหลักการปฏิบัติแล้ว หาได้ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะด้านโครงสร้างของบรรดาสถาบันหรือกระบวนการทางการเมืองแต่เพียงด้านเดียว แต่อีกส่วนหนึ่ง ความเป็นประชาธิปไตยโดยตัวของมันเองจะธำรงอยู่ได้ก็ด้วยอาศัยพลเมืองผู้มีสิทธิเสรีภาพภายใต้การรองรับของบทบัญญัติแห่งกฎหมายสูงสุดของสังคมนั้น ทำหน้าที่และรับผิดชอบมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในด้านต่าง ๆ ในอันที่จะสรรค์สร้างให้กระบวนการประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือทางการปกครองที่ตอบสนอง ประชาชนในฐานะที่เป็นเจ้าของประเทศอย่างทรงประสิทธิภาพ ให้ประชาชนบังเกิดผลเป็นความสมบูรณ์พูนสุข กระทั่งบรรลุซึ่งความสามารถในการพัฒนาศักยภาพแห่งความเป็นมนุษย์ได้อย่างเต็มที่ (Joseph A. Schumpeter อ้างถึงใน ทินพันธ์ นาคะตะ 2538, 187) อันเป็นจุดมุ่งหมายเชิงปรัชญาของการดำรงอยู่ร่วมกันในสังคม

               ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ (2546, 2-3) อธิบายว่า คำว่า “ประชาธิปไตย” นั้น ได้ถูกนำมาใช้ในความหมายที่คลุมเครือและสับสน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ให้ทุนการศึกษาวิจัยแก่นักวิชาการจำนวนมากกว่า 100 คน เพื่อไปทำการศึกษาวิเคราะห์การใช้คำว่า “ระบอบประชาธิปไตย” ในประเทศต่าง ๆ ซึ่งปรากฎว่า ประชาธิปไตย ถูกนำไปใช้เป็นชื่อเรียกหรือคำอธิบายแก่ระบบการเมืองและสังคมทุกระบบ แม้กระทั่งระบอบการปกครองที่แทบจะกว่างได้ว่าตรงข้ามกันโดยสิ้นเชิง ต่างก็อ้างว่าระบอบการปกครองของตนเป็นระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ยกตัวอย่างเช่น ความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยตะวันตก (Western Democracy) กับประชาธิปไตยของประชาชน (People’ s Democracy) ที่นักวิชาการตะวันตกเรียกว่าเป็น “ประชาธิปไตยแบบเบ็ดเสร็จ” (Totalitarian Democracy) ซึ่งทั้งสองรูปแบบดังกล่าวต่างก็ยอมรับว่าเสรีภาพเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุด ดุจเดียวกัน เพียงแต่ต่างกันตรงการตีความว่า เสรีภาพเกิดจากรากฐานประการใด กล่าวคือ ประชาธิปไตยตะวันตกมองว่าเสรีภาพเป็นสิ่งที่เกิดจากความสมัครใจโดยปราศจากการใช้กำลังบังคับ ขณะที่ผ่ายประชาธิปไตยประชาชนมีความเชื่อว่า ระบบการเมืองหนึ่งเดียวเท่านั้นที่ถูกต้อง และถ้าสังคมของมนุษย์ยังไม่อาจดำเนินไปในทางที่เป็นสัจธรรมและบรรลุซึ่งสังคมการเมืองในแบบอุดมคติ ก็อาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้กำลังบังคับเพื่อสร้างความมีเสรีภาพและความเสมอภาคอันแท้จริงให้เกิดขึ้นมา หรือประชาธิปไตยแบบตะวันตกเอง ก็มีความหลากหลายในตนเองดังเช่นสามารถแบ่งตามอุดมการณ์ได้เป็นประชาธิปไตยเสรีนิยม (Liberal Democracy) กับประชาธิปไตยสังคมนิยม (Social Democracy) เป็นต้น

