แบบสังเกตการสอนของครูพี่เลี้ยง doc

ก า รปฏิ บั ติ ก ารวิชาชีพ
ร ะ ห ว่างเ รีย น 1

ภ า ค เ รี ย น ท่ี 1 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

นางสาวศศธิ ร ช้างปา่ ตน้

Sasathon Changpaton

รหัสนกั ศึกษา 61115200208
สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี

โรงเรยี นบา้ นเขาสมโภชน์

อาเภอชยั บาดาล จงั หวดั ลพบุรี
สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ เี ขต 2

คำนำ

เอกสารฉบับนี้เป็นคู่มือประกอบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจวิชาชีพครู ซ่ึง
ได้แก่ กระบวนการการเรียนการสอน หลักสูตร ระบบการบริหารงานการศึกษาในโรงเรียนและได้
ทำงานร่วมกับผู้อื่น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักศึกษาได้เป็น
อย่างดี

การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เป็นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเพื่อเตรียมความ
พร้อมก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาโดยการสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน พฤติกรรมการ
เรียนรู้ของนักเรียน งานในหน้าที่ครูผู้สอน ครูประจำชั้น การศึกษางานด้านการบริหารและบริการ
สภาพชมุ ชนและความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกบั ชมุ ชน

โดยเอกสารฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดการบันทึกงานที่ต้องฝึกปฏิบัติต่าง ๆ ให้
สอดคล้องกับบริบทสถานการณ์ปัจจุบันในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา-2019 ซึ่ง
ทำใหน้ ักษาไมส่ ามารถฝึกปฏิบตั ิฯ ในสถานศกึ ษาได้ และใหป้ รบั มาใชก้ ารฝึกปฏิบตั ผิ ่านระบบออนไลน์
เพอ่ื ทดแทนกระบวนการต่าง ๆ

หวังว่าเอกสารฉบับนี้คงให้ประโยชน์ในการเรียนรู้และเข้าใจในวิชาชีพครูก่อนที่จะออกฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชีพครใู นขนั้ ตอ่ ไป

ฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้

การฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชีพระหว่างเรียน 1 ................................................................................... 1
จุดประสงคข์ องการฝึกปฏิบัติวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1............................................................ 2
ขอ้ เสนอแนะในการฝกึ และการใชเ้ อกสาร ........................................................................... 3
การประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชีพระหว่างเรยี น 1............................................................ 4
เกณฑ์ในการประเมินผลการฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 1.............................................. 5
ปว.1-1 แบบบนั ทึกการสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรยี น ....................................................... 6
ปว.1-2 แบบบันทกึ การปฏิบตั ิงาน ................................. .................................................... 12
ปว.1-3 แบบสมั ภาษณ์ครูพ่ีเลย้ี ง........................................................................................... 16
ปว.1-4 แผนการจดั การเรียนรู้.............................................................................................. 17
ปว.1-5 การวิจัยในชน้ั เรยี น…................................................................................................ 31
ปว.1-6 แบบประเมินการปฏิบตั ิตนของนักศึกษา ................................................................ 44
ปว.1-7 แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้......................................................................... 45
ปว.1-8 แบบประเมนิ ดา้ นคุณภาพการจัดการเรยี นการสอน................................................. 48
ภาคผนวก ............................................................................................................................ 66
67
- ภาพการฝึกปฏบิ ัติผา่ นระบบออนไลน์............................................................................ 73
- แบบลงเวลาปฏิบตั ิงานนกั ศกึ ษา.....................................................................................

1

การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหว่างเรยี น 1

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี เป็นมหาวทิ ยาลยั ทที่ ำหนา้ ท่ผี ลิตครใู ห้กบั โรงเรยี นประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาในท้องถิ่นเขตรับผิดชอบ 3 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สระบุรี และสิงห์บุรี การผลิตครู
ใหม้ ีคณุ ภาพสามารถปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ีครูได้เป็นอยา่ งดี และมจี ิตวญิ ญาณของความเป็นครูขึ้นอยู่กับ
กระบวนการผลิต ซึ่งได้แก่ กระบวนการเรียนการสอนหลักสูตร การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
และกระบวนการประเมนิ ผล

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นกิจกรรมที่เป็นหัวใจสำคัญของการผลิตครู ในช่วงที่ฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู นักศึกษาจะมีโอกาสนำความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพครู และวิชาเฉพาะที่
ศึกษาในมหาวิทยาลัยไปฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการบริหารงาน
การศึกษาในโรงเรียนและได้ทำงาน ร่วมกับบุคคลอื่นกิจกรรมเหลานีช้ ่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเอง
ให้มีทักษะในวิชาชีพ จนสามารถปฏิบัติหน้าที่ครู ได้อย่างมั่นใจและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ งานวิจัย
หลายเรื่องทั้งในและต่างประเทศยืนยันตรงกันว่านักศึกษาที่ประสบความสำเร็จในการฝึ ก
ประสบการณว์ ชิ าชพี ครจู ะมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชพี ครูและแนวโนม้ จะเป็นครทู ดี่ ีในอนาคต

จากแผนหลักการปฏิรูปการฝึกหัดครู พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ความสำคัญ
กับการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพราะเป็นกลไกสำคัญยิ่งในการสร้างบัณฑิตครูที่ดี มีเจตคติที่ดี
ต่อวิชาชีพครู สถาบันฝึกหัดครูควรจะต้องปรับปรุงและพัฒนางานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้
เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้งานครู จากครูที่เป็นแบบอย่างที่มีในโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ควรจะ
พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการฝึกหัดครูให้เปิดกว้างสู่ชุมชนขยายความร่วมมือระหว่าง
มหาวิทยาลัย ขยายแหล่งเรียนรู้ แหล่งวิทยากร และแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอย่าง
กวา้ งขวาง

2

จดุ ประสงค์ของการฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพระหวา่ งเรียน 1

1. เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษามีความพรอ้ มกอ่ นออกปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียนทั้งด้านการเรียนการสอน ด้าน
สถานท่แี ละด้านกิจกรรม
3. เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูใน
สถานศกึ ษา
4. เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาได้ศกึ ษาและฝึกปฏบิ ัติการวางแผนการศึกษาผเู้ รยี นโดยการสงั เกต
5. เพ่อื ให้นกั ศึกษาได้สัมภาษณ์งานในหน้าที่ของครูผู้สอน งานในหน้าท่ีของครปู ระจำชั้น
6. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาได้ศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ วเิ คราะหล์ กั ษณะความแตกต่างและ
พฤตกิ รรมของผ้เู รยี น งานบรหิ ารและบรกิ ารของโรงเรียน
7. เพ่อื ใหน้ ักศึกษาไดท้ ดลองเขยี นแผนการจัดการเรียนรูว้ ิชาเอก การฝกึ เป็นผู้ช่วยครูดา้ นการ
จัดการเรียนรหู้ รือสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้ งานธุรการช้นั เรยี น
8. เพื่อให้นักศึกษาได้ออกแบบการวิจัยในชั้นเรียนตามบริบทของสาขาวิชาที่ศึกษา เพ่ือ
เตรยี มความพร้อมในการนำไปศกึ ษาวิจัยจริงเม่ือสามารถฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ในสถานศกึ ษาไดต้ ามปกติ
9. เพ่ือให้นกั ศึกษาได้ทำการทดลองสอนในสถานการณ์จำลองผ่านระบบออนไลน์ และมีครูพ่ี
เล้ยี งใหค้ ำแนะนำเพอื่ ปรบั ปรุงพัฒนาการสอนของนักศึกษา เพ่ือเตรยี มความพร้อมก่อนไปทำการสอน
จรงิ ในสถานศึกษา

3

ข้อเสนอแนะในการฝกึ และการใชเ้ อกสาร

การประกอบวิชาชีพให้เกิดประสิทธิผล ไม่เพียงแต่จะเรียนรู้ในภาคทฤษฎีความรอบรู้ในด้าน
วชิ าการเทา่ นน้ั ทีส่ ำคัญย่งิ กว่าอ่ืนใดคอื การฝึกภาคปฏบิ ตั ิอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ครูเป็นผู้รับผิดชอบ “ชีวิต” ของมนุษย์ เช่นเดียวกับแพทย์มี
หน้าที่รักษาโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ แต่ครูนอกจากให้ชีวิตเหล่านั้นมีความรู้ สามารถ
อยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข มีคุณธรรม เป็นพลเมืองดีของชาติแล้วยังต้องพัฒนาให้เขาเหล่านั้นมี
คณุ ภาพชวี ิตด้วย

นักศึกษาแพทย์ทุกคนต้องฝึกในโรงพยาบาลเปน็ ระยะๆ อย่างต่อเนื่องฉนั ใดนักศึกษาครยู ่อม
ฝกึ ในโรงเรียนในสถานการณจ์ ริงฉนั นัน้ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครตู ามหลักสตู รนบั เปน็ โอกาสดีท่ี
ไดเ้ สรมิ สร้างคณุ ภาพในวิชาชพี ของตน

ข้อเสนอแนะต่อไปนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและการพัฒนากระบวนการฝึกปฏิบัติ
วชิ าชีพระหว่างเรยี น และการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาอยา่ งย่ิง คอื

1. ศึกษาเอกสารโดยตลอดทำความเขา้ ใจและปฏบิ ัติตามข้ันตอนของส่ิงทีต่ ้องจัดทำตามแบบ
รายงาน

2. เข้าปฐมนเิ ทศชีแ้ จงการดำเนินงาน และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทก่ี ำหนดมอบหมายไว้
3. ปฏิบตั ิงานเปน็ ขน้ั ตอนตามกำหนดการ
4. บนั ทกึ ลงในแบบฟอรม์ ตา่ งๆ ตามลำดบั อยา่ งครบถว้ น
5. ให้ผู้รับผิดชอบลงชือ่ ในแบบบันทึกแตล่ ะแบบตามลำดับ (เป็นลายเซ็นตอ์ ิเล็กทรอนิกส์ได้
แตต่ อ้ งมภาพประกอบการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ กบั ครพู ีเ่ ลยี้ งประกอบในภาคผนวกด้วย)
6. ให้ผู้รับผิดชอบประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน เมื่อฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ระหว่างเรยี นและบนั ทกึ การปฏบิ ัติงานครบถ้วนตามกำหนด
7. หลงั จากโรงเรียนประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหวา่ งเรยี นโดยครูพ่เี ลี้ยงแล้ว ฝ่ายฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูและอาจารย์ผู้สอนจะประเมินผลครั้งสุดท้ายหลังจากครบกำหนดเวลาการ
ปฏบิ ัติงานวชิ าชพี ครู

4

การประเมนิ ผลการฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชีพระหว่างเรียน 1

การประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ประเมินตามรายวิชาที่ฝึกทุกปีการศึกษา
นักศึกษาต้องผ่านการฝึกเป็นขั้นตอนตามลำดับ หากไม่ผ่านในขั้นตอนใดต้องซ่อมเสริมให้ “ผ่าน” จึง
ฝึกในขั้นต่อไปได้

การประเมินผลการปฏิบัติงานวิชาชีพครู เป็นการประเมินผลที่ครอบคลุมทั้งคุณลักษณะ
ความเป็นครแู ละเทคนคิ วธิ ี โดยมีผูป้ ระเมินทงั้ ฝ่ายมหาวิทยาลยั และโรงเรยี น

ในการประเมินผลการฝึกประสบการณ์ขั้นศึกษาสังเกตและมีส่วนร่วม นับตั้งแต่ปีการศึกษา
2542 เป็นต้นไป จะเปลี่ยนระบบการประเมินผลจาก ผ่านดีเยี่ยม, ผ่าน, ไม่ผ่าน เป็นระบบการ
ประเมินแบบใหเ้ กรดคือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ E

ประเภทของแบบประเมิน
แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน หรือ ปว. มีทั้งหมด 8 ชุด แบ่งเป็น 2

ประเภท คือ
1. สำหรบั นกั ศึกษา ปว.1-1 ถงึ ปว.1-5 โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
ปว.1-1 แบบบนั ทกึ การสงั เกตสภาพท่ัวไปของโรงเรียน
ปว.1-2 แบบบันทึกการปฏิบตั ิงาน
ปว.1-3 แบบสมั ภาษณ์การจัดการเรยี นรู้
ปว.1-4 แผนการจัดการเรียนรู้ 3 แผน
ปว.1-5 โครงรา่ งการวจิ ยั ในช้ันเรยี น
นกั ศกึ ษามหี นา้ ทบี่ ันทึกผลการศกึ ษาสงั เกตใหถ้ ูกต้องตามความเป็นจริง หลังจากนั้น

ให้ครูพี่เลย้ี งและอาจารย์นิเทศกล์ งช่ือรบั รอง
2. สำหรับครพู เี่ ลย้ี งและอาจารยผ์ สู้ อน ปว.1-6 ถงึ ปว.1-8 โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี
ปว.1-6 แบบประเมินการปฏบิ ตั ติ นของนักศึกษา (โดยครพู เ่ี ล้ียง)
ปว.1-7 แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ (โดยครูพ่ีเล้ยี ง)
ปว.1-8 แบบประเมนิ ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน (โดยครูพ่ีเลี้ยง)
ครูพีเ่ ล้ยี งทำการประเมนิ ตามแบบฟอร์มแล้วสง่ ให้กบั นกั ศกึ ษาเพ่ือทำการรวบรวมใส่

ในเล่มแบบบันทกึ การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรยี น 1

5

เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหว่างเรียน 1

1. คะแนน ปว.1-6 ถึง ปว.1-8 ซึ่งได้รับการประเมินจากครูพี่เลี้ยงประจำโรงเรียนหน่วยฝึก

ประสบการณ์วิชาชพี ครู

2. คะแนนจากการประเมินของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ซ่ึง

ประกอบด้วย คะแนนจากแบบบันทึกการปฏิบัติงานของนกั ศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ งานวิจัยใน

ชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การนำเสนอ บุคลิกภาพ และการแต่งกาย การใช้วาจา กิริยา

ทา่ ทาง และความรับผดิ ชอบ

3. แนวทางการใหค้ ะแนนรายวชิ าการฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 1 กำหนดเกณฑก์ ารให้

