โจทย์โวลต์มิเตอร์ พร้อมเฉลย

     ��â�����ҹ����Ѵ����ͧ�Ѵ�ç�ѹ俿�� �����¹ӵ�ǵ�ҹ�ҹ�ҵ��͹ء���Ѻ�������ٿ�����������ŵ���������� ���ͪ���Ŵ����ҳ�����俿�ҷ�����ż�ҹ ���Ǵ ����͹������������Թ���Ҥ�ҡ���ʷ�袴�Ǵ����͹�����������ǵ�ҹ�ҹ�ѹ�Ѻ��������������դ�Ҥ�����ҹ�ҹ�٧�Ҩ�繡�������� (k) ���� ��Ҥ�����ҹ�ҹ ���ҡ���͹��� �������Ѻ����ҳ �ç�ѹ����͹����� ��ͧ����Ѵ����ç�ѹ��� �������ҹ�ҹ��� ��ͧ����Ѵ�ç�ѹ�٧���Ҥ�����ҹ�ҹ�٧ ��Ҥ�����ҹ�ҹ�ѹ�Ѻ ��ͧ��ä������� ����ö���� ���Ըա�äӹdzǧ����㹡�äӹdz �ʴ��ѧ�ٻ��� 1


�ٻ��� 1 ǧ����ŵ����������ͧ��

     �ҡ�ٻ��� 1 ��ǧ�ôի���ŵ����������ͧ���յ�ǵ�ҹ�ҹ Rs ����ѹ�Ѻ�Ѻ�������ٿ����� ������������ǧ�õ�ͧ����Թ��ҡ��������������ͧ�������ٿ����� �����ѡ����͵�ҧ � �ѧ���

Rm = ������ҹ�ҹ�ͧ���Ǵ����͹���
RS = ������ҹ�ҹ�ѹ�Ѻ���͢�����ҹ����Ѵ
Im , Ifs = ����������ŷ����ż�ҹ������
Efs = �ç�ѹ俿�ҷ���Ѵ���٧�ش

     �ҡ�ٻ��� 1 ����ö������âͧǧ�������顮�ͧ������� �ѧ���

������ҧ��� 1 ��������˹���Ѵ������������� 10 mA �դ�����ҹ�ҹ���� 100? �ҡ��ͧ��èй���Ѵ�ç�ѹ俿�ҡ���ʵç���٧�ش 20 V ���ӹdz�Ҥ��
��� ��ҹ�ҹ�����ҵ���ѹ�Ѻ�Ѻǧ��

�ٻ��� 2 �ի���ŵ��������Ѵ����ç�ѹ���٧�ش 20 V.

�Ըշ�

������ҧ��� 2 ��������˹���Ѵ��ҡ����俿�������� 1 mA �դ�����ҹ�ҹ���� 20 ����� �յ�ǵ�ҹ�ҹ����ѹ�Ѻ���� 480 ����� ��ŵ��������ǹ������ö�Ѵ����ç�ѹ �٧�ش �������

�ٻ��� 3 ǧ����ŵ��������ͧ��÷�Һ�ç�ѹ����Ѵ���٧�ش

�Ըշ�

�ҡ�ٵ� Efs = Ifs (RS + Rm)
����� Efs = ?
  Ifs = 1 mA
Rm = 20
RS = 480
᷹��� Efs = 1 x 10-3 A ( 480 + 20 )
��ŵ��������Ѵ���٧�ش = 0.5 V

     ����Ѻ��Ţͧ��ŵ��������������ö�ŧ������������¹Өӹǹ��ͧ�ͧ������ ��� 10 V = 10 ��ͧ ���èӹǹ�ç�ѹ俵ç������� ��� 200 ��ŵ� ������ç�ѹ��ͪ�ͧ�͡�ҹ�仺ǡ�������Ъ�ͧ���ӴѺ�������Ţͧ�ç�ѹ��������͡�Ҵѧ���� �ٻ��� 4

�ٻ��� 4 ��Ŵի���ŵ���������Ѵ�ŧ���������

            ดาร์สันวาลมิเตอร์สามารถพัฒนาเป็นโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยอาศัยคุณสมบัติการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงให้ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่ของดาร์สันวาลมิเตอร์เหมือนกันปริมาณของแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ป้อนให้ดาร์สันวาลมิเตอร์มีผลต่อกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงน้อยกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นน้อยและเมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงมากกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นมากนั่นคือแรงดันไฟฟ้าจะมีผลโดยตรงต่อกระแสไฟฟ้าดังนั้นสามารถนำดาร์สันวาลมิเตอร์หรือแอมมิเตอร์ดัดแปลงวงจรเป็นโวลต์มิเตอร์ได้และปรับเปลี่ยนสเกลหน้าปัดให้เป็นสเกลโวลต์พร้อมใส่ตัวเลขและหน่วยให้ถูกต้องจะได้โวลต์มิเตอร์ดังรูปที่ 2.9