               ความหลากหลายของประชาธิปไตยนี้ ยังเป็นที่น่าสังเกตถึงว่า DEMOCRACY นั้น อาจมีคำขยายด้านหน้าซึ่งทำให้เกิดความหมายและคุณลักษณะใหม่ของระบอบการปกครองจากภาษาที่ใช้ อาทิ “Semi-democracy หรือระบอบกึ่งประชาธิปไตย” “People Democracy หรือประชาธิปไตยประชาชน ในประเทศที่ค่อนข้างเป็นเผด็จการ” “Asian-Style Democracy หรือระบอบประชาธิปไตยแบบเอเชีย ซึ่งมีรูปแบบ และรายละเอียดต่างไปจากประชาธิปไตยแบบตะวันตก” หรือแม้แต่ “Thai-Style Democracy หรือระบอบประชาธิปไตยแบบไทย ๆ ซึ่งก็แสดงคุณลักษณะจำเพาะของความเป็นประชาธิปไตยตามบริบทสังคม การเมืองและวัฒนธรรมไทย” ความแตกต่างเช่นนี้ได้ชี้ให้เห็นว่า มีการปรับอุดมการณ์ประชาธิปไตยดั้งเดิมไปผสมผสานกับแนวคิดอื่น กระทั้งเกิดความหมายใหม่และมีเงื่อนไขในทางปฏิบัติเปลี่ยนไปจากเดิม แตกต่างออกไปตามพัฒนาการของแต่ละสังคม และที่ผู้มีอำนาจปกครองเห็นว่าเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของโลกความเป็นจริง กระทั่งเคยมีผู้รวบรวมรูปแบบย่อย ๆ ของประชาธิปไตยได้มากกว่า 550 แบบ (อ้างถึงใน ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ 2546, 3)

               หากจะทำความเข้าใจถึงประชาธิปไตยในโลกสมัยใหม่ นับตั้งแต่ยุดหลังการปฎิวัติประชาธิปไตยในสังคมตะวันตก อันมีคุณลักษณะที่แตกต่างไปจากประชาธิปไตยแบบดั้งเดิม ก็พอที่จะพิจารณาได้จากคุณลักษณะในหลายประการดังนี้ (โปรดดูรายละเอียดใน นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ บทความเรื่อง “ความยากลำบากในการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน” ตีพิมพ์ในวารสารสถาบันพระปกเกล้า สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากที่ลงเผยแพร่ทางอินเตอร์เนต)

  1. ประชาธิปไตยสมัยใหม่อยู่ภายใต้โครงสร้างของรัฐชาติ (Nation-state) หรือรัฐสมัยใหม่ (Modern-state) ทั่วไปเป็นการเฉพาะ ซึ่งมีกลไกของรัฐในการจัดการสังคมการเมืองให้เกิดระเบียบและมุ่งผสมกลมกลืนประชากรของรัฐให้เป็นหนึ่งเดียว (Assimilation of the Masses)
  2. ประชาธิปไตยสมัยใหม่ ดำรงอยู่ในรัฐหรือประเทศขนาดใหญ่ ซึ่งมีความจำเป็นต้องสถาปนาระบบตัวแทน เพื่อเป็นปากเสียงหรือใช้อำนาจในการปกครองสังคมการเมืองแทน ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยที่มีจำนวนมากครอบคลุมทั้งประเทศ รวมทั้งต้องมีระบบการเลือกตั้งทั่วไป เพื่อเป็นกระบวนการในการคัดสรรผู้แทนประชาชนทำหน้าที่ในระบบและกระบวนการทางการเมือง
  3. ประชาธิปไตยสมัยใหม่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับแนวคิดเสรีนิยมที่มองว่าการปกครองที่ดีคือการปกครองที่ได้รับความยินยอมจากประชาชน (Governing by the Popular Consent) หรือกล่าวได้ว่า มีแนวคิดอุดมการณ์เสรีนิยม (Liberalism) เป็นกรอบชี้นำทาง