คะแนน ดงั น้ี

3.1 อาจารยผ์ ้สู อน รวม 60 คะแนน

3.1.1 แบบบนั ทกึ ปฏบิ ตั ิงานของนกั ศกึ ษาในภาพรวม 30 คะแนน

3.1.2 โครงร่างงานวิจยั ในช้ันเรยี น 10 คะแนน

3.1.3 การมีส่วนร่วมในการจดั การเรยี นการสอน 10 คะแนน

3.1.4 พฤตกิ รรมการเรยี นของนักศกึ ษา 10 คะแนน

3.2 ครูพเ่ี ลย้ี ง รวม 40 คะแนน

3.2.1 แบบประเมินการปฏิบตั ิตนของนกั ศึกษา 10 คะแนน

3.2.2 แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ 10 คะแนน

3.2.3 แบบประเมินการจัดการเรยี นรู้ 20 คะแนน

รวมท้ังสนิ้ 100 คะแนน

4. นำคะแนนจากขอ้ 1 และ 2 มารวมกนั แล้วประเมนิ เป็นเกรดโดยมเี กณฑ์ ดังนี้

คิดจากคะแนนเตม็ 100 คะแนน

คะแนน 90 – 100 ไดร้ ะดบั A

คะแนน 85 – 89 ได้ระดบั B+

คะแนน 80 – 84 ได้ระดับ B

คะแนน 75 – 79 ไดร้ ะดับ C+

คะแนน 70 – 74 ได้ระดับ C

คะแนน 65 – 69 ไดร้ ะดบั D+

คะแนน 60 – 64 ไดร้ ะดับ D

คะแนน 0 – 59 ได้ระดับ E

6

ปว.1-1

แบบบันทึกการสงั เกตสภาพท่ัวไปของโรงเรียน

คำชีแ้ จง ใหน้ กั ศกึ ษาบนั ทึกข้อมูลการศึกษาและสังเกตสภาพท่ัวไปตามความเป็นจริงของสถานศึกษา
ลงในชอ่ งว่างตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนด

1. โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลพบุรี เขต 2 ที่ตั้ง เลขท่ี 15/1 หมู่ที่ 5 ตำบลบัวชุม อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี รหัสไปรษณีย์
15130 โทรศพั ท์ 0895836686
2. ปรชั ญาของโรงเรียน/วสิ ัยทศั นข์ องโรงเรยี น

ปรชั ญาของโรงเรยี น : ปัญญา โลกสั ม̣ งิ ปชั โชโต (ปัญญาเป็นแสงสวา่ งในโลก)
วิสยั ทศั นข์ องโรงเรยี น : โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์ มงุ่ พัฒนาผู้เรยี น ให้มีคณุ ภาพตาม
มาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานความเป็นไทย
3. ชอ่ื ผู้บริหารโรงเรยี น สิบเอกเชาวลิต มงั กรทอง
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น

ฝา่ ยวชิ าการ นางสาวปียภทั ร สวุ รรณสงิ ห์
ฝ่ายบริหารบคุ คล นางสาวนนั ทิญา กาลเขว้า
ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป นายบญุ ชนะ สตั ตะบุษย์
ฝา่ ยงบประมาณ นายรงุ่ กิจ สวนจนั ทร์
ฝ่ายธรุ การ นางสาวพัทธนนั ท์ กรวยสวัสดิ์
4. บุคลากร
4.1 ครอู าจารย์

ระดบั การศกึ ษา จำนวน รวม
ชาย หญงิ
ปรญิ ญาเอก -- -
ปริญญาโท 12 3
ปริญญาตรี 3 10 13
ป.กศ.สูงหรอื เทียบเทา่ -- -
ครูอัตราจ้าง -- -
ธรุ การ -1 1
อ่นื ๆ 12 3
รวม 5 15 20

4.2 คนงาน มีทง้ั หมด 2 คน เปน็ หญงิ 1 คน เป็นชาย 1 คน
4.3 นกั เรียน มที ั้งหมด 248 คน เปน็ หญงิ 108 คน เป็นชาย 140 คน

7

แยกตามลำดับขั้นต่าง ๆ ไดด้ ังน้ี จำนวนหอ้ ง จำนวนนักเรยี น
หญงิ ชาย รวม
ระดับช้นั -
1 ---
1. อนุบาล 1 1 5 11 16
2. อนุบาล 2 1 7 7 14
3. อนบุ าล 3 1 6 11 17
4. ประถมศึกษาปที ่ี 1 1 10 14 24
5. ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 1 6 13 19
6. ประถมศึกษาปีท่ี 3 1 9 12 21
7. ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 7 16 23
8. ประถมศึกษาปที ่ี 5 1 13 10 23
9. ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1 16 15 31
10. มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 1 13 11 24
11. มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 11 16 20 36
12. มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 108 140 248
รวมรวมท้ังส้ิน

สรปุ อตั ราส่วนระหวา่ งจำนวนครูอาจารย์ต่อจำนวนนักเรยี น โดยประมาณ คือ
ครูอาจารย์ 1 คน ต่อนักเรียน 16 คน

5. อาคารสถานท่ี
5.1 ห้องเรยี น มีทั้งหมด 17 ห้อง
5.2 ห้องพกั ครอู าจารย์ มที ั้งหมด 1 ห้อง
5.3 ห้องส่งเสริมวิชาการ มีทั้งหมด 6 ห้อง คือ ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องเรียน

ภาษาต่างประเทศ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี ห้องนาฏศิลป์
6. สภาพแวดลอ้ ม

6.1 สถานท่ีสำคญั ท่อี ยูใ่ กล้โรงเรยี น ไดแ้ ก่
- วดั เขาสมโภชน์
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบา้ นเขาสมโภชน์

6.2 สถานที่ใกลเ้ คียงโรงเรียนท่เี ป็นแหลง่ วิทยาการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอน
- ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็

7. สภาพของนกั เรยี น
7.1 สภาพครอบครวั (อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ)
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรและรับจ้าง ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดย

เฉลี่ยต่อปปี ระมาณ 50,000 - 60,000 บาท

8

7.2 พฤติกรรมนักเรยี น
นักเรียนส่วนใหญ่เข้าโรงเรียนตามเวลา มีบางส่วนที่มาสาย นักเรียนปฏิบัติตนถูกต้อง

ตามกฎระเบียบของโรงเรียน มสี ว่ นนอ้ ยที่ปฏบิ ตั ติ นไมเ่ รยี บรอ้ ย
8. ภาระหนา้ ที่ของครูผสู้ อน

8.1 ครูประจำชน้ั
1. ตดิ ตามผลการเรยี นจากครปู ระจำวชิ าเพ่ือแก้ไขปรับปรุงเป็นรายบุคคล
2. สำรวจพฤติกรรมของนักเรยี นวา่ ใครปฏบิ ตั ิตนไมถ่ ูกตอ้ งตามกฎระเบียบของโรงเรยี น
3. ตดิ ตามผลการสอบแกต้ วั (0) ร. มส. ให้เสรจ็ ส้ินตามระยะเวลาท่โี รงเรยี นกำหนด
4. คอยดูแล ช่วยเหลือ ให้คำปรกึ ษากับนกั เรยี น

8.2 งานอ่นื ๆ
1. งานวัดผล
2. งานกิจการนกั เรยี น
3. งานธรุ การ
4. งานวชิ าการ

9. แผนผังแสดงบริเวณและทีต่ ้ังของโรงเรียน

10. ประวตั ิโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์ มีเนื้อทท่ี ั้งหมด 9 ไร่ 3 งาน 92 ตารางวา สังกัดกระทรวงศึกษา-

ธกิ าร เร่มิ เปิดการเรียนการสอนคร้ังแรก เมอ่ื ปีการศึกษา 2514 โดยเปน็ สาขาของโรงเรียนบ้านซับเค้า
แมว และได้อาศัยศาลาการเปรียญ วัดสามัคคีธรรม (ปัจจุบันคือวัดเขาสมโภชน์) เป็นสถานที่เรียน
หนงั สอื ของนกั เรียน โดยเรยี งลำดับความสำคัญ ดงั นี้

ปกี ารศึกษา 2514 ไดแ้ ยกออกจากสาขาโรงเรียนบา้ นซบั เค้าแมว เปิดการเรียนการสอนอย่าง
เปน็ ทางการโดยไดร้ ับอนุญาตจากสำนักงานการประถมศึกษา อำเภอชัยบาดาล (สปอ.) โดยได้ส่งนาย

9

เสถียร คำโตนด วุฒิ พ.ม. เป็นผู้บริหารตำแหน่งครูใหญ่เป็นคนแรก เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 4

ปีการศึกษา 2518 ได้ย้ายมาสร้างใหม่ท่ีสามแยกวัดเขาสมโภชน์ (ปัจจุบันส่ีแยก) และด้วย
ความร่วมมือของชาวบ้านโดยการนำของพ่อกล แก้วจันทึก ได้ประสานงานขอรับบริจาคที่ดิน เพ่ือ
สร้างโรงเรียนจากผู้ใจบุญ โดยเริ่มแรกได้ก่อสร้างอาคารเรียนไม้ 1 หลัง ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 36
เมตร มีฝาผนังเพียงด้านทิศตะวันออก และด้านทิศใต้บางส่วน โดยไม่มีฝาผนังแบ่งห้อง มีเพียง
กระดานดำแบ่งหอ้ งเท่านั้น ต่อมาได้งบประมาณสร้างบ้านพักครู 2 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 ชั้น ยกสูง
(ปจั จบุ ันถูกรือ้ แล้ว)

ปีการศกึ ษา 2524 ไดส้ รา้ งอาคารเรยี นแบบ สปช.103 / 26 จำนวน 1 หลัง เปน็ อาคาร
คอนกรีต 1 ชั้น ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 27 เมตร จำนวน 3 ห้องเรยี น

ปีการศกึ ษา 2526 ได้สรา้ งอาคารเรยี นแบบ สปช.103 / 26 จำนวน 1 หลงั เป็นอาคาร
คอนกรีต 1 ช้นั ขนาดกวา้ ง 8.50 เมตร ยาว 27 เมตร จำนวน 4 ห้องเรยี นและไดข้ ยายชน้ั เรยี น
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 จนถึงชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ตามลำดับ

ปกี ารศึกษา 2529 ไดส้ ร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.202 / 26 จำนวน 1 หลัง เปน็
อาคารคอนกรตี 1 ช้ัน ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร

ปกี ารศกึ ษา 2536 ไดข้ ออนุญาตเปิดสอนระดับชัน้ อนุบาล 1 และอนบุ าล 2 และไดจ้ ัดตง้ั โรง
อาหารโดยใช้อาคารหลังเกา่ ไมแ้ ละปรบั ปรุงเปน็ โรงอาหารแบบปัจจบุ นั

ปีการศึกษา 2550 ได้เปดิ การเรยี นการสอนเดก็ กอ่ นวยั เรียน (อนบุ าล 3 ขวบ) โดยเปน็ สาขา
ของศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบวั ชมุ โรงเรียนบ้านซับเคา้ แมว สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบัวชมุ ต่อมาได้
ขอแยกจากโรงเรียนบ้านซับเคา้ แมวมาดำเนินการเอง โดยสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบวั ชมุ
เหมือนเดมิ เร่ิมแรกมีนักเรียนจำนวน 22 คน

ปีการศกึ ษา 2556 ไดส้ ร้างอาคารเรยี นแบบ สปช.105/29 (อาคารอญั ชลิตาร่วมใจ) จำนวน
1 หลงั เปน็ อาคารคอนกรตี 2 ชน้ั ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 36 เมตร จำนวน 4 ห้องเรียน

ปีการศึกษา 2559 ไดร้ บั อนุญาตใหเ้ ปดิ ทำการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
เปน็ ตน้ มา

ปีการศกึ ษา 2561 ไดส้ รา้ งอาคารเรยี นแบบ สปช. 105/29 (อาคารวฒุ ิญาณ) จำนวน 1 หลัง
เป็นอาคารคอนกรีต 2 ช้ัน ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 36 เมตร จำนวน 8 หอ้ งเรยี น

ปีการศกึ ษา 2561 ไดส้ รา้ งอาคารโดม (อาคารอัญชลิตา) จำนวน 1 หลงั
11. ข้อมลู โรงเรยี นดเี ดน่

ได้รับรางวัลพัฒนาองค์การให้พร้อมบริการ “Resort Office” คุณภาพระดับ 3 การ
ขบั เคล่ือนนโยบายกลยุทธ์ ท่ี 1 จดุ เน้นท่ี 1 สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 2

ได้รับรางวัลพัฒนาองค์การให้พร้อมบริการ “E-Office” คุณภาพระดับ 3 การขับเคลื่อน
นโยบายกลยุทธ์ที่ 1 จุดเน้นท่ี 2 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2

ได้รบั รางวัลพฒั นาองค์การใหพ้ ร้อมบรกิ าร “เครือข่าย/องคก์ าร/หนว่ ยงานสร้างสรรค์
โรงเรียน” คุณภาพระดับ 3 การขับเคลื่อนนโยบายกลยุทธ์ที่ 1 จุดเน้นที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 3

10

ได้รบั รางวัลพฒั นาองคก์ ารให้พร้อมบรกิ าร “เพมิ่ โอกาสทางการศึกษา” คณุ ภาพระดับ 3
การขบั เคลอื่ นนโยบายกลยทุ ธ์ท่ี 1 จุดเนน้ ที่ 4 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลพบุรเี ขต 2

ไดร้ ับรางวัลพัฒนาวิชาการเพอ่ื การเรยี นรู้ “ICT เพื่อการเรยี นรู้” คณุ ภาพระดับ 3 การ
ขบั เคลอื่ นนโยบายกลยุทธท์ ี่ 2 จดุ เน้นที่ 5 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 2

ได้รบั รางวัลพัฒนาวิชาการเพอ่ื การเรยี นรู้ “พัฒนากระบวนการคดิ ” คณุ ภาพระดับ 3 การ
ขบั เคล่อื นนโยบายกลยทุ ธ์ท่ี 2 จดุ เนน้ ที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 2

ได้รับรางวัลพัฒนาวิชาการเพื่อการเรียนรู้ “พัฒนาการอ่าน การเขียน” คุณภาพระดับ 3
การขบั เคลอ่ื นนโยบายกลยุทธท์ ่ี 2 จดุ เน้นที่ 7 สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลพบรุ เี ขต 2

ได้รับรางวัลพัฒนาวิชาการเพื่อการเรียนรู้ “ห้องเรียนคุณภาพ” คุณภาพระดับ 3 การ
ขบั เคล่ือนนโยบายกลยทุ ธ์ท่ี 2 จดุ เน้นที่ 8 สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต 2

ได้รับรางวัลพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานสากล“สร้างจุดขายที่แตกต่าง”คุณภาพระดับ 3 การ
ขบั เคล่ือนนโยบายกลยุทธท์ ่ี 4 จุดเน้นที่ 14 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต 2

ไดร้ ับรางวลั พฒั นาคุณภาพสมู่ าตรฐานสากล“ดำรงคุณภาพอยา่ งยง่ั ยืน”คุณภาพระดบั 3 การ
ขบั เคลือ่ นนโยบายกลยทุ ธ์ท่ี 4 จุดเนน้ ที่ 15 สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 2

ได้รับรางวัลพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานสากล “การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(SBM)” คุณภาพระดับ 3 การขับเคลื่อนนโยบายกลยุทธ์ที่ 4 จุดเน้นที่ 16 สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต 2

11

โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศึกษาแผนภูมิการบริหารงานโรงเรยี นบา้ นเขาสมโภชน์

คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา ผอู้ านวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา
สิบเอกเชาวลติ มงั กรทอง ขัน้ พืน้ ฐาน

