เวลามาตรฐานประเทศไทย อยู่ที่

เวลาท้องถิ่น ( Local time )

เวลาท้องถิ่น คือเวลาที่กำหนดขึ้นในพื้นที่ต่างๆ ( เมือง จังหวัด หรือตำบล ) โดยถือตามลองติจูดหรือเส้นเมริเดียนที่ลากผานพื้นที่ของท้องถิ่นแห่งนั้น ท้องถิ่นแต่ละแห่งตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนต่างกัน ทำให้มีเวลาท้องถิ่นแตกต่างกัน โดยสรุป เป็นกฎว่าระยะลองติจูดห่างกัน 1 องศา มีเวลาต่างกัน 4 นาที ตัวอย่างเช่น

จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ที่ลองติจูด 105 องศาตะวันออก มีเวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลามาตรฐานกรีนิช 7 ชั่วโมง

กรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่ลองติจูด 100 องศาตะวันออก มีเวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลามาตรฐานกรีนิช 6 ชั่วโมง 40 นาที

พื้นที่ทางด้านตะวันออกมีเวลาเร็วกว่าพื้นที่ด้านตะวันตก ( ตะวันออกเห็นพระอาทิตย์ก่อน ) ดังนั้นจังหวัดอุบลราชธานีจึงมีเวลาท้องถิ่นเร็วกว่ากรุงเทพ ฯ 20 นาที ( 105 - 100 = 5 5x 4 = 20 )

 เวลาท้องถิ่นในประเทศไทยจึงเเตกต่างกันตามที่ตั้ง ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการปกครอง เเละความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ของประเทศไทย ทางราชการจึงประกาศให้ประเทศไทย ใช้เวลามาตรฐานประเทศไทยแทนเวลาท้องถิ่นซึ่งเร็วกว่ากรีนิช 7 ชั่วโมง


//sites.google.com/site/phumisatr110/wela-thxng-thin-local-time

 

เวลามาตรฐานไทย

From Wikipedia, the free encyclopedia

ประเทศไทยใช้เวลามาตรฐานโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัดแล้วเพิ่มไปอีก 7 ชั่วโมง เวลามาตรฐานไทยเป็นเวลาเดียวกับเวลามาตรฐานครัสโนยาสค์ (รัสเซีย) เวลามาตรฐานฮอฟด์ (มองโกเลีย) เวลามาตรฐานอินโดจีน (ลาว กัมพูชา เวียดนาม) เวลามาตรฐานอินโดนีเซียตะวันตก และเวลามาตรฐานเกาะคริสต์มาส (ออสเตรเลีย) ซึ่งประเทศไทยใช้เขตเวลาเดียวกันทั้งปีทั่วประเทศโดยไม่มีเวลาออมแสง

GMT เวลามาตรฐานสากล

 หลายท่านอาจจะเคยสงสัยว่าคำว่า GMT ที่ต่อหลังเวลามันคืออะไร ทำไมบางทีมี +7 บางที +8 ฯลฯ GMT ย่อมาจาก Greenwich Mean Time ซึ่งหมายถึงเวลาที่เมือง “กรีนิช” ซึ่งเป็นเขตการปกครองของกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ 

ดังนั้น การบอกเวลาที่มี GMT ต่อท้ายจะหมายถึง เวลาที่เร็วหรือช้ากว่าเวลาที่เมืองกรีนิชนั่นเอง ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยอยู่ที่ GMT+7 หมายถึง เวลาของประเทศไทยจะเร็วกว่าเวลาที่เมืองกรีนิช 7 ชั่วโมง สมมุติว่าที่กรีนิชเป็นเวลาเที่ยงคืนประเทศไทยจะเป็นเวลา 7 โมงเช้า เป็นต้น


GMT กับ AEC

ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีเขตเวลาที่แตกต่างกันอยู่หลายประเทศ ก่อนเดินทางไปติดต่อธุรกิจการงานก็ควรจะเช็คเวลาท้องถิ่นให้แน่นอนก่อน เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น โดยเวลาท้องถิ่นในกลุ่มประเทศ AEC มีดังนี้

     มาเลเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ เวลาอยู่ที่ GMT+8

     ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เวลาอยู่ที่ GMT+7

     เมียนมาร์ เวลาอยู่ที่ GMT+6.5

     ส่วน อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่กว้างมาก มีพื้นที่ทอดเป็นแนวยาวจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก รวมระยะทางถึง 5,300 กิโลเมตร ทำให้มีเวลาที่แตกต่างกันตั้งแต่ GMT+9 ถึง GMT+7 โดยทางตะวันออกสุดเป็น GMT+9 ส่วนทางตะวันตกเช่นที่ กรุงจาการ์ตา เป็น GMT+7 ซึ่งเวลาจะเท่ากับที่ประเทศไทย 

