นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายมีลักษณะอย่างไร

ธนาคารกลางก็จะใช้เครื่องมือเหล่านี้ ในการปรับลดความร้อนแรงนั้นลง เช่น การถอนสภาพคล่องออกจากระบบ, การขึ้นอัตราดอกเบี้ย, การปรับเพิ่มสัดส่วนเงินสำรองของธนาคารพาณิชย์

ซึ่งเราจะเรียกนโยบายนี้ว่า Contractionary Monetary Policy หรือ “นโยบายการเงินแบบหดตัว”
ยกตัวอย่างการใช้นโยบายการเงินแบบหดตัว เช่น

- ธนาคารกลางทำการสั่งให้ธนาคารพาณิชย์จำเป็นต้องมี Reserve Requirement ในสัดส่วนที่สูงขึ้น
เพราะการมีสัดส่วนเงินสำรองที่มากขึ้น จะทำให้ธนาคารพาณิชย์สามารถปล่อยกู้ได้ในปริมาณที่น้อยลง

โดยทั่วไปแล้วนโยบายเหล่านี้ ก็จะส่งผลให้เงินในระบบมีปริมาณลดลง ซึ่งก็จะช่วยลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจลงได้

กลับกัน ในช่วงที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะถดถอย เช่น ในช่วงที่ GDP ติดลบติดต่อกันหลายไตรมาส

ธนาคารกลางก็จะใช้เครื่องมือเหล่านี้ ในการกระตุ้นให้เศรษฐกิจมีการขยายตัว เช่น การอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบ, การลดอัตราดอกเบี้ย, การปรับลดสัดส่วนเงินสำรองของธนาคารพาณิชย์

ซึ่งเราจะเรียกนโยบายนี้ว่า Expansion Policy หรือ “นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย”
ยกตัวอย่างการใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เช่น

- ธนาคารกลางทำการเข้าซื้อพันธบัตรจากธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์มีเงินสำรองที่สามารถนำไปปล่อยกู้ได้มากขึ้น

เราอาจเคยได้ยินผ่าน ๆ หูกันมาบ้างกับคำว่านโยบายทางการเงิน แต่บทความชิ้นนี้จะเล่าเรื่องนโยบายทางการเงินอย่างง่าย ๆ ให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างไม่ซับซ้อน สิ่งแรกที่เราต้องทำความเข้าใจคือความแตกต่างระหว่างนโยบายการเงินและการคลัง หลังจากนั้น เราจะมาลงรายละเอียดว่านโยบายการเงินมีกี่รูปแบบ แต่ละรูปแบบใช้กับเศรษฐกิจแบบใด สุดท้ายเราจะมาลองดูตัวอย่างของมาตรการนโยบายทางการเงินกัน

 

ก่อนที่เราจะเริ่มทำความรู้จักกับนโยบายทางการเงิน สิ่งแรกที่เราต้องแยกให้ออกคือความแตกต่างระหว่างนโยบายการเงินและการคลัง การเงินคือ สิ่งที่สังคมยอมรับในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าหรือบริการ การคลังคือ การดำเนินการด้านการเงินของภาครัฐทั้งด้านรายรับและรายจ่าย

 

นโยบายการเงิน คือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ปริมาณเงิน อัตราการเเลกเปลี่ยน และอัตราดอกเบี้ย ซึ่งเหล่านี้ทำให้การปรับลดหรือเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจส่งผลต่อการกำหนดทิศทางของอัตราแลกเปลี่ยนให้แข็งค่าหรืออ่อนค่าลง โดยนโยบายทางการเงินดังกล่าวอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารกลาง หรือธนาคารแห่งประเทศไทย

 

โดยประเภทของนโยบายการเงินก็แบ่งออกเป็นสองรูปแบบใหญ่ ๆ ได้แก่ นโยบายการเงินแบบขยายตัว และนโยบายการเงินแบบหดตัว

 

นโยบายการเงินแบบขยายตัว

1. เงินสดสำรอง: ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหน้าที่กำหนดสัดส่วนเงินสดสำรองของประเทศ หากมีการปรับลดเงินสดสำรอง จะทำให้ธนาคารพาณิชย์มีเงินสดสำรองส่วนเกินเพื่อปล่อยกู้กับประชาชนเพิ่มขึ้น
2. การซื้อขายหลักทรัพย์ หรือพันธบัตรของธนาคารกลางกับภาคเอกชน อีกหนึ่งแนวทางการดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัว ธนาคารกลางจะซื้อหลักทรัพย์จากภาคเอกชน เพื่อปล่อยเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ ทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมีมากขึ้น ซึ่งจะสนับสนุนให้เกิดการบริโภค การลงทุนและทำให้เศรษฐกิจขยายตัวต่อไป
3. การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ธนาคารกลางคิดจากธนาคารพาณิชย์ การดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวจะทำโดยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ซึ่งจะมีผลทำให้เงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้น และทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น
4. การขอความร่วมมือให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติตาม เช่น การขอให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อให้กับกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภทที่มีความสำคัญ เช่น ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เป็นต้น

กลับกันหากประเทศกำลังเติบโตอย่างร้อนแรง ธนาคารกลางจะใช้ “นโยบายการเงินแบบเข้มงวด” ซึ่งการดำเนินการจะตรงข้ามกับตัวอย่างด้านบน ตัวอย่างเช่น ปรับเพิ่มดอกเบี้ยนโยบาย, ขายพันธบัตรเพื่อดึงออกจากระบบเศรษฐกิจ หรือเพิ่มอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น

 