ก มงานบริหารวิชาการ ก มงานบริหารบคค ก มงานบริหารงบประมา นายบุญชนะ สัตตะบุษย์
นางสาวประภาภรณ์ ปาทาน
นางสาวปยี ภัทร สวุ รรณสงิ ห์ นางสาวนันทิญา กาลเขวา้ นายรงุ่ กจิ สวนจันทร์ นายพรี ะพล พนั ธุ
นายธนวฒั น์ พูลย่ิง นางสาวศิรพิ รรณ วงศเ์ สง่ยี ม นางสาววรรณชนก เฉลิมศาล
ว่าทร่ี ้อยตรีเวนิกา ไกรสาโรง นางสาวจตพุ ร พรานทนงค์ นางอาพรรตั น์ สวนจนั ทร์ 1) การพฒั นาระบเครอื ขา่ ย
นางสาวพชั รากร กรอบทอง นางสาวนิตยา กองรมั ย์ ข้อมลู สารสนเทศ
นางสาวอรวรรณ วฒุ ศิ ิลป์ 1) การวางแผนอัตรากาลงั นางมะรวิ รรณ กลุ ขนทด
2) การเล่อื นเงนิ เดือน นางสาวพีรธิดา คงเสือ 2) การวางแผนการศึกษา
1) การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา 3) การพัฒนาข้าราชการ 3) การดแู ลอาคารสถานท่ี
2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 1) การจัดตง้ั งบประมาณ
3) การวดั และประเมนิ ผลการ ครแู ละบุคลากรทาง 2) การจดั สรรงบประมาณ และสภาพแวดล้อม
การศึกษา 3) การระดมทรพั ยากรและ 4) การจดั ทาสามะโนนักเรยี น
เทยี บโอนผลการเรยี น 4) วินัยและการรกั ษาวนิ ัย 5) การรับนักเรียน
4) การประกันคุณภาพภายในและ 5) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ การลงทนุ เพอ่ื การศึกษา 6) การระดมทรัพยากรเพ่อื
4) การบริหารการเงนิ
มาตรฐานการศกึ ษา 5) การบรหิ ารบัญชี การศึกษา
5) การพฒั นาและใช้สอื่ และเทค- 6) การบริหารพัสดุและ 7) การทศั นศึกษาและ

โนโลยเี พื่อการศกึ ษา สินทรพั ย์ การศึกษาแหล่งเรยี นรู้
6) การพฒั นาและส่งเสริมใหม้ ี 8) การส่งเสรมิ งานกิจการ

แหล่งเรียนรู้ นักเรยี น
7) การวจิ ัยเพ่ือพฒั นา

คณุ ภาพการศกึ ษา

นักเรยี น

ลงช่อื ………………………………………….ผบู้ นั ทึก
(นางสาวศศธิ ร ช้างป่าตน้ )

วันที่……23……เดอื น……กนั ยายน….พ.ศ…2564…

ลงชื่อ………………………………………….ครูพเี่ ล้ียง
(ว่าที่ร้อยตรีหญิงเวนกิ า ไกรสำโรง)

วันท่ี……23……เดือน……กนั ยายน….พ.ศ…2564…

12

ปว.1-2

แบบบันทกึ การปฏิบตั ิงาน

คำชแ้ี จง ให้นกั ศึกษาบันทกึ ผลการปฏบิ ัติงานในสถานศึกษาผา่ นระบบออนไลนท์ ุกคร้ังที่ปฏิบตั ิงาน
ตามทีก่ ำหนดให้

วัน/เดือน/ปี รายการที่ปฏบิ ตั ิ/ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ ส่งิ ที่ได้รับจากการ
ปฏบิ ตั งิ านน้ี
3 กนั ยายน 2564 1. พบครพู เ่ี ล้ียง
ผ่านการโทรวีดโี อ messenger พูดคุยเกี่ยวกับชั่วโมงการสอนของครู
พเ่ี ลย้ี งและนดั ทดลองสอน

2. สัมภาษณก์ ารจัดการเรียนรขู้ อง ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้

ครูพ่ีเล้ยี ง รวมไปถึงปัญหาที่พบเจอและแนว

ทางการแกไ้ ข

3. พบนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ได้ทำความรู้จักและแนะนำตัวอย่าง
ผา่ นการโทรวีดีโอ messenger เป็นทางการแก่

นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

4. พบนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ได้ทำความรู้จักและแนะนำตัวอย่าง
ผ่านการโทรวดี ีโอ messenger เป็นทางการแก่

นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

5. พบนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ได้ทำความรู้จักและแนะนำตัวอย่าง
ผ่านการโทรวดี โี อ messenger เปน็ ทางการแก่

นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

8 กนั ยายน 2564 1. เข้าสงั เกตการณส์ อนครูพเ่ี ลี้ยง ได้รวู้ ธิ ีการจดั การนักเรียนใน
ผา่ นการโทรวีดโี อ messenger ห้องเรียนและเทคนิคการสอนของครู
เวลา 08:30-11.30 น. พเ่ี ล้ยี ง
เรื่อง การคูณเลขยกกำลงั
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1

2. เขา้ สังเกตการณ์สอนครูพี่เลย้ี ง ได้รู้วิธกี ารจดั การนักเรยี นใน
ผ่านการโทรวดี ีโอ messenger หอ้ งเรียนและเทคนคิ การสอน
เวลา 12:30-15.30 น. ของครูพีเ่ ล้ยี ง การจัดการกบั
เรือ่ ง สถติ ิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เหตุการณ์ทจี่ ะเกิดข้นึ

13

วัน/เดอื น/ปี รายการทีป่ ฏบิ ัต/ิ ทไี่ ด้เรียนรู้ สง่ิ ทีไ่ ดร้ บั จากการ
9 กันยายน 2564 ปฏบิ ตั ิงานนี้
เขา้ สงั เกตการณ์สอนครพู ่เี ล้ยี ง
ผ่านการโทรวดี โี อ messenger ได้รวู้ ่าเด็กแตล่ ะคนมวี ธิ ีการ
เวลา 08:30-11.30 น. จดั การทีแ่ ตกตา่ งกนั ไปและ
เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว เทคนิคในการสอนของครูพ่ี
แปร ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 เลี้ยงเปน็ อยา่ งไร

15 กนั ยายน 2564 1. ทดลองจัดการเรียนการสอน 2 1. ได้ประสบการณใ์ นการ
คาบ เรื่อง สมบัติอืน่ ๆ ของเลขยก จดั การเรยี นรู้ทต่ี นเองเป็น
กำลัง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ผู้สอนและเหน็ ถึงปญั หาและ
เวลา 09.30 ผ่านโปรแกรม zoom ขอ้ บกพร่อง
2. ไดร้ ้จู ักวิธีการแก้ไขปัญหาท่ี
เกดิ ขน้ึ

2. รบั ฟังข้อเสนอแนะจากครูพี่เลี้ยง ได้รับฟังคำแนะนำในการ

หลงั การทดลองสอนครั้งท่ี 1 จัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์

และรู้ข้อบกพรอ่ งในการ

จดั การเรียนการสอนในครง้ั น้ี

เพ่อื นำไปปรับปรุง

3. ทดลองจดั การเรยี นการสอน 2 1. ไดเ้ ห็นถงึ ปฏิกริ ิยาระหวา่ งการ
คาบ เร่ือง ความหมายของเลขยก เรียนการสอนของนักเรียน
กำลงั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 2. ได้รู้วา่ เดก็ แตล่ ะคนมีการเรียนรทู้ ี่
เวลา 12.30 ผ่านโปรแกรม zoom ตา่ งกนั สำหรบั เดก็ บางคนต้องให้
ความใส่ใจในกระบวนการเรยี นรู้เปน็
พิเศษเพ่ือให้ตวั เดก็ เกดิ ความเข้าในใจ
บทเรยี น

4. รับฟังข้อเสนอแนะจากครูพีเ่ ลย้ี ง ได้รับฟังคำแนะนำในการ

หลงั การทดลองสอนคร้ังที่ 2 จัดการเรยี นร้แู บบออนไลน์

16 กนั ยายน 2564 1. ทดลองจัดการเรยี นการสอน 2 ได้ประสบการณใ์ นการ
คาบ เรอ่ื ง การแกส้ มการกำลังสอง จัดการเรียนรู้ทีต่ นเองเปน็
ตัวแปรเดยี ว ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ผสู้ อนและเห็นถึงปญั หาและ
เวลา 12.30 ผา่ นโปรแกรม zoom ขอ้ บกพร่อง

14

วนั /เดือน/ปี รายการที่ปฏิบัติ/ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ ส่งิ ท่ีได้รับจากการ
ปฏิบตั งิ านนี้

2. รับฟงั ขอ้ เสนอแนะจากครูพ่ีเล้ียง ไดร้ บั ฟงั คำแนะนำในการ

หลงั การทดลองสอนครง้ั ที่ 3 จัดการเรียนรู้และข้อบกพร่องในการ

จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ เ พ ื ่ อ น ำ ไ ป ป ร ั บ ใ ช้

สำหรับการจดั การ
เรยี นรู้ในชั้นเรียนคร้งั ต่อไป

17 กนั ยายน 2564 ปรึกษาครูพีเ่ ล้ยี งเรื่องการทำเค้า ไดร้ บั ขอ้ มูลตา่ งๆ ในการ
โครงวจิ ัยในชน้ั เรยี น จัดการเรียนการสอนที่ผ่านมาของครู
พีเ่ ลยี้ งรวมไปถงึ ปัญหาอุปสรรคต่างๆ
ในการจดั การเรยี นการสอน

22 กันยายน 2564 1. เขา้ สงั เกตการณ์สอนครพู ี่เลยี้ ง ไดร้ ูว้ ธิ ีการจัดการนกั เรยี นใน
ผา่ นการโทรวีดีโอ messenger ห้องเรียนและเทคนิคการสอนของครู
เวลา 08:30-11.30 น. พี่เลี้ยงรวมถึงปัญหาในการเรียนสอน
เร่อื ง สถิติ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 สอนในรปู แบบออนไลน์

2. เขา้ สังเกตการณส์ อนครูพเ่ี ลีย้ ง ได้รวู้ ิธกี ารจัดการนักเรยี นในหอ้ ง
ผา่ นการโทรวีดีโอ messenger เรยี นและเทคนิคการสอนของครพู ่ี
เวลา 12:30-15.30 น. เลยี้ ง การจดั การกับเหตุการณท์ ี่
เรื่อง หารเลขยกกำลงั เกิดขน้ึ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

23 กันยายน 2564 เขา้ สงั เกตการณ์สอนครูพี่เลย้ี ง ได้รู้ถึงการจัดการในห้องเรียน และ

ผ่านการโทรวดี ีโอ messenger เทคนิคการจัดการเรียนการสอนของ

เวลา 08:30-11.30 น. ครูพ่เี ลีย้ ง

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว

แปร ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

เขา้ คมุ สอบเก็บคะแนน ได้รู้ถึงวิธกี ารจัดการในห้องสอบ

ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 รวมถึงวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่

เจอขณะทำการสอบ

24 กนั ยายน 2564 เข้าคมุ สอบเก็บคะแนน ได้รถู้ งึ วธิ ีการจัดการในหอ้ งสอบ

ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 รวมถึงวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่

เจอขณะทำการสอบ

15

วนั /เดอื น/ปี รายการทปี่ ฏบิ ตั ิ/ท่ไี ด้เรียนรู้ สง่ิ ที่ไดร้ ับจากการ
ปฏิบตั งิ านนี้
เขา้ คมุ สอบเก็บคะแนน
ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ได้ร้ถู งึ วิธกี ารจดั การในหอ้ งสอบ
รวมถึงวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าท่ี
เจอขณะทำการสอบ

ลงชือ่ ………………………………………..…………….ผูบ้ นั ทึก
(นางสาวศศธิ ร ชา้ งป่าตน้ )

ลงชอ่ื ………………………………………………………ครพู ่ีเลยี้ ง
(ว่าท่รี อ้ ยตรีหญิงเวนิกา ไกรสำโรง)

16

ปว.1-3

แบบสัมภาษณ์การจดั การเรียนรู้ (สัมภาษณค์ รูพ่เี ลยี้ ง)

ว่าทีร่ ้อยตรหี ญิงเวนกิ า ไกรสาโรง
โรงเรยี นบา้ นเขาสมโภชน์ อำเภอชยั บาดาล จังหวัดลพบรุ ี

คำช้แี จง ให้นักศกึ ษาสัมภาษณ์การจดั การเรยี นรูข้ องครูพ่ีเลย้ี งและบันทึกลงในช่องวา่ งท่ีกำหนด

1. ทา่ นสอนกีร่ ายวชิ า วิชาอะไรบา้ ง จำนวนกี่ชั่วโมงต่อสปั ดาห์
สอน 2 รายวิชา คอื รายวชิ าภาษาไทยและคณติ ศาสตร์
ท14101 ภาษาไทย 4 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์
ค21101 คณิตศาสตร์1 3 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์
ค22101 คณิตศาสตร์1 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ค23101 คณิตศาสตร์1 3 ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์
ค21201 คณติ ศาสตร์2 1 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์
ค22201 คณิตศาสตร์2 1 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์
ค23201 คณิตศาสตร์2 1 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์
รวมจำนวนท่ีสอน คือ 16 ชวั่ โมงต่อสัปดาห์

2. ปญั หาท่ีพบในรายวชิ าท่สี อน มอี ะไรบ้าง
1. นักเรียนบางห้องไมม่ ีพ้นื ฐานความร้ดู ้านคณิตศาสตร์ เช่นการบวกลบจำนวนเต็ม
2. นักเรียนจำสตู รคณู ไมค่ ่อยได้

3. ทา่ นไดด้ ำเนนิ การแกไ้ ขอยา่ งไร/มเี ทคนคิ ใดในการดำเนินการแก้ไข
1. ทบทวนความรพู้ น้ื ฐานก่อนเรียนทุกคร้ังและกล่าวนำให้นักเรียนคิดตามและตอบคำถาม
2. เมอ่ื มีเวลาวา่ งจากการสอนให้นักเรียนเลน่ เกมทอ่ งแมส่ ูตรคูณ

4. ท่านมีข้อเสนอแนะอย่างไรในการดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ หรืองานด้านอนื่ ๆ
1. ครูควรเตรียมการสอนก่อนรวมทั้งศึกษาพื้นฐานความรู้ที่นักเรยี นควรทราบก่อนสอนและ

ทบทวนใหน้ ักเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ
2. สร้างความตระหนักให้นักเรียนเหน็ ความสำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ รวมถึงการนำความรู้

ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5. ท่านมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเพื่อนครูหรือไม่อย่างไร (PLC) ถ้ามีท่านดำเนินการ
อยา่ งไร และผลการดำเนนิ การเปน็ อยา่ งไร

มีการแลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ะหวา่ งเพือ่ นครู โดยการนำปัญหาการเรียนการสอนดา้ นคณติ ศาสตร์

มาปรึกษาหารือกันและเลอื กเร่ือง ท่เี ปน็ ปัญหาทีส่ มควรแก้ก่อนเป็นอนั ดับแรกและดำเนินการวางแผน

รวมกนั แก้ปญั หา ซึง่ ผลการดำเนินการสง่ ผลให้นักเรียนมผี ลสมั ฤทธไ์ิ ปในทางท่ดี ีข้ึน

17

ปว.1-4

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวิชาคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ค22101) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 สมบตั เิ ลขยกกำลัง ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง สมบตั ิอ่นื ๆ ของเลขยกกำลงั จำนวน 2 ช่ัวโมง
ผสู้ อน นางสาวศศิธร ช้างป่าต้น
สอนวันท่ี 15 เดือน กนั ยายน พ.ศ 2564 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
เวลา 12:30 น.

สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค.1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ

ของจำนวน ผลที่เกิดขึน้ จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และ
นำไปใช้

ตวั ช้ีวดั

ค 1.3 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการ
แกป้ ัญหาคณิตศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ิตจริง

สาระสำคญั

เม่ือ a เป็นจำนวนใด ๆ ท่ีไม่เท่ากบั 0 แลว้ m และ n ทีเ่ ป็นจำนวนเตม็
(am)n = amn

เมือ่ a และ b เปน็ จำนวนใด ๆ ท่ไี ม่เทา่ กบั 0 และ n เป็นจำนวนเตม็
(ab)n = anbn

เม่อื a และ b เปน็ จำนวนใด ๆ ทไ่ี ม่เทา่ กบั 0 และ n เปน็ จำนวนเตม็
(a/b)n = an/bn

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้/ผลการเรียนรู้

ดา้ นความร(ู้ K) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ(P) ดา้ นคณุ ลักษณะ(A)

- นักเรยี นสามารถเขียนเลขยก - นกั เรยี นสามารถใช้สมบตั ิของ - นักเรียนสามารถตระหนักถึง

กำลังใหอ้ ยู่ในรูป amn, aman, เลขยกกำลังในการแก้ปญั หา ความสมเหตุสมผลของคำตอบ

ได้ - ทำงานเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย
- รบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั

มอบหมาย

18

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขั้นนำ

1. ครูทบทวนสมบัติการคูณเลขยกกำลังและสมบัติการหารเลขยกกำลัง โดยให้นักเรียน

พิจารณา 84, 143, (2)4, (3)−5 และ (2)0ว่าเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานและเลขชี้กำลังเท่าใด โดยให้
74 3

นักเรยี นตอบแล้วตรวจสอบวา่ ได้คำตอบถูกต้องเหมือนกันหรือไม่

ขั้นสอน

2. ครูกล่าวว่า จาก 84 เป็นเลขยกกำลังที่มี 8 เป็นฐาน และ 4 เป็นเลขชี้กำลัง เนื่องจาก

สามารถเขียนแทน 8 ด้วย 23 ดังนั้น 84 สามารถเขียนแทนด้วย (23)4 และจะเห็นว่า (23)4 เป็นเลขยก

กำลงั ทีม่ ี 23 เปน็ ฐานและ 4 เปน็ เลขชี้กำลัง

(23)4 = 23 × 23 × 23 × 23

= 23+3+3+3

= 212

3. ครูให้นักเรยี นสังเกตผลลพั ธ์ของเลขยกกำลงั จะเห็นวา่ เลขชกี้ ำลังของผลลพั ธ์เท่ากับผล
คูณของ เลขช้ีกำลังของเลขยกกำลังท่ีเปน็ ฐานกับเลขชกี้ ำลังของเลขยกกำลงั นน้ั ซ่ึงเปน็ ไปตามสมบตั ิ
ของเลขยกกำลงั ดงั น้ี

เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ ทไี่ มเ่ ทา่ กบั 0 แล้ว m และ n ทีเ่ ป็นจำนวนเตม็
( ) =

ตวั อยา่ ง จงหาผลคูณ [(−2)4]−3 × [(−2)−5]−2 ในรูปเลขยกกำลัง

วิธีทำ =[(−2)4]−3 × [(−2)−5]−2 (−2)−12 × (−2)10

= (−2)−2

ตอบ (−2)−2

ตัวอย่าง จงหาผลคูณ 254 × 56 ในรูปเลขยกกำลัง

วธิ ที ำ 254 × 56 = (52)4 × 56

= 58 × 56

= 514

ตอบ 514

19

4. ครูกล่าวว่า จาก 143 เป็นเลขยกกำลังที่มี 14 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กำลัง เนื่องจาก
สามารถเขียนแทน 14 ด้วย 27 ดังนั้น 143 สามารถเขียนแทนด้วย (27)3 และจะเห็นว่า (27)3
เปน็ เลขยกกำลังท่ีมีฐานอย่ใู นรูปการคณู ของจำนวนสองจำนวนคือ 27 และ 3 เปน็ เลขช้ีกำลงั

(27)3 = (27) × (27) × (27)

= (222) × (777)

= 23 × 73

5. ครใู หน้ ักเรียนสงั เกตผลลพั ธ์ของเลขยกกำลงั จะเหน็ ว่า เป็นไปตามสมบัตขิ องเลขยกกำลงั

เมือ่ a และ b เป็นจำนวนใด ๆ ทไ่ี มเ่ ท่ากบั 0 และ n เป็นจำนวนเต็ม
( ) =

6. ครูยกตวั อยา่ งการหาผลคูณของเลขยกกำลงั ท่ีมฐี านอยู่ในรปู การคูณของจำนวนหลาย
จำนวน ดังนี้

ตัวอยา่ ง จงเขียน 42−2 ในรูปการณ์คูณของเลขยกกำลงั

วธิ ที ำ 42−2 = (67) −2

= [(23)7]−2

= (23) −2  7−2

= 2−2 3−2 7−2

ตอบ 2−2 3−2 7−2

ตัวอย่าง จงเขียน 15−5  453 ในรูปการคณู ของเลขยกกำลัง

วธิ ที ำ 15−5  453 = (35) −5  (315) 3

= (35) −5  (335) 3

= 3−5 5−5 33 33 53

= 3−5 5−5 33 33 53

= 31 5−2

= 3  5−2

ตอบ 3  5−2

20

7. ครูกล่าวว่า จาก (2)4 เป็นเลขยกกำลงั ท่ีมี 2 เปน็ ฐาน และ 4 เปน็ เลขชี้กำลัง
77

(2)4 = 2222
77 77
7

= 24
74

จาก (3)−5 เป็นเลขยกกำลังที่มี 3 เปน็ ฐาน และ -5 เป็นเลขช้กี ำลงั

44

(3)−5 =1
(43)5
4

=1 3 3 3 3 43
4  4  4  4

= 1

35

45

= 1 45
35

= 45
35

= 3−5
4−5

และจาก (2)0 เปน็ เลขยกกำลงั ที่มี 2 เป็นฐาน และ 0 เป็นเลขชก้ี ำลัง
3
3

(2)0 =1

3

= 20
30

8. ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกตผลลัพธ์ของเลขยกกำลงั จะเหน็ วา่ เปน็ ไปตามสมบัตขิ องเลขยกกำลงั
ดงั น้ี

เม่อื a และ b เปน็ จำนวนใด ๆ ทีไ่ ม่เทา่ กบั 0 และ n เปน็ จำนวนเต็ม

( ) =

21

ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ 216  (32)−4 ในรูปเลขยกกำลัง
(37)−2

วิธีทำ 216  (32)−4 = 216  (32)−4  (3)2
(37)−2 7

= (37)6  3−8 32
72

= 36  3−8 32 76
72

= 30  74

= 1  74

= 74

ตอบ 74

9. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 1 เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น

ข้ันสรุป

10. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั สมบัติอื่นๆ ของเลขยกกำลงั ดงั น้ี

เมือ่ a เปน็ จำนวนใด ๆ ที่ไมเ่ ท่ากับ 0 แลว้ m และ n ท่เี ป็นจำนวนเต็ม จะได้ ( ) =

เม่อื a และ b เปน็ จำนวนใด ๆ ทไี่ ม่เทา่ กบั 0 และ n เป็นจำนวนเตม็ จะได้ ( ) =
( )
และเมื่อ a และ b เปน็ จำนวนใด ๆ ท่ีไมเ่ ท่ากบั 0 และ n เปน็ จำนวนเตม็ =

ส่ือ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้

สอ่ื อุปกรณ์ แหลง่ เรยี นรู้
อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (iPad)
1) หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ 1) หอ้ งสมดุ
พืน้ ฐาน ม.2 เล่ม 1 2) แหลง่ เรียนรู้ออนไลน์
2) แบบฝึกหดั เรื่อง สมบตั ิอ่นื ๆ
ของเลขยกกำลงั

22

การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธวี ัด การวดั และประเมิน
ตรวจแบบฝึกหัด
ด้านความรู้ความรู้ (K) เรื่อง สมบตั ิอ่ืนๆ เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารวัด
ของเลขยกกำลงั
นักเรียนสามารถเขยี นเลขยกกำลงั ให้ แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑส์ ำหรับผู้
ตรวจแบบฝกึ หัด ทท่ี ำแบบฝึกหัดได้
อยใู่ นรูป , , ได้ ถกู รอ้ ยละ 70 ขน้ึ
สงั เกต ไป
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถใชส้ มบัตขิ องเลขยก แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑส์ ำหรบั ผู้
กำลงั ในการแก้ปญั หา ท่ที ำแบบฝกึ หัดได้
ถูกร้อยละ 70 ขนึ้
คุณลกั ษณะ (A) ไป
1) นกั เรยี นสามารถตระหนักถึงความ
สมเหตสุ มผลของคำตอบของปญั หา แบบสงั เกต ได้คะแนนตั้งแต่ 7
2) ทำงานเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย พฤติกรรม ขนึ้ ไปถือวา่ ผา่ น
3) รบั ผิดชอบตอ่ งานที่ได้รบั
มอบหมาย
4) นกั เรยี นมีวินยั

บนั ทึกหลังการสอน
....................ผ..ู้เ..ร..ยี ..น...ม..คี..ว..า..ม...ส..น...ใ.จ...ใ.น...ก..า..ร..เ.ร..ีย...น..ก...า..ร..ส..อ..น...เ.ป...น็...อ..ย..า่..ง..ม...า..ก..ใ.ห...้ค...ว..า..ม..ร..่ว..ม...ม.ือ...ใ.น...ก..า..ร..โ..ต..้ต...อ..บ............
......ร..ะ..ห...ว..่า..ง..ก..า..ร..เ.ร..ยี...น..ก...า..ร..ส..อ..น....แ...ล..ะ..ม...คี ..ว..า..ม...ก..ร..ะ..ต...ือ..ร..ือ..ร..้น...ต..อ่...ก..า..ร..เ.ร..ีย..น...ด..ีม...า..ก...............................................
....................น...กั ..เ.ร..ีย...น..ร..้อ..ย...ล..ะ....7..0..ส...า.ม...า..ร..ถ..ใ..ช..้ส...ม..บ...ตั ..ิข..อ...ง..เ.ล..ข...ย..ก..ก...ำ..ล..งั..ใ.น...ก..า..ร..แ...ก..้ป...ัญ...ห. .า..ไ.ด...้ ............................
............................................................................................................................................................ ....

ลงชื่อ.....................................................

(นางสาวศศธิ ร ชา้ งปา่ ต้น)

ขอ้ เสนอแนะ

.............ค..ว..ร..เ.พ...ม่ิ...เ.ต..ิม...แ..บ...บ..ฝ...กึ ..ห...ัด....แ..ล..ะ...ต..ัว..อ..ย...่า..ง..ท..่ีห...ล..า..ย..ห...ล...า.ย...ม..า..ก...ข..ึ้น....เ.พ...่ือ..ใ..ห..น้...ัก...เ.ร..ยี .น...เ.ห...น็...ถ..ึง..ค..ว..า..ม...แ..ต..ก...ต..า่..ง.

............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................. ...................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงช่ือ............. .........................................

(วา่ ท่ีรอ้ ยตรหี ญิงเวนิกา ไกรสำโรง)

23

แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (ค21101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เลขยกกำลงั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง ความหมายของเลขยกกำลงั จำนวน 2 ชั่วโมง

ผสู้ อน นางสาวศศธิ ร ชา้ งปา่ ต้น ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

สอนวันท่ี 15 เดือน กันยายน พ.ศ 2564 เวลา 09:30 น.

สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณิต
มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค.1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การ
ของจำนวนผลท่เี กิดขน้ึ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และ
นำไปใช้

ตัวชวี้ ัด
ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใชส้ มบัตขิ องเลขยกกำลงั ที่มเี ลขชกี้ ำลังเป็นจำนวนเตม็ ในการ
แกป้ ญั หาคณิตศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ติ จริง

สาระสำคัญ
เลขยกกำลัง เขียนแทนดว้ ย an หมายถึง จำนวนท่ีมี a คูณกัน n ตวั และอ่านว่า a ยกกำลงั

n หรือ a กำลงั n หรือ กำลงั n ของ a

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้/ผลการเรียนรู้

ด้านความร(ู้ K) ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) ด้านคุณลักษณะ(A)

1) นกั เรยี นสามารถบอกความ นกั เรยี นสามารถหาคา่ ของเลข 1) มีความกระตือรือร้นในการ
หมายของเลขยกกำลงั ยกกำลังที่มเี ลขชก้ี ำลงั เป็น เข้ารว่ มกจิ กรรม
2) นักเรยี นสามารถเขยี น จำนวนเต็มบวกทีก่ ำหนดให้ 2) ทำงานเป็นระเบียบ
จำนวนที่กำหนดให้อยู่ในรปู เรยี บร้อย
เลขยกกำลังท่มี ีเลขช้กี ำลงั เป็น 3) รบั ผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั
จำนวนเตม็ บวก มอบหมาย

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นำ
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและเกริ่นนำให้นักเรียนเชื่อมโยงจากความรู้เดิม เช่น เรื่องพื้นท่ี

ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นที่ของวงกลม หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตจริง เช่น การแบ่งเซลล์
ของแบคทีเรียเพื่อนำไปสู่การสอนเรื่อง เลขยกกำลัง ชี้ให้เห็นประโยชน์ของการใช้เลขยกกำลังแทน
จำนวนท่อี ยู่ในรปู การคูณของจำนวนทซ่ี ำ้ ๆ กัน

24

ขัน้ สอน
2. ครแู นะนำความหมายของเลขยกกำลงั จากบทนยิ าม an = a x a x a x … x a จะมี a คณู
กนั ท้งั หมด n ตวั

เช่น 23 มี 2 คณู กัน 3 ตวั คอื 2 x 2 x 2
85 มี 8 คูณกัน 5 ตวั คือ 8 x 8 x 8 x 8 x 8

3. ครูยกตัวอย่างการเขียนเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนลบหรือเศษส่วน พร้อมทั้งอธิบาย
วา่ ต้องเขยี นฐานไวใ้ นวงเล็บ เพอ่ื สอื่ ความหมายให้ถกู ตอ้ ง

เช่น เมอื่ ฐานเปน็ -5 และเลขชกี้ ำลังเป็น 2 ตอ้ งเขียนเป็น (-5)2
เม่อื ฐานเป็น 3 และเลขชก้ี ำลงั เป็น 3 ต้องเขยี นเป็น (3)3

