อัตราจังหวะหลักของดนตรีไทยคือจังหวะใด

๒.จังหวะฉิ่ง ใช้พื้นฐานเดียวกับจังหวะสามัญ เป็นการแบ่งจังหวะด้วยฉิ่ง โดยปกติจะตีสลับกัน เป็น ฉิ่ง - ฉับ แต่ใช้เสียงฉิ่งกำหนดเสียงแทนการเคาะหรือตบมือ เพื่อให้ทราบว่ากำลังบรรเลงในอัตราจังหวะ สามชั้น สองชั้น หรือชั้นเดียว

๓.จังหวะหน้าทับ หมายถึงการตีกลองควบคุมจังหวะ วิธีการกำกับจังหวะหน้าทับคือ เราใช้จำนวนห้องโน้ตหรือ จำนวนบรรทัดของโน้ตหน้าทับ เป็นเกณฑ์ในการกำกับและนับจังหวะทำนองเพลง

จังหวะฉิ่ง
ฉิ่ง เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีใช้สำหรับกำกับจังหวะ เบาและหนัก ของบทเพลง มี ๓ อัตราจังหวะ

๑.จังหวะสามชั้น ( จังหวะช้า)

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ฉับ

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ฉับ

๒.จังหวะสองชั้น (จังหวะปานกลาง)

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ฉับ

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ฉับ

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ฉับ

๑ ๒ ๓ ฉิ่ง

๑ ๒ ๓ ฉับ

๓.จังหวะชั้นเดียว (จังหวะเร็ว)

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

๑ฉิ่ง๓ฉับ

จังหวะหน้าทับ (กลองแขก – โทนรำมะนา) ที่นักเรียนใช้กำกับจังหวะบทเพลงต่างๆ ในหลักสูตรวิชาดนตรีไทย โรงเรียนอำนวยศิลป์
สองไม้ลาว สองชั้น

- ติง – โจ๊ะ

- ติง - ติง

- - ติงทั่ง

- ติง - ทัง

สองไม้ไทย (ทยอย สองชั้น)

- - โจ๊ะจ๊ะ

ติงติง - ติง

- - โจ๊ะจ๊ะ

ติงติง - ทั่ง

หน้าทับสำเนียงฝรั่ง

- ติงติงติง

- ติง -ทั่ง

- ติง -ทั่ง

- ติง -ทั่ง

ปรบไก่สองชั้น

-ทั่ง - ติง

-โจ๊ะ-จ๊ะ

-โจ๊ะ-จ๊ะ

-โจ๊ะ-จ๊ะ

-ติง–ทั่ง

-ติง-ติง

-ทั่ง-ติง

-ติง-ทั่ง

ตัวอย่างการกำกับจังหวะฉิ่งสองชั้นและกำกับจังหวะหน้าทับปรบไก่ ในเพลงแขก บรเทศ สองชั้น

ท่อนที่ ๑

จังหวะฉิ่ง

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

กลอง

-ทั่ง-ติง

- โจ๊ะ-จ๊ะ

- โจ๊ะ-จ๊ะ

- โจ๊ะ-จ๊ะ

-ติง–ทั่ง

-ติง-ติง

-ทั่ง-ติง

-ติง-ทั่ง

ทำนอง

- - - ซ

- ล ล ล

- - - ด

- ล ล ล

- ซ ซ ซ

- ล - ซ

- - - ม

- ม ม ม

ทำนอง

- ล ซ ม

- ร - ด

- - ม ร

ด ร - ม

- ซ - ล

- ซ - ม

- - - ร

- - - ด

ท่อนที่ ๒

จังหวะฉิ่ง

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

- - - ฉิ่ง

- - - ฉับ

กลอง

-ทั่ง-ติง

- โจ๊ะ-จ๊ะ

- โจ๊ะ-จ๊ะ

- โจ๊ะ-จ๊ะ

-ติง–ทั่ง

-ติง-ติง

-ทั่ง-ติง

-ติง-ทั่ง

ทำนอง

- ด ร ม

ซ ม ร ด

- - - ซ

- - - ล

- - ด ล

ซม ซ ล

- - - ด

- - - ร

ทำนอง

- ล ซ ม

- ร - ด

- - ม ร

ด ร - ม

- ซ - ล

- ซ - ม

- - - ร

- - - ด

* ต่ำแน่งการบรรเลงของทุกเครื่องมือจะต้องเท่ากันทุกครั้ง เหมือนตารางโน้ตที่กำหนด จึงจะถือว่าการบรรเลงของวงดนตรีสมบูรณ์ในเรื่องการกำกับจังหวะ

จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสำคัญในการบรรเลงและขับร้องโดยปกติจังหวะสามัญที่ใช้กัน
ในวงดนตรีจะมี  3 ระดับ คือ

จังหวะช้า                 ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ   สามชั้น
จังหวะปานกลาง     ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ   สองชั้น
จังหวะเร็ว                 ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ   ชั้นเดียว

               2.2
จังหวะฉิ่ง หมายถึง  จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี “ฉิ่งฉับสลับกันไป ตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ่ง ตลอดเพลง บางเพลงตี “ฉิ่ง  ฉิ่ง  ฉับตลอดทั้งเพลง หรืออาจจะตีแบบอื่นๆ ก็ได้ จังหวะฉิ่งนี้นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะ สามชั้น  สองชั้น  หรือ ชั้นเดียวก็ได้ เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง  หรือ ตีเร็วกระชั้นจังหวะ ในเพลงชั้นเดียว

              2.3 จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียนเสียงการตีมาจากทับ”  เป็นเครื่องกำหนดจังหวะ เครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขก สองหน้า โทน - รำมะนา หน้าทับ

 3. ทำนองดนตรีไทย
คือลักษณะทำนองเพลงที่มีเสียงสูงๆ ต่ำๆ สั้นๆ ยาวๆ สลับ คละเคล้ากันไป ตามจินตนาการของคีตกวีที่ประพันธ์   บทเพลง ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ เหมือนกันทุกชาติภาษา จะมีความแตกต่างกันตรงลักษณะประจำชาติที่มีพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม ไม่เหมือนกัน เช่น เพลงของอเมริกัน อินโดนีเซีย อินเดีย จีน ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทำนองที่แตกต่างกัน ทำนองของดนตรีไทยประกอบด้วยระบบของเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความยาว ความกว้างของเสียง และระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทำนองเพลงทั่วโลก

                3.1 ทำนองทางร้อง  เป็นทำนองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทำนองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบทร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง ทำนองทางร้องคลอเคล้าไปกับทำนองทางรับหรือร้องอิสระได้ การร้องนี้ต้องถือทำนองเป็นสำคัญ

               3.2 ทำนองการบรรเลง หรือทางรับ เป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวีแต่งทำนองไว้สำหรับบรรเลง ทำนองหลักเรียกลูกฆ้อง “Basic Melody” เดิมนิยมแต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่ และแปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ดนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลงในแต่ละท่อน 2 ครั้งซ้ำกัน ภายหลังได้มีการแต่งทำนองเพิ่มใช้บรรเลงในเที่ยวที่สองแตกต่างไปจากเที่ยวแรกเรียกว่า “ทางเปลี่ยน

 4. การประสานเสียง
หมายถึง การทำเสียงดนตรีพร้อมกัน 2 เสียง พร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ำกันตามลีลาเพลงก็ได้

              4.1 การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกัน เครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลงสอดเสียง พร้อมกันได้  โดยเฉพาะทำเสียงขั้นคู่   (คู่คู่คู่คู่คู่และ
 คู่7)

             4.2 การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรี คือ การบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่างชนิดกัน สุ้มเสียงและความรู้สึกของเครื่องดนตรีเหล่านั้น ก็ออกมาไม่เหมือนกัน แม้ว่าจะบรรเลงเหมือนกันก็ตาม

             4.3การประสานเสียงโดยการทำทาง  การแปรทำนองหลักคือ ลูกฆ้อง “Basic Melody” ให้เป็นทำนองของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเรียกว่า “การทำทาง” ทางของเครื่องดนตรี (ทำนอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั้นเมื่อบรรเลงเป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่องก็จะบรรเลงตามทางหรือทำนองของตน โดยถือทำนองหลักเป็นสำคัญของ  การบรรเลง

ประวัติ

      ในสมัยกรุงสุโขทัย ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลำนำ และร้องเล่น วรรณคดี "ไตรภูมิพระร่วง" กล่าวถึงเครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่ง แฉ่ง (ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ ซอ ปี่ไฉน ระฆัง กรับ และกังสดาล

