การทางพิเศษแห่งประเทศไทย คือ

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ครบรอบ 4 ทศวรรษ พัฒนาเครือข่ายระบบทางพิเศษ เชื่อมโยงระบบคมนาคมอย่างบูรณาการ บริหารงานด้วยความโปร่งใสตอกย้ำด้วยรางวัล Sustainability Disclosure Recognition องค์กรที่เปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนต่อสาธารณะ

            นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการกทพ. เปิดเผยว่า 48 ปี ก้าวสู้ปีที่ 49 กทพ. ได้มุ่งมั่นแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สอดคล้องตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงคมนาคม ที่มุ่งเน้นในการพัฒนาเครือข่ายระบบทางพิเศษให้เชื่อมโยงกันอย่างบูรณาการ ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชน

ปัจจุบันการทางพิเศษฯ ได้เปิดให้บริการทางพิเศษรวม 8 สายทาง รวมระยะทาง 224.60 กิโลเมตร ประกอบด้วย ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษอุดรรัถยา ทางพิเศษสายบางนา – อาจณรงค์ ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายศรีรัช – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งถือว่าเป็นระยะทางให้บริการที่น้อยและยังไม่ตอบสนองการเดินทางของประชาชนได้เท่าที่ควร ดังนั้นการเร่งขยายเส้นทางให้ครอบคลุมมากขึ้นจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ กทพ. จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน

ปัจจุบัน กทพ. อยู่ระหว่างดำเนินโครงการก่อสร้างทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวน รอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ซึ่งจะเป็นโครงข่ายทางพิเศษที่เชื่อมโยงการเดินทางในแนวรัศมีระหว่างกรุงเทพมหานครกับพื้นที่ทางด้านตะวันตกของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงจากจังหวัดในภาคใต้ให้เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานครได้อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยอยู่ระหว่างการก่อสร้างโครงการ ซึ่งคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2565

นอกจากนี้ กทพ. ยังอยู่ระหว่างดำเนินโครงการพัฒนาเส้นทางเชื่อมต่อท่าเรือกรุงเทพและทางพิเศษสายบางนา – อาจณรงค์ (S1) กับการท่าเรือแห่งประเทศไทย ขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน และผลกระทบสิ่งแวดล้อม หลังจากสรุปผลการศึกษาความเหมาะสม คาดว่าจะใช้เวลาออกแบบรายละเอียดประมาณ 1 ปี ก่อสร้าง 2 ปี และจะเริ่มก่อสร้างได้ในปี 2566 มีวงเงินลงทุน เบื้องต้นประมาณ 1,600 ล้านบาท

ผู้ว่าการกทพ. เปิดเผยเพิ่มเติมว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ พร้อมอำนวยความสะดวกรวดเร็วให้กับผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางเรือที่เป็นอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศรวมถึงโครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 เชื่อมไปยังถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันออก ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำรายงานขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)

กทพ.มุ่งมั่นแก้ไขปัญหาจราจร รวมถึงลดการสูญเสียพลังงานและน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างต่อเนื่อง โดยมีแผนจะนำระบบกล้องอ่านป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ ที่เชื่อมต่อข้อมูลกับกรมการขนส่งทางบกมาใช้ร่วมกับระบบชำระเงินด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และบูรณาการทำงาน ในรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน (Single Platform System) โดยจะนำร่องใช้งานระบบ M-Flow ในโครงการทางพิเศษฉลองรัชและด่านฯ ที่เป็นจุดรองรับการจราจรทิศทางขาเข้าเมือง ที่มีปริมาณจราจรหนาแน่น อาทิ ด่านฯ บางนา กม.6 ขาเข้า ด่านฯ ดาวคะนอง ทั้งนี้ คาดว่าจะเปิดให้บริการระบบ M-Flow ในระยะแรกที่ด่านฯ จตุโชติ ด่านฯ สุขาภิบาล 5-1 และด่านฯ รามอินทรา ของทางพิเศษฉลองรัชในราวเดือนกรกฎาคม 2564 รวมถึงนำไปใช้กับทางพิเศษที่การทางพิเศษฯ กำลังดำเนินการก่อสร้างคือ โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก และโครงการทางพิเศษฉลองรัช – นครนายก -สระบุรี