44

4. ครูให้นักเรียนศึกษาค่าของเลขยกกำลังในแบบฝึกหัดที่ 1 เพื่อให้นักเรียนเห็นการ
เปลยี่ นแปลงของคา่ ที่ไดจ้ ากการยกกำลังของเลขยกกำลังที่มฐี านแตกต่างกนั
5. ครยู กตวั อยา่ งการเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังท่มี มี ากกวา่ หนึง่ แบบ เช่น การเขยี น
16 ในรูปเลขยกกำลงั ที่มีเลขชก้ี ำลงั มากกว่า 1 อาจเขียนเปน็ 24, 42, (-2)4 หรือ (-4)2
6. ครยู กตวั อย่างเพ่ิมเตมิ เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น 64 อาจเขยี นเปน็ 82,
(-8)2, 43, 26 หรอื (-2)6
7. ครูอธิบายว่า ในการเขียนเลขยกกำลังแทนจำนวนใด ๆ นนั้ นกั เรยี นตอ้ งสามารถระบุฐาน
และเลขช้กี ำลงั ของเลขยกกำลงั น้ัน ๆ ได้

เชน่ การเขียน 216 ในรูปเลขยกกำลัง
216 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 3
= 23 × 33

8. ครูอธิบายว่า เนื่องจาก 23 × 33 ยังไม่อยู่ในรูปที่สามารถระบุได้วา่ ฐานและเลขชี้กำลังเป็น
จำนวนใด แต่เมอ่ื จดั รปู ใหม่เปน็

216 = (2 × 3) × (2 × 3) × (2 × 3)
= 6×6×6
= 63

จะได้ว่า 216 เขียนในรูปเลขยกกำลังไดเ้ ป็น 63 ที่มี 6 เป็นฐาน และมี 3 เป็นเลขช้ีกำลงั
9. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดพร้อมทั้งเฉลยในชั้นเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ

นักเรียน
ขั้นสรุป
10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปทั่วไปรวมไปถึงความหมายของเลขยกกำลัง

และการเขยี นจำนวนใหอ้ ยู่ในรปู ของเลขยกยกลัง

25

สอื่ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้ อปุ กรณ์ แหล่งเรยี นรู้
อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (iPad)
สอ่ื 1) หอ้ งสมุด
1) หนังสือเรียนคณติ ศาสตร์ 2) แหลง่ เรียนรอู้ อนไลน์
พื้นฐาน ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัด เร่ือง
ความหมายของเลขยกกำลงั

การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีวัด การวัดและประเมิน

ด้านความรู้ (K) ตรวจ เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารวดั

1) นักเรยี นสามารถบอกความหมายของเลข แบบฝกึ หดั แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑ์
สำหรบั ผู้ท่ที ำ
ยกกำลัง แบบฝกึ หดั ได้ถูก
ร้อยละ 70 ขึ้นไป
2) นกั เรียนสามารถเขียนจำนวนทีก่ ำหนดให้

อยใู่ นรปู เลขยกกำลงั ทม่ี เี ลขช้ีกำลงั เป็น

จำนวนเตม็ บวก

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจ แบบฝกึ หัด ผา่ นเกณฑ์
สำหรบั ผูท้ ่ีทำ
นักเรยี นสามารถหาคา่ ของเลขยกกำลังทม่ี ี แบบฝกึ หดั แบบสงั เกต แบบฝกึ หดั ได้ถูก
พฤติกรรม รอ้ ยละ 70 ขึ้นไป
เลขชี้กำลงั เปน็ จำนวนเตม็ บวกทก่ี ำหนดให้
ได้คะแนนตั้งแต่
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) สงั เกต 7 ขนึ้ ไปถือว่า
1) รับผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั มอบหมาย ผ่าน
2) มีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วม
กิจกรรม
3) ทำงานเป็นระเบยี บเรียบร้อย
4) นักเรยี นมีวินัย

26

บนั ทกึ หลังการสอน
..................ผ...ู้เ.ร..ยี ..น...ม..ีค...ว..า..ม..ส...น..ใ..จ..ใ.น...ก..า..ร..เ..ร..ีย..น...ก..า..ร..ส..อ...น..เ..ป..็น...อ..ย...า่ ..ง.ม...า..ก..ใ..ห..้ค...ว..า..ม..ร..ว่..ม...ม..อื ..ใ..น..ก...า.ร..โ..ต..ต้...อ..บ...ร..ะ..ห...ว..่า..ง
....ก...า..ร..เ.ร..ีย..น...ก..า..ร..ส..อ...น....แ..ล..ะ...ม..ีค..ว...า..ม..ก..ร..ะ...ต..ือ..ร..ือ...ร..้น..ต...อ่ ..ก...า..ร..เ.ร..ยี ..น...ด..ีม...า..ก....................................................... ......
..................น...กั ..เ.ร..ีย...น..ร..้อ...ย..ล..ะ....7..0..ส...า..ม..า..ร..ถ..บ...อ...ก..ค..ว..า..ม...ห...ม..า..ย..ข...อ..ง..เ.ล...ข..ย..ก...ก..ำ..ล..งั..แ..ล...ะ..ส..า..ม. .า..ร..ถ...เ.ข..ีย..น...จ..ำ..น...ว..น..........
....ท...ีก่..ำ..ห...น..ด...ใ.ห...้อ..ย...ใู่ .น...ร..ูป...เ.ล..ข..ย...ก..ก...ำ..ล..งั..ท..ี่ม...เี.ล...ข..ช..ีก้...ำ..ล..ัง..เ.ป...็น..จ...ำ.น...ว..น...เ.ต..ม็...บ...ว..ก..ไ..ด..้...............................................

ลงชื่อ.....................................................
(นางสาวศศธิ ร ช้างป่าตน้ )

ข้อเสนอแนะ
.................ค...ว..ร..ม..ีก...า.ร..ส...ร..ปุ ...เ.ป..น็...ช..่ว..ง..ๆ....ห...ล..งั..ก..า..ร..จ...บ..เ.น...อื้..ห...า..แ..ต...ล่ ..ะ..ห...ัว..ข..้อ....แ...ล..ะ..ม...ตี ..วั..อ...ย..่า.ง..เ.พ...่ิม...เ.ต..ิม...ท..ีห่...ล..า..ย...ห..ล...า..ย.
...เ.พ...อื่...ใ.ห...้น..ัก...เ.ร..ีย..น...เ.ห...น็ ..ถ...ึง..ว..ธิ ..กี ..า..ร..ท...ำ..ใ.น...ห..ล...า..ย..ร..ปู...แ..บ...บ....................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................................................. ...

ลงช่ือ.......... ............................................
(ว่าทรี่ ้อยตรีหญงิ เวนิกา ไกรสำโรง)

27

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ค23101) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สมการยกกำลงั สองตัวแปรเดยี ว ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่ือง การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดยี ว จำนวน 2 ช่ัวโมง

ผูส้ อน นางสาวศศิธร ช้างป่าต้น ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

สอนวันที่ 16 เดือน กันยายน พ.ศ 2564 เวลา 12:30 น.

สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่

กำหนดให้

ตวั ชว้ี ดั
ค 1.3 ม.3/2 ประยกุ ต์ใชส้ มการกำลงั สองตวั แปรเดียวในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

สาระสำคัญ
รูปทว่ั ไปของสมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว ax2+ bx + c = 0 เมอ่ื x เปน็ ตัวแปร a, b และ c

เป็นค่าคงตัว โดยท่ี a ≠ 0
จดุ ประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรยี นรู้

ด้านความร้(ู K) ด้านทกั ษะกระบวนการ(P) ด้านคุณลกั ษณะ(A)

เขียนสมการกำลังสองตัวแปร 1) อธิบายรูปทั่วไปของสมการ 1) ทำงานเป็นระเบียบ

เดยี วใหอ้ ยู่ในรูปท่วั ไป กำลงั สองตวั แปรเดยี ว เรียบรอ้ ย

2) นักเรียนสามารถหาคำตอบ 2) รับผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ ับ

ของสมการกำลังสองตัวแปร มอบหมาย

เดียว โดยวิธลี องแทนค่าตวั แปร 3) นักเรียนมีวินัย

, วิธีแยกตัวประกอบและโดย

การใชส้ ตู ร

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นำ

1. ครูทบทวนพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวที่มีรูปทั่วไปเป็น ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เป็น
ตวั แปร a, b และ c เป็นค่าคงตัว โดยที่ a ≠ 0 พร้อมยกตัวอย่างประกอบเพื่อนำไปสู่การแนะนำ
สมการกำลังสองตัว แปรเดียวในรูปแบบต่าง ๆ เช่น 5x2 = 0, -3x2 = 4, y2+ 2y = 0, 3x2 – 2 = 0,
m2– 3 = 2m, 2a2 – 5 = -7a2 + 4 แล้วให้นักเรียนสังเกตและสรุปลักษณะของสมการกำลังสองตัว
แปรเดียว

28

ข้นั สอน
2. ครูแนะนำรูปทั่วไปของสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เป็นตัว
แปร a, b และ c เป็นคา่ คงตัว โดยท่ี a ≠ 0
3. ใหน้ กั เรียนจดั สมการกำลังสองตวั แปรเดียวในข้อ 1 ให้อยู่ในรปู ท่ัวไป พรอ้ มท้ังระบุค่า a,
b และ c
4. ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งสมการกำลังสองตวั แปรเดียวท่ีอย่ใู นรปู ท่วั ไปเพม่ิ เตมิ
5. ครยู กตัวอยา่ งสมการทีม่ ีตวั แปรเดยี วและมีเลขชี้กำลงั สูงสดุ เป็น 2 แต่ไม่เป็นสมการกำลัง
สองตัวแปรเดียว เช่น 1 + x2 – 3x = x2 + 5x หรือ (x-1)2 + x = 4x + x2 เพื่อให้นักเรียนเห็นถึง
ความสำคัญของการจัดรูปสมการให้อยู่ในรูปทั่วไป ก่อนที่จะพิจารณาว่าเป็นสมการกำลังสองตัวแปร
เดียวหรอื ไม่
6. ครูทบทวนความหมายของ “คำตอบของสมการ” ว่าคือ จำนวนจริงที่แทนตัวแปรใน
สมการแล้วทำให้ไดส้ มการทเ่ี ป็นจริง พร้อมทั้งยกตัวอย่างสมการกำลังสองตัวแปรเดยี ว ทีม่ ี 2 คำตอบ

เช่น x2 – x – 12 = 0 ที่มี 1 คำตอบ
(x – 3)2 = 0 และไมม่ คี ำตอบ
x2 + 4 = 0

เพื่อให้นกั เรียนสังเกตลักษณะของคำตอบที่เป็นไปได้ของสมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว
7. ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนสังเกตว่า การหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียวที่อยู่

ในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เป็นตัวแปร a, b และ c เป็นค่าคงตัว โดยที่ a ≠ 0 โดยวิธีลองแทน
คา่ ตวั แปรนนั้ อาจไม่สะดวกและอาจต้องใชเ้ วลามาก เช่น x2 + 2x – 8 = 0 ดังนนั้ เราจึงอาศยั ความรู้
เกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามมาทำให้ ax2 + bx + c อยู่ในรูปการณ์คูณกันของพหุนาม
ดีกรีหนึ่ง 2 พหุนาม แล้วจึงใช้สมบัติของจำนวนจริงที่กล่าวว่า “ถ้า m และ n เป็นจำนวนจริง และ
mn = 0 แลว้ m = 0 หรือ n = 0” มาใชแ้ กส้ มการกำลังสองตัวแปรเดียว

8. ครกู ล่าววา่ ในการแกส้ มการที่นำพหุนามใด ๆ มาหารทั้งสองขา้ งของสมการต้องระมัดระวัง
เนื่องจากเราไม่ทราบว่าพหุนามนั้นเท่ากับศูนย์หรือไม่ เพราะเราไม่นิยามการหารด้วย 0 โดยครูอาจ
ยกตัวอย่างอืน่ เพ่มิ เติม เช่น x(x – 1) = (3x + 2)(x – 1)

9. ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนสังเกตว่า การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวที่อยู่ในรูป ax2 +
b x + c = 0 เม่อื x เป็นตัวแปร a, b และ c เป็นคา่ คงตวั โดยที่ a ≠ 0 โดยวธิ แี ยกตวั ประกอบ ของ
พหุนาม ax2 + bx + c นั้นบางครั้งอาจทำได้ยาก เช่น x2 + 4x – 1 = 0 เราจึงใช้สูตรในการหา
คำตอบของสมการ

10. ครูอธิบายว่าการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยใช้วิธีทำให้เป็นกำลังสองสมบูรณ์
ดังตัวอย่างที่ 8 และตัวอย่างที่ 9 ในหนังสือเรียน หน้า 81–82 เพื่อนำแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในการ
สร้างสตู รในการหาคำตอบของสมการกำลังสองตวั แปรเดียว ax2 + bx + c = 0 เม่อื x เป็นตัวแปร a,
b และ c เป็นค่าคงตัว โดยที่ a ≠ 0 ตามแนวคิดในหนังสือเรียน หน้า 82–83 ซึ่งจะเห็นได้ว่าจาก
แนวคดิ ดังกล่าว ทำให้ไดข้ อ้ สรปุ เกี่ยวกับจำนวนคำตอบของสมการ ดงั น้ี

1) ถา้ b2 – 4ac > 0 สมการจะมี 2 คำตอบ
2) ถ้า b2 – 4ac = 0 สมการจะมี 1 คำตอบ

29

3) ถ้า b2 – 4ac < 0 จะไมม่ ีจำนวนจริงใดเปน็ คำตอบของสมการ
11. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหัดที่ 1 เพ่ือใหน้ ักเรียนเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลบวกและ
ผลคณู ของคำตอบของสมการ กบั สัมประสิทธ์ิของตวั แปรและค่าคงตัวในสมการและใช้ความสัมพันธ์นี้
ในการตรวจสอบคำตอบที่ได้จากการแก้สมการในแบบฝึกหัดที่ทำเพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของ
การใช้ความสมั พันธ์ดงั กล่าว
ข้ันสรปุ
12. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเร่อื งรปู ทั่วไปของสมการกำลงั สองตัวแปรเดียว ได้ข้อสรุปว่า
มีรูปทั่วไปเป็น ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปน็ ตวั แปร a, b และ c เป็นคา่ คงตวั โดยที่ a ≠ 0 และ
สามารถแกส้ มการเพอื่ หาคำตอบของสมการกำลงั สองได้โดยการ ลองแทนคา่ ตวั แปร หรือ การแยกตวั
ประกอบพหุนาม หรอื ใช้สตู รในการคำนวณ

สอ่ื อุปกรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้

สอ่ื อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส(์ iPad)
1) หนังสอื เรียนคณิตศาสตร์ 1.หอ้ งสมดุ
พ้ืนฐาน ม.3 เล่ม 1 2.แหล่งเรียนรู้ออนไลน์
2) แบบฝกึ หดั เร่ือง การแก้
สมการกำลงั สองตัวแปรเดียว

การวดั และประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีวัด การวดั และประเมิน
เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารวดั
ด้านความรู้ (K) ตรวจ แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑส์ ำหรับผทู้ ่ี

