สรุป ความน่าจะเป็น ม. 4 pdf

Probability

ความน่าจะเป็น

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15
เสนอ

ครูรสชกร บุบผาคำ

ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

01 เนื้อหา

หลักการบวก
หลักการคูณ
แฟกทอเรียล
การเรียงสับเปลี่ยน
การทดลองสุ่ม
แซมเปิลสเปซ
เหตุการณ์

02 แบบฝึกหัด
03 แบบทดสอบ

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

เนื้อหา

คณิตศาสตร์ ม.4

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

หลักการบวก

ถ้าการทำงานหนึ่งมีวิธีการทำงาน k วิธี คือ วิธีที่ 1 ถึงวิธีที่ k โดยที่
การทำงานวิธีที่ 1 มีวิธีทำ n1 วิธี
การทำงานวิธีที่ 2 มีวิธีทำ n2 วิธี

::
การทำงานวิธีที่ k มีวิธีทำ nk วิธี
และวิธีการทำงานแต่ละวิธีแตกต่างกัน แล้วจำนวนวิธีทำงานนี้เท่ากับ
n1+n2+…+nk วิธี

ตัวอย่าง

นักเรียน 3 คนต้องการเข้าและออกห้องห้องหนึ่งซึ่ง
มีประตู 3 บาน โดยนักเรียนคนที่ 1 เข้าและออกโดยใช้
ประตูบานเดียว นักเรียนคนที่ 2 เข้าและออกโดยไม่ใช้
ประตูบานเดิม และนักเรียนคนที่ 3 เข้าและออกโดยใช้
ประตูบานใดก็ได้ จงหาจำนวนวิธีที่นักเรียนทั้ง 3 คนเข้า
และออกห้องนี้

วิธีทำ นักเรียนคนที่ 1 มีวิธีเข้าและออกได้ 3 วิธี

นักเรียนคนที่ 2 มีวิธีเข้าและออกได้ 6 วิธี
นักเรียนคนที่ 3 มีวิธีเข้าและออกได้ 9 วิธี
ดังนั้น วิธีที่นักเรียนทั้ง 3 คนเข้าและออกห้องนี้มี
ทั้งหมด 3+6+9 = 18 วิธี

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

หลักการคูณ

ถ้าการทำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วยการทำงาน k ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ถึง
ขั้นตอนที่ k ตามลำดับ โดยที่
การทำงานขั้นตอนที่ 1 มีวิธีทำ n1 วิธี
การทำงานขั้นตอนที่ 2 มีวิธีทำ n2 วิธี
การทำงานขั้นตอนที่ 3 มีวิธีทำ n3 วิธี
::
การทำงานขั้นตอนที่ k มีวิธีทำ nk วิธี
และวิธีการทำงานแต่ละวิธีแตกต่างกัน แล้วจำนวนวิธีการทำงานนี้เท่ากับ
n1n2n3…nk วิธี

ตัวอย่าง

บริษัทผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปแห่งหนึ่งผลิตเสื้อ 6
แบบ กางเกง 5 แบบและเนคไท 4 แบบ ถ้าจะจัด
แต่งตัวให้กับหุ่นเพื่อนำไปโชว์หน้าร้าน จะสามารถ
แต่งเป็นชุดต่างๆกันได้กี่ชุด

วิธีทำ ในการแต่งตัวให้กับหุ่นมี 3 ขั้นตอน คือ

ขั้นตอนที่ 1 เลือกเสื้อได้ 6 วิธี
ขั้นตอนที่ 2 เลือกกางเกงได้ 5 วิธี
ขั้นตอนที่ 3 เลือกเนคไทได้ 4 วิธี
ดังนั้น วิธีการแต่งตัวให้กับหุ่นทำได้ทั้งหมด
6×5×4 = 120 วิธี