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

From Wikipedia, the free encyclopedia

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย หรือ กทพ. (อังกฤษ: Expressway Authority of Thailand ย่อว่า EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้าง หรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีการใดๆ ตลอดจนบำรุงรักษาทางพิเศษและดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางพิเศษ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Quick facts: ภาพรวมหน่วยงาน, ก่อตั้ง, สำนักงานใหญ่, งบประม... การทางพิเศษแห่งประเทศไทยExpressway Authority of Thailandภาพรวมหน่วยงานก่อตั้ง27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (50 ปี)สำนักงานใหญ่อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. 111 ถนนริมคลองบางกะปิ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310งบประมาณประจำปี550 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)ฝ่ายบริหารหน่วยงาน

  • สุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข, ผู้ว่าการ
  • ดำเกิง ปานขำ, รองผู้ว่าการ
  • ทศานุช ธรรมโชติ, รองผู้ว่าการ
  • ชาตรี ตันศิริ, รองผู้ว่าการ
  • กาจผจญ อุดมธรรมภักดี, รองผู้ว่าการ
  • ชินนาฏ คุณเจริญ, รองผู้ว่าการ

เว็บไซต์www.exat.co.thแผนที่Close

HomeAbout usFAQPressSite mapTerms of servicePrivacy policy

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย หรือ กทพ. (อังกฤษ: Expressway Authority of Thailand ย่อว่า EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้าง หรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีการใดๆ ตลอดจนบำรุงรักษาทางพิเศษและดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางพิเศษ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Quick facts: ภาพรวมหน่วยงาน, ก่อตั้ง, สำนักงานใหญ่, งบประม... การทางพิเศษแห่งประเทศไทยExpressway Authority of Thailandภาพรวมหน่วยงานก่อตั้ง27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (50 ปี)สำนักงานใหญ่อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. 111 ถนนริมคลองบางกะปิ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310งบประมาณประจำปี550 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)ฝ่ายบริหารหน่วยงาน

  • สุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข, ผู้ว่าการ
  • ดำเกิง ปานขำ, รองผู้ว่าการ
  • ทศานุช ธรรมโชติ, รองผู้ว่าการ
  • ชาตรี ตันศิริ, รองผู้ว่าการ
  • กาจผจญ อุดมธรรมภักดี, รองผู้ว่าการ
  • ชินนาฏ คุณเจริญ, รองผู้ว่าการ

เว็บไซต์www.exat.co.thแผนที่Close

ทางพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีที่ใดบ้าง

สายทางพิเศษ.
ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1).
ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ 2).
ทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายอาจณรงค์-รามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร).
ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา-ชลบุรี).
ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด).
ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ (ระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายใต้ ตอน S1).

กทพ คืออะไร

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และต่อมาได้มีการปรับปรุงกฎหมาย โดยการประกาศใช้บังคับพระราช-บัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๑ ปัจจุบันนี้ กทพ. มีอำนาจ ...

ทางด่วนนี้เป็นของใคร

ทางด่วน (Expressway) คือ เส้นทางพิเศษยกระดับในกรุงเทพฯ ซึ่งบริหารจัดการโดย “การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)” ที่เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม

ทางพิเศษ คือทางอะไร

ทางด่วน , ทางพิเศษ = ทางที่ดูแลโดย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ทางด่วน เป็นภาษาปาก // ทางพิเศษ เป็นภาษาราชการ) ปัจจุบันมี 6 สาย 1. ทางด่วนเฉลิมมหานคร หรือ ทางด่วนขั้นที่ 1 (ดินแดง-ท่าเรือ , บางนา-ท่าเรือ , ดาวคะนอง-ท่าเรือ) 2. ทางด่วนศรีรัช หรือ ทางด่วนขั้นที่ 2 (บางโคล่-แจ้งวัฒนะ , พญาไท-ศรีนครินทร์)

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้