เขียนสมการกำลังสองตัวแปรเดยี วให้อย่ใู นรปู แบบฝึกหดั ทำแบบฝกึ หดั ไดถ้ ูก
ร้อยละ 70 ขึ้นไป
ทั่วไป แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์สำหรบั ผ้ทู ี่
ทำแบบฝกึ หดั ได้ถูก
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจ รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป

1) อธิบายรูปทั่วไปของสมการกำลังสองตัวแปร แบบฝกึ หดั แบบสังเกต ไดค้ ะแนนต้งั แต่ 7
พฤติกรรม ขน้ึ ไปถือวา่ ผ่าน
เดียว

2) นักเรยี นสามารถหาคำตอบของสมการกำลงั

สองตัวแปรเดียวโดยวธิ ลี องแทนค่าตัวแปร, วิธี

แยกตวั ประกอบและโดยการใชส้ ตู ร

ด้านคณุ ลักษณะ (A) สังเกต

1) ทำงานเป็นระเบยี บเรียบร้อย

2)รบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

3) นักเรยี นมีวินัย

30

บนั ทกึ หลังการสอน
..............ต......่อ....ก......า....ร....เ..ร..ผ..ยี ....เู้น..ร....ดีย....ีมน......าม....กคี......ว....า....ม....ส......น....ใ....จ....ใ....น....ก......า...ร....โ...ต.....ต้.....อ....บ......ร....ะ....ห......ว....่า....ง...ก.....า....ร....เ..ร....ีย.....น.....ก.....า....ร....ส.....อ....น........แ.....ล.....ะ....ม....คี.....ว....า.....ม....ก.....ร....ะ.....ต....อื.....ร....ือ.....ร....น้................
.....................น...ัก..เ..ร..ีย..น...ร..้อ..ย..ล...ะ...7...0...ส..า..ม...า..ร..ถ..ห...า..ค..ำ..ต...อ..บ...ข..อ..ง..ส...ม..ก..า..ร..ก...ำ..ล..ัง..ส..อ...ง..ต..ัว..แ..ป...ร.เ..ด..ีย..ว....โ.ด...ย..ว..ธิ..ลี...อ..ง..แ..ท...น..
.......ค...า่ ..ต..วั..แ...ป..ร..,...ว..ิธ..แี ..ย...ก..ต..ัว..ป...ร..ะ..ก...อ..บ...แ..ล..ะ...โ.ด...ย..ก..า..ร..ใ..ช..ส้ ..ตู...ร..ไ.ด...้ ................................... .............................

ลงช่ือ.....................................................
(นางสาวศศิธร ช้างป่าต้น)

ขอ้ เสนอแนะ
.....................เ.ป...็น...แ..ผ..น...ก..า..ร..จ...ดั ..ก..า..ร..เ..ร..ยี ..น...ร..ู้ท..ีส่...า..ม..า..ร..ถ..น...ำ..ไ.ป...ใ..ช..้ไ.ด...จ้..ร..ิง...ม...ีอ..ง..ค..์ป...ร..ะ..ก...อ..บ..ค...ร..บ..ถ...ว้ ..น....แ..ต..่ค...ว..ร..เ.พ...มิ่....
.......ก...ร..ะ..บ..ว...ก..ก..า..ร..จ...ดั ..ก..า..ร..เ..ร..ยี ..น...ก..า..ร..ส..อ...น..ใ..ห..้จ...ดั ..เ.จ...น..แ...ล..ะ..เ.พ...ม่ิ...แ..บ...บ..ฝ..ึก...ห..ดั.........................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................................................. ...

ลงชื่อ............... .......................................
(วา่ ท่รี ้อยตรีหญงิ เวนิกา ไกรสำโรง)

31

ปว.1-5
โครงรา่ งการวจิ ัยในชั้นเรียน
ชือ่ เรือ่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอในการเรียนเรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว โดยเทคนคิ กลวิธี SQRQCQ สำหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่
3 โรงเรียนบา้ นเขาสมโภชน์
ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ทำให้มนษุ ย์มคี วามคดิ
สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบระเบียบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ ได้
อย่างรอบคอบ จึงทำให้สามารถวางแผน ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องนอกจากนี้
คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศาสตร์อื่นๆ ดังนั้น
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการส่งเสริม
ใหผ้ ู้เรียนมที ักษะที่จำเปน็ สำหรับศตวรรษที่ 21
จากผลการประเมินผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณติ ศาสตร์ของนกั เรยี นท่ัวประเทศอยู่ในระดับที่
ไม่นา่ พอใจและไมป่ ระสบความสำเรจ็ เท่าท่ีควร สังเกตจากผลคะแนนสอบวชิ าคณิตศาสตร์ของสถาบัน
ทดสอบการศึกษาระดับชาติ ประจำปกี ารศึกษา 2563 พบว่าคะแนนสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ย 29.99 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มีคะแนนเฉลี่ย 25.46 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ย 26.04 จากคะแนน 100
คะแนน เมื่อนำคะแนนมาวิเคราะห์จะพบว่า ภาพรวมวิชาคณิตศาสตร์นั้นยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำมาก
เพราะคะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 และจากผลคะแนนในวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์มีคะแนนเฉลี่ย 41.00
และ 17.60 จากคะแนน 100 คะแนนตามลำดับ นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ทำการสำรวจนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นบา้ นเขาสมโภชน์ จงึ พบว่าเด็กไม่สามารถโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลัง
สองตัวแปรเดียวได้ ซึ่ง ศศิธร แม้นสงวน(2556, หน้า 338) ได้กล่าวว่าประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหา
ทสี่ ำคญั ในการจัดการศกึ ษาท่ที ำใหน้ กั เรียน คดิ แกป้ ัญหาไมเ่ ป็น หรอื ไม่ชอบทจ่ี ะคดิ วเิ คราะห์
จากข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยได้วิเคราะห์หาสาเหตุจากการที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่
เข้าใจการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดยี วได้ และพบว่านักเรียนส่วนใหญ่
ไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาหรือเปลีย่ นโจทย์ปัญหาให้เป็นสัญลักษณท์ างคณิตศาสตรไ์ ด้ ทำให้นักเรยี น
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งชมนาด เชื้อสุวรรณทวี (2542, หน้า 3-8) ได้กล่าวถึง
สาเหตุของปัญหาทางคณิตศาสตร์ไว้หลายประการ เช่น คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นนามธรรม มี
กฎเกณฑ์ที่แน่นอน มีลักษณะโครงสร้างที่เป็นเหตุเป็นผล สื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์จึงยากต่อ
การเรียนรู้ และทำความเข้าใจ และที่สำคัญนักเรียนยังขาดทักษะในการพัฒนาความคิดมาเพื่อใช้
แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ นอกจากน้ี ศศิธร แมน้ สงวน (2556, หน้า 338) ยงั ได้กล่าวว่าประเทศไทย

32

กำลังเผชิญปัญหาที่สำคัญในการจัดการศึกษาที่ทำให้นักเรียน คิดแก้ปัญหาไม่เป็น หรือ ไม่ชอบที่จะ

คดิ วเิ คราะห์

จากสภาพปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนเรื่อง

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ สำหรับนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์ เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือนักเรียนให้สามารถ

แก้ไขโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งเป้าหมายสำคัญในการเรียนคณิตศาสตร์และเป็นพื้นฐานใน

การเรยี นระดบั สูงต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจยั

เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการที่เรียนด้วยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ เรื่อง โจทย์ปัญหา

เกีย่ วกบั สมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว ระหวา่ งกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี

3 โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์

ขอบเขตของการวิจยั

ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา

2564 โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 36

คน โดยนักเรียนในห้องเรียนไดค้ ละความสามารถระหว่างนักเรยี นเกง่ ปานกลาง และอ่อนเท่า ๆ กัน

เน้ือหา

เนือ้ หากลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี

ที่ 3 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) หน่วยการ

เรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง สมการกำลงั สองตวั แปรเดยี ว

ระยะเวลา

ระยะเวลาที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองสอนในภาคเรียนที่ 1 ปี

การศึกษา 2564 ใชเ้ วลาในการทดลอง จำนวน 3 ช่วั โมง ดังนี้

1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1 ช่ัวโมง

2. ดำเนินการเรยี นการสอน 1 ชั่วโมง

3. แบบทดสอบหลงั เรียน 1 ชั่วโมง

รวม 3 ช่วั โมง

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

กลวิธี SQRQCQ หมายถึง กลวิธีที่ช่วยนักเรียนในการอ่าน โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจปัญหา

ด้วยตนเองและสามารถแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง ซึ่งมีการแบ่งการแก้ปญั หาออกเป็น

ลำดับขั้นตอน มี 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ขั้น S (Survey) เป็นขั้นที่นักเรียนอ่านปัญหา

ทั้งหมดอย่างผ่าน ๆ เพื่อที่จะรู้ว่าปัญหานั้นเกี่ยวกับเรื่องใด ถ้ามีคำบางคำไม่เข้าใจนักเรียนต้อง

สอบถามครูหรือเพื่อน ๆ ในชัน้ เรียนก่อนไปในขั้นถัดไป ข้นั ท่ี 2 ข้ัน Q (Question) เป็นขั้นที่นักเรียน

ถามตนเองถึงข้อมูลที่ได้มาจากขั้น S และเปลี่ยนภาษาของปัญหาให้เป็นภาษาของตนเอง เพื่อที่จะ

ช่วยให้นักเรียนเข้าใจปัญหามากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 3 ขั้น R (Read) เป็นขั้นที่นักเรียนอ่านปัญหานั้นอย่าง

33

รอบคอบอกี คร้ังเพ่ือดวู า่ ข้อมูลใดเป็นข้อมูลสำคัญ ข้อมูลใดไม่สำคัญ ข้อมูลที่สำคัญจดบันทึกลงไป
เพื่อนำไปสู่การหาคำตอบของปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้น Q (Question) เป็นขั้นที่นักเรียนถามตนเองถึง
วิธกี ารแก้ปัญหา โดยนำขอ้ มูลจากข้นั ก่อนหนา้ น้มี าวเิ คราะห์ เพ่อื จะนำไปสู่การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
โดยใช้กฎ สูตรนิยามต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ ขั้นที่ 5 ขั้น C (Compute) เป็นขั้นที่นักเรียนแสดง
วิธีการแก้ปัญหา โดยใช้การดำเนนิ การทางคณิตศาสตร์เพอื่ แกป้ ัญหาน้นั ๆ ขัน้ ที่ 6 ข้นั Q (Question)
เปน็ ขัน้ ท่ีนกั เรยี นถามตนเองถงึ การไดม้ าซงึ่ คำตอบเพื่อตรวจสอบว่าคำตอบถูกหรอื ผิด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ซึ่งได้จากคะแนนที่
นกั เรียนทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรอื่ ง โจทยป์ ัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ทผี่ ู้วิจัยสร้างข้นึ

นกั เรยี น หมายถึง ผู้เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนบา้ นเขาสมโภชน์
อำเภอชยั บาดาล จังหวดั ลพบุรี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนกั เรยี น 36 คน
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาสมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว ของ
นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นบา้ นเขาสมโภชน์ สงู ข้ึน

2. เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ของนักเรียนช้นั
มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านเขาสมโภชน์
สมมตฐิ านการวิจัย

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ เรื่อง โจทย์ปัญหาสมการกำลังสองตัว
แปรเดยี ว ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรยี น
เอกสารงานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

การวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนเรื่อง โจทย์ปัญหาสมการกำลัง
สองตัวแปรเดียว โดยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเขา
สมโภชน์ผวู้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ งดังน้ี

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยมีรายละเอียด
ของความสำคญั คณุ ภาพผู้เรียนสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชว้ี ดั ดงั นี้
1. ความสำคัญของหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
กระทวงศึกษาธิการ (2560, หน้า 1) คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมี
เหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน
ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ในชีวิต
จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และศาสตรอ์ นื่ ๆ อันเปน็ รากฐานในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลของชาตใิ ห้มีคณุ ภาพ

34

2.คุณภาพการศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2560, หนา้ 4) ได้เสนอคณุ ภาพของผเู้ รียนเมือ่ จบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
ไวด้ ังน้ี
- มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับนวนจรงิ ความสมั พนั ธข์ องนวนจรงิ สมบัติของจำนวนจริง และ
ใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปญหาในชวี ติ จรงิ
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ใน
การแก้ปญหาในชีวติ จริง
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม และใช้ความรู้ความ
เข้าใจนี้ในการแกป้ ญหาในชีวิตจรงิ
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
และอสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว และใช้ความรู้ความเข้าใจนใี้ นการแกป้ ญหาในชวี ิตจริง
- มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับพหนุ าม การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการกำลงั สองและ
ใช้ความรูค้ วามเข้าใจนใ้ี นการแกป้ ญหาคณติ ศาสตร์
- มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟงก์ชันกำลังสองและใช้
ความร้คู วามเขา้ ใจนีใ้ นการแก้ปญหาในชวี ิตจรงิ
- มีความรู้ความเข้าใจทางเรขาคณิตและใช้เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมท้ัง
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณติ พลวตั อน่ื ๆ เพอ่ื สร้างรปู เรขาคณิต
ตลอดจนนำความรู้เกย่ี วกบั การสร้างนไ้ี ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญหาในชวี ติ จริง
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติและใช้ความรู้
ความเขา้ ใจน้ใี นการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างรปู เรขาคณิตสองมติ ิ และรูปเรขาคณติ สามมิติ
- มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งพ้นื ทผี่ วิ และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมดิ กรวยและ
ทรงกลม และใชค้ วามรู้ความเขา้ ใจนใ้ี นการแกป้ ญหาในชวี ิตจริง
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนาน รูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการรูป
สามเหลี่ยมคล้าย ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการแก้ปญหา
ในชวี ิตจรงิ
- มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองการแปลงทางเรขาคณติ และนำความรคู้ วามเข้าใจน้ไี ปใชใ้ นการ
แก้ปญหาในชีวิตจรงิ
- มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ และนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการ
แก้ปญหาในชีวิตจริง
- มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม และนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ใน
การแกป้ ญหาคณติ ศาสตร์

35

- มีความรู้ความเข้าใจทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
ข้อมลู ทเี่ ก่ยี วข้องกบั แผนภาพจดุ แผนภาพตน้ -ใบ ฮสิ โทแกรม ค่ากลางของขอ้ มลู และแผนภาพกล่อง
และใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจนี้ รวมทงั้ นำสถิตไิ ปใชใ้ นชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม

- มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความนา่ จะเป็นและใช้ความรู้ความเข้าใจน้ีในการแก้ปญหาใน
ชีวิตจรงิ

จากการศกึ ษาคุณภาพผู้เรยี นที่กล่าวมาข้างต้นผู้วจิ ยั สรุปไดด้ ังน้ี ผูเ้ รยี นจะต้องมีความรู้ความ
เข้าใจในเนื้อหาสาระคณิตศาสตร์ มที ักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มเี จตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ และสามารถนำความรู้คณิตศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ซึ่งคุณภาพ
ของผู้เรียนที่ผู้วิจัยยึดเป็นหลักในการทำวิจัยครั้งนี้คือ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในจำนวนตรรกยะ
เลขยกกำลงั อัตราส่วน ร่วมไปถงึ การแกโ้ จทย์ปญั หาได้อยา่ งมหี ลกั แนวคดิ

3. สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ.2560) ได้มี
การจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาระการเรียนรู้ และตัวชี้วัด (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560, หน้า 7-56)
ดงั ต่อไปน้ี
สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ

ของจำนวน ผลที่เกิดขึน้ จากการดำเนินกำร สมบัติของการดำเนนิ การ และ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟงก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปญหาที่
กำหนดให้
สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
และนำไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหวา่ ง รปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้
สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ใิ นการแก้ปญหา
จากเอกสารทเี่ กยี่ วกบั สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ เนื้อหาทีผ่ วู้ ิจยั เลือกในการทำวิจยั คร้ังนี้คือ การแกโ้ จทย์ปัญหาการหาร ซึ่งสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ดั ค 1.3 ม.3/2 ประยกุ ต์ใช้สมกำรกำลังสองตัวแปรเดยี ว
ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์

36

กลวิธเี อสควิ อาร์คิวซีคิว (SQRQCQ)
1. ความเปน็ มาของกลวธิ เี อสควิ อารค์ วิ ซีควิ

จากการศึกษาเอกสารที่กล่าวถึงความเป็นมาของกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว (SQRQCQ) Heidema ได้
กลา่ ววา่ กลวิธีเอสควิ อาร์ควิ ซคี วิ เกิดจากการพัฒนาของ Fay โดยนำกลวิธเี อสควิ ทรีอาร์(SQ3R) ซ่งึ เป็น
กลวิธีเพ่ือพฒั นาการอา่ นรว่ มกบั กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (Polya)

2. ความหมายของกลวธิ เี อสคิวอารค์ ิวซีควิ
กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวเป็นกลวิธีที่ช่วยนักเรียนในการอ่าน โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจปัญหา
ด้วยตนเองและสามารถแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งมีการแบ่งการแก้ปญั หาออกเป็น
ลำดับขั้นตอน
3. ความสำคญั ของกลวิธเี อสคิวอารค์ วิ ซคี วิ
ความสำคัญของกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว(SQRQCQ) เป็นกลวิธีที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
ความสนใจในการแกป้ ัญหา และช่วยผู้เรียนในการแกป้ ญั หาและทำความเข้าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์
จากการศึกษาความสำคัญของกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวผู้วิจัยสรุปได้ว่า กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวเป็น
กลวิธีที่ช่วยให้นักเรียนอ่านจับใจความสำคัญ ทำความเข้าใจปัญหา สามารถช่วยนักเรียนในการ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตรอ์ ยา่ งเป็นลำดบั ขั้นตอน และมีความสมเหตุสมผล
4. ขัน้ ตอนของกลวิธีเอสควิ อาร์คิวซคี ิว
ผวู้ ิจัยไดส้ งั เคราะหข์ นั้ ตอนของกลวธิ ีเอสคิวอารค์ วิ ซีควิ ได้ ดงั นี้

1. ขั้น S (Survey) เป็นขั้นที่นักเรียนอ่านปัญหาทั้งหมดอย่างผ่านๆ เพื่อที่จะรู้ว่า
ปัญหาน้นั เก่ยี วกับเรอ่ื งใดถ้ามีคำบางคำไม่เขา้ ใจนักเรยี นต้อง สอบถามครูหรอื เพื่อนๆ ในช้ันเรียนก่อน
ไปในขั้นถัดไป

2. ขั้น Q (Question) เป็นขั้นที่นักเรียนถามตนเองถึงข้อมูลที่ได้มาจากขั้น Sและ
เปลี่ยนภาษาของปัญหาใหเ้ ป็นภาษาของตนเอง เพ่อื ทจ่ี ะช่วยใหน้ กั เรยี นเข้าใจปัญหามากยงิ่ ข้นึ

3. ขั้น R (Read) เป็นขั้นที่นักเรียนอ่านปัญหานั้นอย่างรอบคอบอีกครั้งเพื่อดูว่า
ข้อมูลใดเป็นข้อมูลสำคัญ ข้อมูลใดไม่สำคัญ ข้อมูลที่สำคัญจดบันทึกลงไปเพื่อนำไปสู่การหาคำตอบ
ของปัญหา

4. ข้นั Q (Question) เปน็ ขัน้ ทน่ี ักเรยี นถามตนเองถงึ วธิ ีการแกป้ ัญหา โดยนำข้อมูล
จากขั้นก่อนหน้านีม้ าวิเคราะห์ เพื่อจะนำไปสู่การแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ โดยใช้ กฎ สูตร นิยามต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์

5. ขั้น C (Compute) เป็นข้นั ท่นี ักเรียนแสดงวิธีการแก้ปญั หา โดยใชก้ ารดำเนนิ การ
ทางคณติ ศาสตรเ์ พ่อื แก้ปญั หานน้ั

6. ขั้น Q (Question) เป็นขั้นที่นักเรียนถามตนเองถึงการได้มาซึ่งคำตอบเพื่อ
ตรวจสอบว่าคำตอบถกู หรอื ผดิ และมคี วามสมเหตสุ มผลหรือไม่

37

5. บทบาทของครใู นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวธิ เี อสคิวอาร์คิวซีควิ
จากการศึกษาบทบาทครูของการจัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้กลวธิ เี อสคิวอาร์คิวซีคิวสรุปได้
ว่า ครเู ป็นผู้คอยชี้แจงให้นักเรียนฝึกแกป้ ัญหา โดยใหน้ ักเรียนดำเนินการแกป้ ัญหาด้วยตนเอง และครู
คอยเป็นผสู้ นับสนนุ ใหน้ กั เรียนดำเนินการตามข้ันตอนในการแกป้ ัญหาได้อย่างถูกต้อง
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
1.ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทำให้สรุปได้ว่าเป็นคุณลักษณะรวมถึงความรู้
ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอนในอดีตหรือปัจจุบัน ทำให้บุคคลเกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพสมอง โดยเป็นผลจากการประเมินความรู้
ทางด้านเนื้อหาวิชาการเป็นหลัก เน้นความตรงเชิงเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
การศกึ ษาเป็นสำคญั
2. ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณติ ศาสตร์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สรปุ ได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง
ความรู้ ความสามารถทางสตปิ ัญญาในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตรเ์ ร่ืองการแก้โจทย์ปัญหาการหาร ซึ่ง
จำแนกตามพฤติกรรมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่พึงประสงค์ด้านพุทธิพิสัยออกเป็น 4 ระดับ คือ 1)
ความรู้ ความจำ 2) ความเขา้ ใจ 3) การนำไปใช้ 4) การวิเคราะห์
3. ความหมายแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
จากการศึกษาได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สรุปได้ว่า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง
วิชาการตา่ งๆ ทผ่ี ู้เรียนไดเ้ รียนรผู้ ่านมาแลว้ ว่าบรรลุผลสำเร็จจามจุดประสงค์ทก่ี ำหนดไว้เพยี งใด
4. วิธีสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนคณติ ศาสตร์
จากการศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผู้วิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาวิเคราะห์มาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ และเน้ือหาวชิ าคณิตศาสตร์ท่ีต้องการวัด 2) วเิ คราะห์จุดประสงค์
การเรียนรทู้ ่ตี ้องการใหเ้ กิดแกผ่ ูเ้ รียนในแตล่ ะเน้ือหาวชิ า 3) วเิ คราะหร์ ะดับพฤตกิ รรมทต่ี ้องการวดั ซึ่ง
พฤติกรรมที่จะวัดในวิชาคณิตศาสตร์เป็นพฤติกรรมระดับความรู้/ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้
และการวเิ คราะห์ จากน้นั สร้างตารางวิเคราะหข์ อ้ สอบจำแนกตามพฤติกรรมทีต่ ้องการวัดในแต่เนื้อหา
4) วิเคราะห์พฤติกรรมที่ต้องการวัดในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ 5) กำหนดลักษณะของข้อสอบ
และทำการสรา้ งขอ้ สอบตามพฤตกิ รรมที่ต้องการวัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สร้างขน้ึ
5.ลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ ่ีดี
จากการศึกษาลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ดีของนักการศึกษาหลายท่านผู้วิจัย
สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ดีนั้นต้องวัดได้ตรงตามจุดมุ่งหมาย เป็นแบบทดสอบที่มี

38

ประสิทธิภาพในการวัดโดยมีค่าความตรง ความเชื่อม่ัน ความยาก อำนาจจำแนก ในระดับทไ่ี ด้กำหนด
ไว้ เพอ่ื เป็นเกณฑ์ในการพจิ ารณา

งานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในประเทศ
สิรภพ สินธุประเสริฐ (2559) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมี
ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับคำถามระดับสูง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี
ระดับ 0.05
ศุจินันท์ เสนาธรรม (2555) ได้ทำวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยกลวิธี SQRQCQ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 4 ผลการวจิ ยั พบว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้
เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยกลวิธี SQRQCQ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่า
เกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกำหนดไว้รอ้ ยละ 75
สมสัตย์ แทนคำ (2549) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธี SQRQCQ กับการสอน
ตามคู่มือครู ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธี SQRQCQ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สูงกว่านักเรียน
ดว้ ยการสอนตามคมู่ ือคู่ และมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ หลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี น
ปานใจ ไซยวรศิลป์ (2549) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการแก้
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธี SQRQCQ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้าน
ป่ายาง อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ผลการการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ี
ได้รับการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยกลวิธี SQCQRQ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย
รอ้ ยละ 87.80 ซง่ึ สูงกวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ 60 ทโี่ รงเรยี นต้งั ไว้
สมสัตย์ แทนคำ (2549) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ไี ด้รบั การสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนตาม
กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวกับการสอนตามคู่มือครู ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้
กลวธิ เี อสควอิ าร์ควิซคี ิว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์เร่ือง การแกโ้ จทย์ปัญหาของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการสอนตามคู่มือครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .01 2) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์ควิ ซีคิว หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคญั
ทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.01

39

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเกี่ยวกับกลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิวและ
คำถามระดับสูงพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว ทำให้นักเรียนได้
เรียนรเู้ กย่ี วกบั การแกป้ ัญหาและช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาได้ นอกจากนกี้ ารใช้คำถาม
ยงั ชว่ ยกระต้นุ ความคดิ ในการแกป้ ัญหา นักเรียนจงึ ไดเ้ รียนรดู้ ้วยตนเองมากขึน้ นักเรียนมโี อกาสแสดง
ความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความคิดได้อย่างเต็มความสามารถ ส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในการ
แกป้ ญั หาและผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตรไ์ ดด้ ี
วิธดี ำเนินการวิจยั

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรท่ใี ชใ้ นการวิจัยในครั้งนเ้ี ป็นนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นโรงเรียนบ้านเขา
สมโภชน์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน
จำนวนนกั เรียน 17 คน

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
1. แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยเทคนิค
กลวธิ ี SQRQCQ สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัว
แปรเดียว เปน็ แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จำนวน 20 ขอ้
วธิ เี กบ็ รวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้เริ่มดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงวันที่ 1 กันยายน
2564 จนถงึ วันที่ 5 กันยายน 2564 เปน็ เวลา 1 สปั ดาห์ และแบง่ เป็นการจดั การเรียนรู้เป็นคาบเรียน
คาบเรยี นละ 1 ชัว่ โมงรวมท้งั ส้นิ 3 คาบเรียน แบง่ เปน็ การจัดการเรยี นรดู้ ังนี้

คาบเรียนที่ 1 ชี้แจงการทำวิจัยให้นักเรียนทราบ บอกว่าจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์
โดยการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ และให้นักเรียนทำการทดสอบก่อนการจัดการ
เรยี นรู้ (Pre-test) โดยการทำแบบทดสอบการแกโ้ จทย์ปัญหาสมการกำลงั สองตัวแปรเดยี วทงั้ 20 ขอ้

คาบเรียนที่ 2 ผู้วิจัยจัดการเรียนการสอนการแก้โจทย์ปัญหาสมการกำลังสองตัว
แปรเดียว และอธิบายการแก้โจทย์ปัญหาสมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยวิธี SQRQCQ จากนั้นจึง
ยกตวั อย่างการแกโ้ จทยป์ ญั หาสมการกำลังสองตัวแปรเดยี ว

คาบเรียนที่ 3 หลังจากการเรียนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ แล้วทำการ
ทดสอบหลังการจัดการเรียนรู้ (Post-test) ในการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิคกลวิธี SQRQCQ นำ
คะแนนที่ได้จากการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการสอนโดยใช้กลวิธี SQRQCQ มาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อให้
ทราบถงึ ผลสัมฤทธ์ใิ นการจัดการเรียนรแู้ ละทำการสรุปผลวิจยั

40

การวเิ คราะห์ข้อมูล

1. ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

1.1 หาคา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.2 หาค่าความยากง่าย (P) ค่าอำนาจจำแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของ

แบบทดสอบดว้ ยวิธีของคเู ดอร์ รชิ าร์ดสนั (Kuder Richardson) โดยใช้สตู ร KR - 20

วิเคราะห์ทดสอบผลการเปรียบเทียบคะแนนความมีวินัยในตนเองระหว่างก่อนร่วมกิจกรรม

และหลงั ร่วมกิจกรรมโดยใช้การทดสอบที (T-test dependent)

สถิติพ้ืนฐานทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู

1. คะแนนเฉลีย่ (Mean, X̅) มีสตู รทใ่ี ช้ในการคำนวณดังนี้

X̅= ∑x
N
เมือ่ X̅ แทน คะแนนเฉล่ยี

∑x แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ่ม

N แทน จำนวนนักเรียนในกลมุ่ ตวั อยา่ ง

2. ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation, S.D.)