         2.2.1โครงสร้างโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

                   การพัฒนาดาร์สันวาลมิเตอร์ให้เป็นโวลต์มิเตอร์ทำได้โดยเพิ่มส่วนประกอบของอุปกรณ์เข้าไปในวงจรมิเตอร์ให้เหมาะสม พร้อมกับปรับเปลี่ยนสเกลของมิเตอร์ให้ถูกต้องก็สามารถสร้างโวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงได้การสร้างโวลต์มิเตอร์ใช้วัดแรงดันไฟฟ้าเป็นมิลลิโวลต์เรียกว่ามิลลิโวลต์มิเตอร์ (Millivoltmeter) โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าเป็นโวลต์เรียกว่าโวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) และ โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าเป็นกิโลโวลต์ เรียกว่ากิโลโวลต์มิเตอร์ (Kilovoltmeter)

                   โวลต์มิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า(แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม) ระหว่างจุดสองจุดในวงจรไฟฟ้าความจริงแล้วโวลต์มิเตอร์ก็คือแอมมิเตอร์นั่นเองเพราะขณะวัดแรงดันไฟฟ้าในวงจรหรือแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าจะต้องมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมิเตอร์จึงทำให้เข็มมิเตอร์บ่ายเบนไปการที่กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์ได้ก็ต้องมีแรงดันไฟฟ้าป้อนเข้ามานั่นคือกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามาน้อยกระแสไฟฟ้าไหลน้อยเข็มชี้บ่ายเบนไปน้อยถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามามากกระแสไฟฟ้าไหลมากเข็มชี้บ่ายเบนไปมากแสดงโครงสร้างโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงดังรูปที่ 2.10

       2.2.2การขยายย่านวัดโวลต์มิเตอร์

              กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์จะมีขีดจำกัดอยู่กับค่าการทนกระแสไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ตัวนั้นดังนั้นเมื่อนำโวลต์มิเตอร์ไปวัดแรงดันไฟฟ้าค่ามากๆย่อมส่งผลให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์มากตามไปด้วยซึ่งถ้ามากเกินกว่าที่โวลต์มิเตอร์ทนได้ก็ไม่สามารถนำโวลต์มิเตอร์ไปวัดแรงดันไฟฟ้าค่านั้นได้การดัดแปลงให้ดาร์สันวาลมิเตอร์อันดับให้เป็นโวลต์มิเตอร์และสามารถวัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงขึ้นทำได้โดยใช้ตัวต้านทานที่เหมาะสมมาต่อหรืออนุกรมกับมิเตอร์เดิมเพื่อจำกัดจำนวนกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์ไม่ให้เกินกว่าค่ากระแสไฟฟ้าเดิมที่มิเตอร์เดิมทนได้ทำให้โวลต์มิเตอร์ไปวัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้สูงขึ้นตามต้องการตัวต้านทานที่นำมาต่ออันดับกับดาร์สันวาล์มิเตอร์เดิม เพื่อให้โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าได้มากขึ้นเรียกว่าตัวต้านทานอันดับ (Series Resistor) หรือตัวต้านทานทวีคูณ (Multiplies Resistor) แสดงดังรูปที่ 2.11

                        จากรูปที่ 2.11 เป็นวงจรดีซีโวลต์มิเตอร์เบื้องต้นมีตัวต้านทาน RSต่ออันดับกับดาร์สันวาลมิเตอร์กระแสไฟฟ้าเต็มสเกลในวงจรต้องไม่เกินค่ากระแสไฟฟ้าเต็มสเกลเดิมของดาร์สันวาลมิเตอร์อักษรย่อต่างๆกำหนดไว้ดังนี้

       ตัวอย่างที่ 2.1  จากรูปที่ 2.12 มิเตอร์ตัวหนึ่งวัดกระแสไฟฟ้าได้เต็มสเกล 10 mA มีความต้านทาน

                            100 หากต้องการนำไปวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้ได้สูงสุด 20 V จะต้องใช้ตัวต้านทานมาต่ออันดับมีค่าเท่าไร


        ตัวอย่างที่ 2.2    จากรูปที่ 2.13 มิเตอร์ตัวหนึ่งวัดกระแสไฟฟ้าได้เต็มสเกล 1 mA มีความต้านทาน
                                 ภายใน
20 Ω ต่ออันดับกับตัวต้านทาน480 Ω โวลต์มิเตอร์ตัวนี้วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุดเท่าไร

       2.2.3 โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบหลายย่านวัด

                 โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบหลายย่านวัด (Multirange DC voltmeter) คือการต่อตัวต้านทานหลาย ๆ ตัว อนุกรมกับมิเตอร์
วิธีการต่อแบ่งออกเป็น
2 แบบ คือ