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แฟกทอเรีนล

แฟกทอเรียล คือ ผลคูณของจำนวนเต็มบวกทั้งหมดตั้งแต่ n ลงไป
หรือก็คือ ผลคูณต่อเนื่องตั้งแต่ 1 ไปถึง ท โดยที่ n แทนเลขที่เป็น
แฟกทอเรียล Factorial ต้องเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งจะเขียนเป็น
สัญลักษณ์ n! (อ่านว่า แฟกทอเรียล)

ตัวอย่างเช่น 5! จะอ่านว่า แฟกทอเรียล 5 (Factorial 5) หมายถึง
ผลคูณของจำนวนเต็มบวกทุกตัวเลขตั้งแต่ 5 ลงไป ดังนั้น 5! หรือ
แฟกทอเรียล 5 ก็คือ 5x4x3x2x1 = 120

ตัวอย่าง

0! = 1
1! = 1
2! = 2×1 = 2
3! = 3•2•1 = 6
4! = 4•3•2•1 = 24
5! = 5•4•3•2•1 = 120
6! = 6•5•4•3•2•1 = 720

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

การเรียงสับเปลี่ยน

กรณีที่ 1 n!

กรณีที่ 1 เป็นโจทย์ที่มีคำว่า แตกต่างกัน / n!
แตกต่างกันหมด จะใช้เป็นการนำเลขใน
โจทย์ที่มีอยู่ตัวเดียว แล้วนำเลขที่ได้มาใส่ n!
แทนตัว ท ใน n! และคำนวณเลขที่ได้
n!
ตัวอย่าง
n!
จัด นร.4คน เพื่อยืนถ่ายรูปในแนวตรงได้
ทั้งหมดกี่วิธี n!
วิธีทำ 4! = 4×3×2×1

= 24

มีตัวอักษร A,B,C,D,E,F นำมาเรียงเป็นแถว
จะได้ทั้งหมดกี่วิธี
วิธีทำ 6! = 6×5×4×3×2×1

= 720

มีหนังสืออยู่ 3 เล่มที่แตกต่างกันนำมาเรียง
กันจะได้กี่วิธี
วิธีทำ 3! = 3×2×1

=6

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

การเรียงสับเปลี่ยน Pn,r =

กรณีที่ 2 n!
(n-r)!
กรณีที่ 2 เป็นโจทย์ที่มีคำว่า สุ่ม / เลือก /
หยิบ เป็นการนำเลขในโจทย์ที่มี จำนวนมาก
สุดมาแทนใน (n) และ นำเลขที่มีจำนวนน้อย
สุดมาแทนใน (r) โดยจะใช้ P(n,r)

ตัวอย่าง

จัดนร.8คน เลือกนร.มาช่วยยกของ2คนจะมี
ทั้งหมดกี่วิธี
วิธีทำ P8,6 = 8! = 8! = 8×7×6!

(8-2)! 6! 6!

= 8×7 = 56

มีลูกบอลทั้งหมด4สีที่แตกต่างกัน สุ่มหยิบ
มา3ลูกจะมีทั้งหมดกี่วิธี
วิธีทำ P4,3 = 4! = 4! = 4×3×2×1!

(4-3)! 1! 1!

= 4×3×2 = 24

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

การเรียงสับเปลี่ยน

กรณีที่ 3 n!
n!
กรณีที่ 3 เป็นโจทย์ที่มีการซ้ำกันอยู่ จะใช้ n
เป็นการนำเลขในโจทย์ที่มีอยู่ มาบวกกันนะ
ได้ n! ทีเป็นตัวข้างบนแล้วนำเลขที่เป็น
ตัวประกอบในการบวก ท! กันมาใส่ใน n! ที่
อยู่ข้างล่างและคำนวณเลขที่ได้โดยใช้

ตัวอย่าง ×n!...n!
นำตัวอักษรจากคำว่า School มาเรียงสลับใหม่ได้ทั้งหมดกี่วิธี

วิธีทำ s = 1 , c = 1 , h = 1 , o = 2 , l = 1

n! = 6! = 6×5×4×3×2!

n!×n!...n! 1!×1!×1!×2!×1! 2!