               ในโลกของประชาธิปไตยสมัยใหม่ (Modern Democracy) ซึ่งมีที่มาจากโลกตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาธิปไตยแบบสหรัฐอเมริกา ถือว่าเป็นรูปแบบที่มีอิทธิพลต่อการแพร่กระจายของระบบการเมืองนี้มากมี จากการอธิบายของฮันติงตัน (Huntington 1993, 28-29) ว่า “ธรรมชาติของประชาธิปไตย คือ อำนาจที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจประชาชนทำการเลือกตั้งผู้ปกครอง จนกลายเป็นระบอบการเมืองที่ประชาชนที่มีคุณสมบัติสามารถออกเสียงเลือกตั้ง เลือกตั้งรัฐบาล การเลือกตั้งจึงกลายเป็นหัวใจหรือสาระสำคัญของระบอบประชาธิปไตย ที่ต้องดำเนินการแข่งขันเพื่อให้ได้อำนาจการเมืองกันอย่าง อิสระ ยุติธรรม (Free , Fair in competition) ซึ่งจะสัมพันธ์กับการที่ให้ประชาชนมีอิสระในการพูด การเสนอข่าวและการคัดค้านหรือต่อสู้ ดังนั้นประชาธิปไตยจึงเป็นการใช้อำนาจหน้าที่ที่จำกัด (Limited Authority)” ส่วนการพัฒนาการ หรือประวัติของประชาธิปไตยในสังคมตะวันตกนั้น เกิดจากประชาธิปไตยโดยตรง (Direct Democracy) ในนครรัฐกรีกโบราณ แต่ในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ มีประวัติศาสตร์มาประมาณ 350 ปีเศษ โดยมีธรรมชาติมาจากการค้าและศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสเเตนท์ ซึ่งก่อขึ้นในประเทศอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ในกลางศตวรรษ ที่ 17 แล้วไปขยายความเติบโตที่อเมริกาเหนือ แล้วก็ผ่านยุคการปฏิวัติประชาธิปไตยที่ที่ประเทศฝรั่งเศสในปลายศตวรรษที่ 18 ความมั่นคงของระบอบการเมืองนี้ ได้ทำให้ภูมิภาคยุโรปตะวันตกและส่วนต่าง ๆ ในตอนเหนือของทวีปอเมริกากลายเป็นประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย กระทั่งประชาธิปไตย กลายเป็นระบอบการเมืองที่ได้ลงหลักปักฐานเป็นระบอบการเมืองที่สำคัญ คู่ขนานไปกับระบอบอำนาจนิยมขึ้นมาในช่วงนั้น

               ดังที่เราจะเห็นได้ว่า ประชาธิปไตยในบริบทโลกยุคใหม่ ดูเหมือนได้กลายเป็นระบอบการปกครองหรือแนวความคิดหลักในการปกครองประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะภายหลังการสิ้นสุดลงของฝักฝ่ายคอมมิวนิสต์ แต่ปัญหาที่น่าสนใจก็คือ ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่คนส่วนใหญ่ในประเทศต่าง ๆ ชื่นชมว่าดีไปทั้งหมดหรือไม่ ข้อวิจารณ์ต่อปัญหาดังกล่าวที่น่าสนใจคือทัศนะของ รัสเทาว์ (Dankwart Rustow 1970 อ้างถึงใน เบ๊นท์ ฟริเบียร์ 2546, 268-269) ที่ว่า การที่ประชาธิปไตยของรัฐหรือประเทศหนึ่ง จะมีวิวัฒนาการมาเป็นดังที่เห็นอยู่ในทุกวันนี้นั้น อาจจะมิได้เป็นเพราะประชาชนต้องการรูปแบบรัฐบาลแบบนี้ หรือมิได้เป็นเพราะประชาชนส่วนใหญ่ ได้บรรลุการยอมรับซึ่งฉันทามติหรือมีความเห็นพ้องต้องกัน (consensus) ในเรื่องคุณค่าพื้นฐานต่าง ๆ (basic value) ของความเป็นประชาธิปไตยแต่ประการใด หากแต่ในทางหนึ่ง อาจเป็นเพราะกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่ต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงอำนาจทางการเมือง เกิดสภาพการยอมรับว่าตนเองนั้นคงไม่สามารถหรือเป็นการยากที่จะมีอำนาจครอบงำเหนือไปกว่ากลุ่มอื่น อันก่อให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องปรองดองกันในระดับหนึ่ง เพื่อกลุ่มของตนดำรงสถานะอยู่ได้ในระบบการเมือง (เรียบเรียงโดย ผู้เขียน)

               เนื้อหาสาระของประชาธิปไตยนั้นเป็นอย่างไร มีนักวิชาการมากมายที่เสนอความหมาย และแนวความคิดประชาธิปไตย ฮันติงตันและดาย (Samuel Huntington 1993, 32-39 ;Thomas Dye 1987, 164-166) ได้เสนอรายละเอียดเปรียบเทียบเกี่ยวกับแนวความคิดและแนวทางการดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตยต่างกันระหว่างประชาธิปไตยแบบอเมริกา เพราะถือว่าประชาธิปไตยแบบอเมริกานั้น เป็นรูปแบบที่มีอิทธิพลต่อโลกประชาธิปไตยอย่างในสมัยปัจจุบันนี้ว่าที่ลักษณะหรือบทบัญญัติ คือ