                   1.  โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอินดิวิดวล (Individual type DC voltmeter) เป็นการต่อโวลต์มิเตอร์ โดยการตัวต้านทานแต่ละตัวที่ต่อเพื่อขยายย่านวัดจะแยกอิสระจากกัน และไม่เกี่ยวข้องกัน ดังรูปที่ 2.14

        ตัวอย่างที่ 2.3       จากรูปที่ 2.15 มิเตอร์ชนิดขดลวดเคลื่อนที่มีกระแสไฟฟ้าเต็มสเกล 1 mA มีความต้านทานภายใน 500 Ω ต้องการทำเป็นโวลต์

                                    มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยให้มี 4 ย่านวัดดังนี้1 V, 10 V, 100 V และ1000 V จงคำนวณหาค่าความต้านทานขยายย่านวัด
                                         แต่ละย่านวัด

                   2.  โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบยูนิเวอร์แซลหรือแบบสากล(Universal type DC voltmeter) การต่อโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

แบบนี้ ความต้านทานที่ต่อขยายย่านวัดทุกตัวจะต่ออนุกรมกันทุกตัวและไปต่ออนุกรมกับมิเตอร์ย่านที่ขยายการวัดแต่ละย่านถูกต่อออกมาจากรอยต่อของ

ตัวต้านทานแต่ละตัว แสดงดังรูปที่ 2.16

            ในการคำนวณค่าความต้านทานของวงจรมีข้อยุ่งยากกว่าแบบอินดิวิดวล เพราะตัวต้านทานของทุกย่านวัดต่ออนุกรมกันทุกตัว ซึ่งต้องเริ่มทำ

การคำนวณตั้งแต่ย่านวัดต่ำเป็นต้นไป

               ตัวอย่างที่2.4   จากรูปที่ 17 มิเตอร์ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ มีกระแสไฟฟ้าเต็มสเกล 1 mA ความต้านทานภายใน 500 ถ้าต้องการทำเป็นโวลต์

มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 3 ย่านวัด คือ 1 V, 10 Vและ 100 V จงคำนวณหาค่าความต้านทานขยายย่านวัด แต่ละย่านวัด

       2.2.4 การต่อโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

              โวลต์มิเตอร์สร้างขึ้นมาเพื่อวัดค่าความต้านทานต่างศักย์ไฟฟ้าของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าหรือวัดค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมระหว่างจุดสองจุดในวงจรในตำแหน่งที่ต้องการวัด (ต่อขนานกับจุดวัด) เสมอลักษณะการต่อแสดงดังรูปที่ 2.18

                   จากรูปที่ 2.18 เป็นการต่อโวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงโดยต่อขนานกับส่วนที่จะวัดหรือตกคร่อมการต่อโวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงจะต้องคำนึงถึงขั้วของโวลต์มิเตอร์โดยขั้วบวกโวลต์มิเตอร์ต่อกับขั้วบวกของแหล่งจ่ายและขั้วลบต่อกับขั้วลบ หากต่อสลับขั้วจะทำให้เข็มบ่ายเบนกลับทิศทางและยังอาจทำให้โวลต์มิเตอร์ชำรุดเสียหายได้ด้วย

       2.2.5 การอ่านสเกลของโวลต์มิเตอร์

              โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่ถูกสร้างขึ้นมาใช้งานมักจะมีย่านวัดค่าแรงดันเต็มสเกลหลายย่านและมีสเกลบอกค่าแรงดันไฟฟ้าหลายสเกลทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งานดังนั้นการเปลี่ยนย่านวัดค่าควรเลือกใช้ให้เหมาะสมการอ่านสเกลก็ต้องอ่านให้ถูกต้องกับย่านวัดที่ตั้งวัดจึงจะได้ค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้มีค่าถูกต้อง

       ตัวอย่างที่ 2.5  จากรูปที่ 2.19 โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงนำไปวัดแรงดันไฟตรงเข็มชี้ชี้ค่าออกมา
                                 ตามรูปจงอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ในทุกย่านการวัด

        วิธีอ่าน

                                 ย่าน 0–2.5 V     อ่านค่าได้  =  1.5 V

                                 ย่าน 0–10 V      อ่านค่าได้  =  6 V

                                 ย่าน 0–50 V      อ่านค่าได้  =  30 V

                                 ย่าน 0–250 V    อ่านค่าได้  =  150 V                                  ตอบ

       ตัวอย่างที่ 2.10      จากรูปที่ 2.20 โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง นำไปวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง

                                   เข็มชี้ชี้ค่าออกมาตามรูปจงอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ในทุกย่านการวัด

            วิธีอ่าน

                                 ย่าน 0–2.5 V         อ่านค่าได้     =    1.15 V

                                 ย่าน 0–10 V           อ่านค่าได้     =    4.3 V

                                 ย่าน 0–50 V           อ่านค่าได้     =    23 V

                                 ย่าน 0–250 V         อ่านค่าได้     =    115 V

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้