= 6×5×4×3×2! = 360

มีธงอยู่5สี จำนวน10ผืน ผืนละ2สี มาเรียงสลับในแนวตรงได้

ทั้งหมดกี่วิธี

วิธีทำ ส¹ = 2 , ส² = 2 , ส³ = 2 , ส⁴ = 2 ,4ส2⁵ = 2 2
n! = 10! =10×9×8×7×6×5×4×3×2×1

n!×n!...n! 2!×2!×2!×2!×2! 2×2×2×2×2

= 10×9×2×7×6×5×3 = 113,400

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

การทดลองสุ่ม

การทดลองสุ่ม คือ การทดลองใดๆที่มีผลลัพธ์ที่เป็นไปได้
มากกว่าหนึ่งอย่างทำให้ไม่สามารถบอกผลลัพธ์ที่แน่นอนได้
ล่วงหน้า แต่ทราบผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดถ้าการทดลอง
ใดๆมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเพียงอย่างเดียวเท่านั้น หรือ ไม่ทราบ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เรียกว่า การทดลองที่ไม่ใช่การทดลองสุ่ม

ตัวอย่าง

การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ เป็นการทดลอง
สุ่ม เพราะเรารู้ขอบเขตของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร

ได้บ้างแต่ยังไม่ทราบว่าเหรียญจะหงายหัว
หรือก้อย ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง

การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย เป็นการทดลองสุ่ม
เพราะเรารู้ขอบเขตของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร

ได้บ้างแต่ยังไม่ทราบว่าลูกเต๋าหงายหน้าอะไร
ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง

การนำ 2 ไปบวกกับ 3 ไม่เป็นการทดลองสุ่ม
เพราะผลลัพธ์เท่ากับ 5 เพียงอย่างเดียวเท่านั้น

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แซมเปิลสเปซ

เซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม
และเป็นสิ่งที่เราสนใจ เรานิยมใช้สัญลักษณ์ S แทนแซมเปิล
สเปซ จากความหมายของแซมเปิลสเปซ แสดงว่า ในการ
ทดลองหรือการกระทำใด ๆ ก็ตาม ผลลัพธ์ที่มีโอกาสจะเกิด
ขึ้นได้ต้องเป็นสมาชิกในแซมเปิลสเปซทั้งสิ้น

ตัวอย่าง

การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ 2ครั้ง 1เหรียญ
จะได้แซมเปิบสเปซของการโยนเหรียญอย่างไร
แซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่ม s = หัวหัว
หัวก้อย ก้อยหัว ก้อยก้อย

ทอยลูกเต๋า1ลูก1ครั้ง จงหาแซมเปิลสเปซของการ
ทอยลูกเต๋า
แซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่ม s = 1,2,3,4,5,6

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

เหตุการณ์ สูตร

ให้ S เป็นแซมเปิลสเปซ ซึ่งแต่ละผลลัพธ์ใน S มี
โอกาสเกิดขึ้นเท่าๆกัน E เป็นสับเซตของ S
ให้ P(E) เป็นสัญลักษณ์แทน ความน่าจะเป็นของ
เหตุการณ์ E เราสามารถหา P(E) ได้ดังนี้

ตัวอย่าง

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

แบบฝึกหัด

คณิตศาสตร์ ม.4

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบฝึกหัด

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบฝึกหัด

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบฝึกหัด

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบฝึกหัด

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

แบบทดสอบ

คณิตศาสตร์ ม.4

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบทดสอบ

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบทดสอบ

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

คณิตศาสตร์ ม.4 ความน่าจะเป็น
PROBABILITY

แบบทดสอบ

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

THANK YOU

ครูรสชกร บุบผาคำ

นายสิทธิพล พุทสิริ ม.4/8 เลขที่15

ผู้จัดทำ


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้