  1. ประชาธิปไตยแบบมีรัฐธรรมนูญ ที่มาจากรากฐานของข้อตกลงคอนเนคติกัต1638 (The Fundamental Orders of Connecticut)
  2. เน้นความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualism) และสิทธิธรรมชาติ (Natural Rights) เป็นทัศนะของนักคิดในยุคแสงสว่างทางปัญญาแห่งศตวรรษที่ 18 เช่น จอห์น ล๊อค (John Locke)
  3. อำนาจเป็นของประชาชน จากการนำแนวความคิดของการท้าทายหรือถ่วงดุลและตรวจสอบ (checks and balance) โดยรัฐบาลมีอำนาจจำกัด (Limited Government) นั้นก็คือว่า ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองประชาชนเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน จนกลายเป็นฐานของแนวความคิดคนชั้นกลาง คนทำงานเป็นกลไกขับเคลื่อนประชาธิปไตย
  4. สิทธิ เสรีภาพ ปัจเจกบุคคลและความเสมอภาค ส่งผลต่อสิทธิส่วนบุคคลอำนาจการเมืองเป็นของประชาชน รัฐบาลมีอำนาจจำกัด รัฐบาลท้องถิ่นเสียงข้างมากและรัฐบาลที่ดี
  5. โครงสร้างการเมืองมาจากการเลือกตั้ง 2 สภาคือการเลือกฝ่ายบริหารและคณะผู้บริหารโดยตรง และการเลือกรัฐบาลท้องถิ่น

               จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตกหรือแบบอเมริกานี้ เน้นความเป็นปัจเจกบุคคลค่อนข้างมาก หรือให้ความสำคัญและเคารพกับความเป็นส่วนตัว ในลักษณะของการบูชาลัทธิปัจเจกนิยม (Individualism) ที่สามารถแสดงออกได้ทั้งการมีส่วนร่วมในทางการเมือง การปกครอง โดยคนส่วนมาก และคำนึงถึงสิทธิของบุคคลส่วนน้อย การให้คุณค่าต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และความเสมอภาคเท่าเทียมกัน (Individual Participation, Majority Rule and Minority Rights, the Value of Individual Dignity and Equality of Opportunity) (Dye 1987, 164-166)

               ส่วนประชาธิปไตยแบบเอเชียถูกกำหนดมาจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ความเติบโตทางเศรษฐกิจที่รวดเร็วและพื้นฐานทางวัฒนธรรมดั้งเดิม “ขงจื้อ” (Confucian Culture) (Huntington 1993, 36-39) ที่เน้นคุณธรรมของความกตัญญู การผสมกลมกลืน การเกื้อ***ล ความร่วมมือความสัมพันธ์แบบดิ่งมากกว่าความเห็นร่วมกัน สิทธิของบุคคล สิทธิมนุษยชนและการแข่งขันทางการเมือง

ประเทศใดมีรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย

ดัชนีประชาธิปไตย (2018).

ประเทศใดเป็นแม่บทของระบอบประชาธิปไตยโดยตรง

ประชาธิปไตยโดยตรงแรกสุดเชื่อว่าเป็นประชาธิปไตยของชาวเอเธนส์ประมาณช่วงพุทธกาล (5 ศตวรรษก่อนคริสต์ศักราช) แม้ว่าจะไม่ใช่แบบที่ให้อำนาจแก่ประชาชนทั้งหมด คือไม่รวมหญิง คนต่างด้าว และทาส องค์ประชุมหลัก ๆ ของประชาธิปไตยชาวเอเธนส์ก็คือ สมัชชาประชาชน ซึ่งประกอบด้วยประชาชนชาย ทำหน้าที่คล้ายกับฝ่ายนิติบัญญัติ

ประเทศใดมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ

ในประเทศไทย มีชื่อเรียกโดยอธิบายถึงระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ รวมกับระบบรัฐสภาว่า "ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" ซึ่งเรียกรวมการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับประชาธิปไตยระบบรัฐสภา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบใด

ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยวซึ่งมีการปกครองในกรอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาภายใต้ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยที่พระมหากษัตริย์ ซึ่งปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นประมุขแห่งรัฐ ส่วนนายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันคือประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐบาลไทยเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติอยู่กับรัฐสภาไทย ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้