การแบ่งเส้นเวลาตามหลักภูมิศาสตร์

เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง ซีกหนึ่งของโลกจึงเป็นกลางคืนในขณะที่อีกซีกหนึ่งเป็นกลางวัน ในปี 1884 โดยความตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งหมด 25 ประเทศได้มีการกำหนดเขตแบ่งเวลากันขึ้น หากเราลากเส้นแบ่งที่กึ่งกลางโลกไปบรรจบกันเป็นวงกลม เส้นนี้จะเรียกว่า อีเควเตอร์ (Equator) ที่ประชุมได้แบ่งจากเส้นนี้ ออกไปอีก 24 เส้นจากทั้งหมด 360 องศารอบโลก นั่นหมายความว่า แต่ละเส้นจะห่างจากเส้นที่อยู่ติดกัน 15 องศา (360หาร24 = 15) โดยเริ่มนับเส้นแรกจากเส้นเวลามาตรฐานกรีนิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษแต่ละเส้นจากทั้งหมด 24 เส้น จะเป็นการแสดงความแตกต่างของเวลาหนึ่งชั่วโมง

ประเทศไทย จะอยู่ในราวเส้นที่ 105 องศาตะวันออก หากหารด้วยสิบห้าก็จะได้เส้นแบ่งเวลาออกมาเป็นเส้นที่ 7 นั่นหมายความว่า เวลาในประเทศไทย จะล้ำหน้าเวลาในอังกฤษอยู่ 7 ชั่วโมงในสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศใหญ่ จะมีการแบ่งเขตเวลาภายในประเทศออกเป็นสี่เขตด้วยกัน คือ ตะวันออก ภาคกลาง เทือกเขา และ แปซิฟิก (Eastern, Central, Mountain and Pacific) เช่น เวลา 7 p.m. เวลาตะวันออก จะเป็น 6 p.m. เวลาภาคกลาง เป็น 5 p.m.เวลาเทือกเขา และเป็นเวลา 4 p.m. เวลาแปซิฟิก

วันและเวลาของโลกปฏิสัมพันธ์กับเส้นลองจิจูด  โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 24 ชั่วโมง เป็นมุม 360 องศา เอา 24 ไปหาร 360 จะได้ว่าโลกหมุนไปได้ชั่วโมงละ 15 องศา / นาทีละ 15 ลิปดา / วินาทีละ 15 ฟิลิปดา ดังนั้นค่าลองจิจูด หรือเส้นเมอริเดียนจะทำให้เราคำนวณเวลาทั้ง  24 เขตของโลก  การแบ่งเวลาของโลกโดยแบ่งออกเป็น 24 เขต แต่ละเขตมีความกว้าง 15 องศาลองจิจูด หรือ เวลา 1 ชั่วโมง โดยเขตแรกมีเส้นเมอริเดียนแรก หรือเมอริเดียน 0 องศา ผ่านเมืองกรีนิชเป็นแกนกลาง เขตเวลาของโลกจะนับตามลองจิจูดใดก็ตาม ถ้านับไปทางตะวันออก จะเร็วกว่าทางตะวันตก และถ้านับไปทางตะวันตกจะช้ากว่าเวลาทางตะวันออก

ประเภทของเวลา

1.  เวลามาตรฐานสากล(Greennich Mean Time) เวลาที่ลองจิจูด 0 องศา / เวลามาตรฐานกรีนิช

2.  เวลามาตรฐาน(Standard time)โดยแต่ละประเทศจะกำหนดเวลาประเทศของตน ยึดหลักตามลองจิจูดหลักของเขตเวลาของโลกที่ผ่านประเทศของตน เช่น ประเทศไทยกำหนดเวลามาตรฐานตามเวลาที่ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ซึ่งเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากล 7 ชั่วโมงการนับเวลามาตรฐานของประเทศจะเท่ากันทั่วประเทศ แต่สำหรับประเทศที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ก็มีเวลามาตรหลายเวลาตามแต่ละเขตพื้นที่ เช่น อเมริกา รัสเซีย เป็นต้น

3.  เวลาท้องถิ่น (Local time)เวลาที่นับตามลองจิจูดที่ผ่านบริเวณนั้นจริงๆ เช่น จังหวัดอุบลราชธานีตั้งอยู่ที่ 105 องศาตะวันออก ซึ่งเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากลอยู่ 7 ชั่วโมง กรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่ลองจิจูดที่ 100 องศาตะวันออกจึงมีเวลาเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากลอยู่ 6 ชั่วโมง 40 นาที เวลาที่นับตามลองจิจูดที่ผ่านจริงนี้ เรียกว่า เวลาท้องถิ่นเส้นที่เกี่ยวข้องกับเวลาที่สำคัญเส้นแบ่งเขตวันสากล ( International Date Time) โดยกำหนดประมาณที่เส้นลองจิจูดที่ 180 เป็นเส้นแบ่งเขตวันสากลแต่มีการเลี่ยงให้เส้นเขตวันนี้ผ่านเฉพาะพื้นน้ำ เพื่อขจัดปัญหาการมี 2 วันบนเกาะเดียวกัน ดังนั้นเส้นเขตวันนี้จึงไม่เป็นเส้นตรงตามเส้นเมอริเดียน 180 ตลอดทั้งเส้น อีกอย่างถ้าข้ามเส้นเขตวันนี้ไปทางซีกโลกตะวันตกต้องนับวันลดลง 1 วัน และถ้าข้ามเส้นเขตวันนี้ไปทางซีกโลกตะวันออกจะต้องนับวันเพิ่มขึ้นอีก 1 วัน 

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้