ด้วยเหตุผลต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้นโยบายการเงินเป็นนโยบายที่สำคัญต่อเศรษฐกิจ คอยดูแลรักษาความสมดุลต่าง ๆ ปรับตัวตามกฏของอุปสงค์และอุปทาน และปัจจัยอื่น ๆ ที่เข้ามากระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ เป็นเรื่องสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องจับตามองดูแนวโน้มว่าช่วงไหนรัฐบาลจะดำเนินนโยบายทางการเงินอย่างไร เพื่อปรับตัวตามและเท่าทันสภาพเศรษฐกิจของประเทศ

คือ การดำเนินนโยบายโดยใช้เครื่องมือทางการเงินต่างๆ เพื่อทำให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น มักใช้ในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจซบเซา กล่าวคือ การลงทุนและการบริโภคมวลรวมอยู่ในระดับต่ำ ความต้องการสินเชื่อมีน้อยเมื่อเทียบกับปริมาณเงินที่มีอยู่ การใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัว

นโยบายการเงินแบบเจาะจงเป้าหมาย (Targeted monetary policy) มีบทบาทช่วยเสริมและเติมเต็มกลไกการทำงานของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคาและเสถียรภาพระบบการเงินได้อย่าง ‘สมดุล’ เนื่องจากมีจุดเด่นในการดูแลและป้องกันความเสี่ยงเฉพาะจุด ซึ่งช่วยลดทอนผลลบข้างเคียงในวงกว้างที่อาจมีต่อเสถียรภาพระบบการเงิน ปัจจุบันไทยได้เริ่มมีการใช้นโยบายการเงินแบบเจาะจงเป้าหมายแล้ว แต่ส่วนใหญ่ยังเน้นเฉพาะเครื่องมือที่ดูแลเสถียรภาพระบบการเงิน  ซึ่งได้แก่ มาตรการกำกับดูแลรายสถาบันการเงิน (Microprudential measures) และมาตรการดูแลเสถียรภาพระบบการเงิน (Macroprudential measures) ขณะที่เครื่องมือสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการเงินผ่อนคลายแบบเจาะจงเป้าหมาย (Targeted monetary easing) ยังมีจำกัด

ท่ามกลางขีดความสามารถในการดำเนินนโยบายการเงิน (Policy space) ที่จำกัด กอรปกับประสิทธิภาพการส่งผ่านนโยบายการเงินที่ลดลง Targeted monetary easing จะเป็นมิติใหม่ของเครื่องมือนโยบายการเงินเพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยเติบโตกระจายตัวทั่วถึงในทุกภาคส่วนและยั่งยืน เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมและเติมเต็มการใช้อัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างน้อย 3 ประการ ประการแรก ทำให้การดำเนินนโยบายการเงินบรรลุเป้าหมายในการรักษาเสถียรภาพอย่างสมดุลโดยดูแลทั้งเสถียรภาพราคาและเสถียรภาพระบบการเงินควบคู่กัน ประการที่สอง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายในมิติเชิงคุณภาพนอกเหนือจากเชิงปริมาณ ท่ามกลางข้อจำกัดที่ทำให้ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินด้อยลง รวมถึงขีดความสามารถในการดำเนินนโยบายการเงินที่ค่อนข้างจำกัดในปัจจุบัน ประการสุดท้าย เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายเชิงรุก (Proactive measure) ช่วยสนับสนุนบางภาคเศรษฐกิจที่สมควรได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษแม้ในยามที่เศรษฐกิจยังไม่ประสบปัญหา แตกต่างจากการดำเนินนโยบายการเงินแบบปกติที่มีลักษณะเชิงรับซึ่งมักจะตอบสนองหลังจากเศรษฐกิจชะลอตัวอย่างชัดเจน (Countercyclical measure)

นโยบายการเงินแบบเข้มงวดมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการเงินแบบเข้มงวด มีการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ทางการเงินเพื่อ ท าให้ปริมาณเงิน มีขนาดเล็กลง ใช้กับระบบเศรษฐกิจที่มีปัญหาต่างๆ เช่น ภาวะราคาสินค้าสูงขึ้นท าให้ประชาชนมี การใช้จ่ายมากกว่าความสามารถในการ ผลิตของระบบเศรษฐกิจ

นโยบายการคลังแบบผ่อนคลายคือข้อใด

(1) นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เป็นการแก้ไขปัญหาเงินฝืดของรัฐบาล โดยใช้ เครื่องมือทางการเงินต่าง ๆ เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจให้เหมาะสมกับภาวะทาง เศรษฐกิจในขณะนั้น ซึ่งเป็น การเพิ่มอำนาจการซื้อให้ประชาชน เป็นการกระตุ้นให้เศรษฐกิจ ฟื้นตัว ทำให้ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น จูงใจให้ ลงทุนเพิ่มขึ้น การจ้างงานก็จะเพิ่มขึ้น ...

นโยบาย การเงิน มีความสําคัญอย่างไร

นโยบายการเงินส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและราคาสินค้าและบริการ การปรับขึ้นลงของราคาสินค้าและบริการเรียกว่าอัตราเงินเฟ้อ โดยอัตราเงินเฟ้อที่ไม่สูงหรือต่ำเกินไปจะช่วยให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างยั่งยืน ธปท. จึงดำเนินนโยบายการเงินเพื่อให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่เหมาะสม พร้อมกับดูแลให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ และระบบการเงินมี ...

นโยบายการเงิน การคลัง มีอะไรบ้าง

นโยบายการคลังมีรัฐบาลเป็นผู้ออกนโยบาย ซึ่งการคลังเป็นการดำเนินการทางการเงินของภาครัฐทั้งรายรับและรายจ่าย ประเภทของนโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย และนโยบายการเงินแบบตึงตัว โดยทั้ง 2 นโยบายต่างใช้ในวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้