S.D. = √X ∑ X2-( ∑ X)2
N(N-1)

เมือ่ S.D. แทน คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน

∑x2 แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ่ม

(∑x)2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวยกกำลังสอง

N แทน จำนวนนักเรยี นในกลุ่มตวั อย่าง

สถิติทใี่ ชใ้ นการหาคณุ ภาพเครื่องมือ

1. ค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการแก้โจทย์ปัญหา

การหาร และแบบวัดความพึงพอใจในการเรียน โดยพิจารณาความสอดคล้อง (Item objective

Index : IOC) มีสูตรทีใ่ ช้ในการคำนวณดังนี้

IOC= ∑R
N

เมอื่ IOC แทน ดชั นคี วามสอดคล้อง

∑ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ช่ยี วชาญ

N แทน จำนวนผ้เู ชี่ยวชาญทง้ั หมด

2. สัมประสิทธิ์แอลฟา (α – Coefficient) ของแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการแก้

โจทย์ปญั หาการหาร และแบบวดั ความพึงพอใจในการเรียนร จากสูตร
∑SS2t 2i ]
α= N 1 [1-
N-

41

เมอ่ื α แทน ค่าความเช่อื มั่นของแบบทดสอบ

N แทน จำนวนขอ้ สอบของแบบทดสอบ

∑ S2i แทน ผลรวมความแปรปรวนของขอ้ สอบในแต่ละขอ้
S2t แทน ความแปรปรวนของข้อสอบทงั้ หมด
3. คา่ ความยากง่ายของข้อสอบ (P,Item difficulty) เป็นค่าท่วี ัดสัดสว่ นของผู้สอบที่

ตอบข้อสอบน้นั ถูก โดยคำนวณจากสูตร P= Rh+Rl
เมือ่ P nh+nl
แทน ค่าความยากง่ายของขอ้ สอบแตล่ ะขอ้

Rh แทน จำนวนนักเรยี นทต่ี อบถกู ในกล่มุ สงู
Rl แทน จำนวนนักเรียนทต่ี อบถกู ในกลุ่มตำ่
nh แทน จำนวนนกั เรียนในกล่มุ สูง
nl แทน จำนวนนกั เรยี นในกล่มุ ตำ่
4. ค่าความสามารถในการจำแนกผู้สอบตามระดับความสามารถ ( R, Item

discrimination) เป็นคุณสมบัติที่บ่งบอกถึงความสามารถของข้อสอบที่จำแนกเด็กเก่ง และเด็กอ่อน

จะมีคา่ r เป็นดัชนีชี้บ่งให้ทราบวา่ ข้อสอบข้อใดมีอำนาจจำแนกสูง โดยคำนวณจากสตู ร
Rh+Rl
R= Nh+l

เมอ่ื R แทน ค่าอำนาจการจำแนก

Rh แทน จำนวนข้อถูกนกั เรียนในกลมุ่ สงู
Rl แทน จำนวนขอ้ ถกู นกั เรยี นในกลุ่มต่ำ
Nh+l แทน จำนวนนกั เรียนทงั้ หมดของกลมุ่ สูงและกลมุ่ ต่ำ
5. หาค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์แบบ

ปรนัย โดยคำนวณจากสตู ร KR – 20

rtt = k [1- ∑S2tpq]
k-1

เมอื่ rtt แทน ค่าความเช่อื มั่นของแบบทดสอบ

k แทน จำนวนขอ้ สอบแบบทดสอบ

p แทน สดั สว่ นจำนวนคนตอบถกู แตล่ ะข้อ

q แทน สดั สว่ นจำนวนคนตอบผดิ แตล่ ะขอ้

S2t แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งหมด

42

สถิติท่ีใช้ในการทดสอบสมมติฐาน

1. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมตฐิ าน ก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้การทดสอบที

(T-test dependent Samples) โดยคำนวณจากสูตร

t= √n ∑D ∑ D)2

∑ D2-(

n-1

เม่อื t แทน ค่าสถิตทิ ่ใี ชต้ รวจสอบความแตกต่างกอ่ นและหลังเรยี น

∑ D แทน ผลรวมความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่

∑ D2 แทน ผลรวมกำลงั สองความแตกต่างของคะแนนแตล่ ะคู่

(∑ D)2 แทน ผลรวมท้งั หมดกำลงั สองของความแตกตา่ งของคะแนน

n แทน จำนวนนกั เรียน

เอกสารอ้างองิ

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) (พมิ พ์ครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) (พิมพ์ครั้งที่ 1). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ (พมิ พค์ ร้ังท่ี 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

จักรพันธ์ ทองเอียด. (2540). การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
คณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธีเอสคิวอาร์คิวซีคิว สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา
ประถมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั , จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ชมนาด เชอื้ สุวรรณทวี. (2542). การสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน,
คณะศกึ ษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปฤศนี พจนา. (2555). ผลของการใช้เทคนิคเอสคิวอาร์คิวซีคิวในการแก้ปัญหาปลายเปิดที่มีต่อ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและความคงทนในการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์,
บัณฑติ วิทยาลยั , จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ปานใจ ไชยวรศิลป์ . (2549). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนการแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์โดยใช้
กลวิธี SQRQCQ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านป่ายาง อำเภอแม่สาย

43

จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน,
บัณฑติ วิทยาลยั , มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2552). หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:เฮ้าส์
ออฟเคอร์มสิ ท.์
รญั จวน คำวชิรพทิ ักษ.์ (2538). จติ วิทยาการส่อื สารในชนั้ เรยี น. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลัย-
สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. (2543). เทคนคิ การวดั ผลการเรียนร(ู้ พิมพ์คร้ังท่ี 2).กรงุ เทพฯ: สุวีริ
ยาสาส์น.
เวชฤทธ์ิ องั กนะภัทรขจร. (2555). ครบเคร่ืองเร่ืองควรร้สู ำหรบั ครคู ณติ ศาสตร:์ หลักสตู รการสอน
และการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: จรลั สนทิ วงศ์การพิมพ์.
ศุจินันท์ เสนาธรรม (2554). ผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรือ่ งการแกโ้ จทย์
ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยกลวิธี SQRQCQ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบบณั ฑติ , สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย
ศศิธร แม้นสงวน. (2556). พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์2(พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.

สมสัตย์ แทนคำ. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทไี่ ด้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนตามกลวธิ ีSQRQCQ กับ
การสอนตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและ
การสอน, บัณฑิตวทิ ยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธาน.ี

สริ ภพ สนิ ธุประเสริฐ. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กลวธิ เี อสคิวอาร์คิวซีคิวร่วมกับ
คำถามระดับสูงทมี่ ีตอ่ ความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตร์
เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การสอนคณิตศาสตร์, มหาวิทยาลัยบรู พา.

44

ปว.1-6
แบบประเมินการปฏบิ ตั ิตนของนักศึกษา
ช่ือ………………น…า…งส…า…ว…ศศ…ิธ…ร…ช…า้ …งป…่า…ต…น้ ………………….. สาขาวชิ า………………คณ…ิต…ศ…า…ส…ตร…์ …………………..
รหัสประจำตัว……61…1…1…52…0…0…20…8……………………ช่อื โรงเรยี น…………บ…า้ น…เ…ขา…ส…ม…โภ…ช…น…์ ……………………….

คำชแี้ จง ขอใหค้ รูพ่ีเล้ยี งของโรงเรยี นประเมินการปฏิบตั ิงานของนักศึกษาตามรายการท่ีกำหนด
โดยพจิ ารณารายการประเมนิ แล้วทำเครอื่ งหมาย  ลงในช่องผลการประเมิน

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ
ดมี าก พอใช้ ควร
1.แตง่ กายสะอาด สภุ าพเรยี บร้อย
2.แสดงกิรยิ ามารยาทเหมาะสมกับความเปน็ ครู ปรับปรงุ
3.ใชว้ าจาสภุ าพ 2 10
4.มมี นุษยสมั พันธท์ ่ีดี 
5.ทำงานเป็นระเบียบเรยี บร้อย 
6.มคี วามรับผิดชอบต่องานทรี่ ับมอบหมาย 
7.มีความเอาใจใสแ่ ละใฝร่ ใู้ นงานครู 
8.มคี วามรคู้ วามสามารถปฏบิ ัติงานท่ีได้รัมอบ 
หมาย 
9.มคี วามต้งั ใจในการทำงาน 
10.ปฏบิ ัติงานตรงเวลา 

รวม 
รวมคะแนนทั้งหมด 
20

20

ลงชอื่ ………………………………………….ครูพีเ่ ล้ียง
(ว่าทรี่ อ้ ยตรีหญิงเวนกิ า ไกรสำโรง)
……2..3…../………ก….ย…. …../……6…4…….

45

ปว.1-7

แบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้

รโรางยเวริชียาน....................บ.ค....า้ณ....น...ิต..เ...ศข....าา....สส.....มต.....รโ...ภ.์ ....ช.....น.....์.............ภ...า..ค..เ..ร..ีย..น...ท..่ี.......ค..ร..1ูผ...ู้ส...อ.ชนนั้ ......ว....่า....ท....ม..ร่ี .....อ้ .1...ย.....ต.....ร...ปีห...กีญ..า.งิ .ร.เ.วศ..น.ึก..ิกษ..า.า...ไ...ก.....ร....ส.....ำ.2...โ.5..ร...6.ง...4...................
กลุม่ สาระการเรยี นรู้.............ค..ณ....ิต..ศ...า..ส..ต..ร..์..............................................................................................
คำชแ้ี จง โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับการประเมนิ

ระดับการประเมิน 5 หมายถึง ดมี าก ระดบั การประเมิน 4 หมายถงึ ดี
ระดับการประเมิน 3 หมายถงึ พอใช้ ระดบั การประเมิน 2 หมายถงึ ปรับปรุง
ระดับการประเมนิ 1 หมายถึง ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน ระดบั การประเมิน

5432 1
-
1. กำหนดมาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั /จดั ประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมพฤติกรรม 

การเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสยั ทักษะพสิ ัย และจิตพิสยั

2. ความสอดคล้องมาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั /สาระสำคัญและกิจกรรม 

การเรียนรู้

3. กจิ กรรมการเรียนรู้มีความครอบคลุมการพัฒนาผ้เู รยี นให้มีความรู้ 

ทักษะกระบวนการ สมรรถนะท่ีสำคัญของผเู้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ

ประสงค์

4. กิจกรรมการเรยี นร้ตู อบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้หลากหลายและเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ 

6. นำภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและส่ือเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการ 

สอน

7. สือ่ การเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสมสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นการสอน 

8. ประเมนิ ความกา้ วหน้าของผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั 

ธรรมชาติวชิ า

9. วเิ คราะห์ผลการประเมนิ แล้วนำมาใชใ้ นการสอนซ่อมเสริม 

10. วิธวี ัดและเคร่ืองมือวดั สอดคล้องกับพฤตกิ รรมท่กี ำหนดไวใ้ นตวั ชว้ี ัด 

หรอื จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

รวม/สรปุ ผล 25 20 - -

รวม/เฉล่ีย สรุปผล 4.5

ข้อคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. ...................................

................................................................................................ ................................................................

46

แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวิชา.........ค..ณ...ิต...ศ..า..ส..ต...ร..์ ...............ภาคเรยี นท่ี......1.........ช้ัน......ม....2.........ปีการศึกษา........2..5..6..4............
โรงเรยี น........บ..้า..น...เ.ข...า..ส..ม..โ..ภ..ช...น..์..............................ครูผ้สู อน...ว..า่ ..ท..่รี..อ้...ย..ต..ร..ีห...ญ...ิง..เ.ว..น...ิก..า....ไ.ก...ร..ส..ำ..โ.ร..ง.............
กลุ่มสาระการเรียนรู้...........ค..ณ....ิต..ศ...า..ส..ต..ร..์.................................................................. ..............................
คำชแ้ี จง โปรดเขยี นเคร่ืองหมาย  ลงในช่องทตี่ รงกับระดับการประเมนิ

ระดบั การประเมิน 5 หมายถึง ดีมาก ระดบั การประเมนิ 4 หมายถึง ดี
ระดับการประเมนิ 3 หมายถงึ พอใช้ ระดบั การประเมิน 2 หมายถงึ ปรับปรุง
ระดบั การประเมนิ 1 หมายถงึ ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน ระดบั การประเมิน

54321

1. กำหนดมาตรฐาน/ตวั ชี้วัด/จัดประสงค์การเรยี นรู้ครอบคลมุ 

พฤติกรรมการเรยี นรู้ด้านพุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ัย และจติ พิสยั

2. ความสอดคล้องมาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ัด/สาระสำคัญและ 

กจิ กรรมการเรยี นรู้

3. กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความครอบคลุมการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้ 

ทักษะกระบวนการ สมรรถนะทสี่ ำคัญของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั

พึงประสงค์

4. กจิ กรรมการเรยี นรตู้ อบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 

5. กจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลากหลายและเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั 

6. นำภมู ิปัญญาท้องถนิ่ และสือ่ เทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี น 

การสอน

7. ส่ือการเรียนรมู้ คี วามเหมาะสมสอดคล้องกับกจิ กรรมการเรยี น 

การสอน

8. ประเมนิ ความก้าวหน้าของผเู้ รียนด้วยวธิ ที ่หี ลากหลายเหมาะสม 

กับธรรมชาติวชิ า

9. วิเคราะหผ์ ลการประเมินแล้วนำมาใช้ในการสอนซ่อมเสรมิ 

10. วิธวี ดั และเครือ่ งมือวัดสอดคลอ้ งกับพฤติกรรมท่ีกำหนดไวใ้ น 

ตัวช้ีวดั หรือจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

รวม/สรุปผล 25 12 6

รวม/เฉล่ยี สรุปผล 4.3

ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. ...................................

................................................................................................ ................................................................

............................................................................................................................. ...................................

47

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา.........ค..ณ...ิต...ศ..า..ส..ต...ร..์ ...............ภาคเรียนท่ี......1.........ชน้ั ......ม.....3.........ปกี ารศึกษา........2..5..6..4............
โรงเรยี น........บ..้า..น...เ.ข...า..ส..ม..โ..ภ..ช...น..์..............................ครูผสู้ อน...ว..่า..ท..่รี..อ้...ย..ต..ร..หี...ญ...งิ..เ.ว..น...กิ..า....ไ.ก...ร..ส..ำ..โ.ร..ง.............
กลุ่มสาระการเรียนรู้...........ค..ณ....ิต..ศ...า..ส..ต..ร..์................................................................................................
คำชแ้ี จง โปรดเขยี นเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั การประเมิน

ระดบั การประเมิน 5 หมายถึง ดีมาก ระดบั การประเมนิ 4 หมายถงึ ดี
ระดับการประเมนิ 3 หมายถงึ พอใช้ ระดบั การประเมนิ 2 หมายถงึ ปรับปรุง
ระดบั การประเมนิ 1 หมายถงึ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน

รายการประเมนิ ระดบั การประเมนิ

54321

1. กำหนดมาตรฐาน/ตวั ชี้วัด/จดั ประสงค์การเรยี นรูค้ รอบคลุม 

พฤติกรรมการเรยี นรู้ด้านพุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสยั และจติ พสิ ัย

2. ความสอดคล้องมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด/สาระสำคัญและ 

กจิ กรรมการเรยี นรู้

3. กจิ กรรมการเรยี นรู้มคี วามครอบคลุมการพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ 

ทักษะกระบวนการ สมรรถนะทสี่ ำคัญของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอัน

พึงประสงค์

4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 

5. กจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลากหลายและเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั 

6. นำภมู ิปัญญาท้องถนิ่ และสอื่ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี น 

การสอน

7. ส่ือการเรียนรมู้ คี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี น 

การสอน

8. ประเมนิ ความก้าวหน้าของผ้เู รียนด้วยวธิ ีท่หี ลากหลายเหมาะสม 

กับธรรมชาติวชิ า

9. วิเคราะหผ์ ลการประเมินแล้วนำมาใชใ้ นการสอนซ่อมเสริม 

10. วิธวี ดั และเครือ่ งมือวัดสอดคลอ้ งกับพฤตกิ รรมทีก่ ำหนดไว้ใน 

ตัวช้ีวดั หรือจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

รวม/สรุปผล 25 20 - - -

รวม/เฉล่ยี สรปุ ผล 4.5

ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. ...................................

................................................................................................ ................................................................

............................................................................................................................. ...................................

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้