       สมัยกรุงศรีอยุธยา มีวงปี่พาทย์ที่ยังคงรูปแบบปี่พาทย์เครื่องห้าเหมือนเช่นสมัยกรุงสุโขทัย แต่เพิ่มระนาดเอกเข้าไป นับแต่นั้นวงปี่พาทย์จึงประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่ใน ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ตะโพน ฉิ่ง ส่วนวงมโหรีพัฒนาจากวงมโหรีเครื่องสี่ เป็นมโหรีเครื่องหก เพิ่มขลุ่ย และรำมะนา รวมเป็นมี ซอสามสาย กระจับปี่ ทับ (โทน) รำมะนา ขลุ่ย และกรับพวง

       ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากรัชกาลที่ 1 เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก 1 ลูก รวมเป็น 2 ลูก ตัวผู้เสียงสูง ตัวเมียเสียงต่ำ รัชกาลที่ 2 ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรงซอสามสาย คู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้าฟาด และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทย บุหลันลอยเลื่อน รัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจากเปิงมางของมอญ พอในรัชกาลที่ 3 พัฒนาเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มคู่กับระนาดเอก และฆ้องวงเล็กให้คู่กับฆ้องวงใหญ่

        รัชกาลที่ 4 เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก รัชกาลที่ 5 สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ประกอบการแสดงละครดึกดำบรรพ์ ในรัชกาลที่ 6 นำวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่พาทย์มอญโดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มีการนำอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่เป็นครั้งแรก และนำเครื่องดนตรีต่างชาติ เช่น ขิม ออร์แกนของฝรั่งมาผสมเป็นวงเครื่องสายผสม

ลักษณะ

          ลักษณะการประสานเสียงของดนตรีไทยตามแบบโบราณนั้น ใช้หลัก อาศัยสีเสียง (Tone color) ของเครื่องดนตรีเป็นเครื่องแยกแต่ละแนวทำนอง คือให้เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นประสานเสียงกันแบบแนวนอน คือให้เสียงลูกตกตรงกัน มากกว่าประสานแบบแนวตั้งที่อาศัยคอร์ด (

อัตราจังหวะ 2 ชั้นของดนตรีไทยหมายความว่าอย่างไร

น. จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับปานกลางคือช้ากว่าชั้นเดียวเท่าตัว หรือเร็วกว่าสามชั้นเท่าตัว เรียกเต็มว่า อัตราสองชั้น เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสองชั้น เพลงสองชั้น.

อัตราจังหวะ 3 ชั้นของดนตรีไทยหมายความว่าอย่างไร

จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, ชื่ออัตราจังหวะหน้าทับและทำนองเพลงประเภทหนึ่ง มีความยาวเป็น ๒ เท่า ของอัตราสองชั้น.

เสียงฉับ ตือจังหวะแบบใด

เสียงของฉิ่งกำหนดให้มี 2 เสียงคือ จังหวะเบา มีเสียงเป็น “ฉิ่ง” และจังหวะหนักมีเสียงเป็น “ฉับเสียงฉับถือว่าเป็นเสียงจังหวะตก การตีฉิ่งที่ถูกต้องจะต้องให้เสียงฉับ” อยู่ที่จังหวะตก หรือสิ้นสุดของจังหวะ ถ้าหากสิ้นจังหวะเป็น “ฉิ่ง” จะทำให้กลางเป็นเสียงฉับ ฉิ่ง” ถือว่าตีผิดวิธี และเรียกการตีฉิ่งอย่างนี้ว่า ตีฉิ่งหงาย ...

อัตราจังหวะ 3 ชั้น มีจังหวะเป็นอย่างไร

อัตราจังหวะชั้นเดียว อ อัตราจังหวะสองชั้น คือ อัตราจังหวะสามชั้น คือ จังหวะช้า ในเวลาฟังเพลง เราจะทราบว่า เป็นเพลงในอัตราจังหวะช้า ปานกลาง หรือเร็ว ได้โดยสังเกตที่จังหวะนิ่ง และจังหวะกลอง (หน้าทับ) การฟังจังหวะกลองซึ่งเป็นจังหวะใหญ่

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้