ชุดกิจกรรม เรื่อง เชื้อเพลิง ธรรมชาติ ม. 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

Description: ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

Read the Text Version

No Text Content!

    Pages:

  • 1 - 26

ÃÒÂÇªÔ ÒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ 3 ÃËÊÑ ÇªÔ Ò Ç22102 ª´Ø ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ãnj٠·Ô ÂÒÈÒʵÏ àÃè×ͧ àªé×Íà¾Å§Ô «Ò¡´¡Ö ´Òí ºÃþ ªé¹Ñ Á¸Ñ ÂÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·Õè 2 ¹ÒÂÍØ¡ÄÉ® ÁÒÃСŠµÒí á˹‹§ ¹¡Ñ ÈÖ¡ÉÒ½¡ƒ »¯ÔºµÑ Ô¡ÒÃÊ͹ã¹Ê¶Ò¹ÈÖ¡ÉÒ 2 âçàÃÕ¹ķ¸ÔÂÐÇÃóÒÅÑ á¢Ç§¤Åͧ¶¹¹ ࢵÊÒÂäËÁ ¨Ñ§ËÇ´Ñ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 椄 ¡Ñ´ ÊíÒ¹¡Ñ §Ò¹à¢µ¾×¹é ·Õè¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒÁ¸Ñ ÂÁÈ¡Ö ÉÒ à¢µ 2 ¡ÅѺ˹ŒÒ ¤íÒ¹Òí ¡ ÊÒúÞÑ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร รหัสวิชา ว22102 กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เร่ือง เช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ จัดทําข้ึนเพื่อใช ในการประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับแผนการจัดการเรียนรูโดยเปนชุด กิจกรรมทเ่ี นน ผูเรียนสืบเสาะหาความรู และสามารถสรางองคความรูดวยตนเองใน การจัดทําชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ประกอบดวยกจิ กรรมยอย 3 กิจกรรมดงั นี้ 1.1 ถานหิน 1.2 หนิ น้ํามนั และปโ ตรเลยี ม 1.3 ผลกระทบจากการใชเ ชือ้ เพลิงซากดกึ ดาํ บรรพ ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาในการจัดทําชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร ผูชวยศาสตราจารยฐาปนา จอยเจริญ และขอบคุณคณะผูเช่ียวชาญในการ ตรวจสอบ พิจารณาปรับปรุงแกไขชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร และคณะครู โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย ที่เปนกําลังใจในการจัดทําชุดกิจกรรมการเรียนรู วิทยาศาสตร ในครัง้ น้สี ําเรจ็ ไปดว ยดี อุกฤษฎ มาระกล ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู ิทยาศาสตร เรอ่ื ง เชอื้ เพลิงซากดึกดาํ บรรพ ครอู กุ ฤษฎ มาระกล ¢ ÊÒúÑÞ ¡ÅѺ˹ŒÒ ÊÒúÞÑ เรอ่ื ง หนา คาํ นํา สารบญั ก สารบัญตาราง ข สารบญั ภาพ ค คาํ ชีแ้ จงแนะนาํ การใชชดุ กิจกรรมสาํ หรับนักเรียน ง ชดุ กิจกรรมการเรียนรูว ิทยาศาสตร เรอ่ื ง เช้อื เพลิงซากดกึ ดําบรรพ จ แบบทดสอบกอ นเรยี น 1 ใบความรูท่ี 1 เรอ่ื ง ถา นหิน 3 5 แบบบันทึกกจิ กรรมท่ี 1.1 เร่อื ง ถา นหนิ 8 ใบความรทู ่ี 2 เร่ือง หนิ นา้ํ มนั และปโ ตรเลียม 9 12 แบบบันทกึ กิจกรรมที่ 2.1 เรือ่ ง หนิ น้ํามัน 13 แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 เร่อื ง ปโตรเลียม 14 ใบความรูท่ี 3 เรื่อง ผลกระทบจากการใชเชอื้ เพลิงซากดึกดําบรรพ แบบบันทึกกจิ กรรมที่ 3.1 เร่อื ง ผลกระทบจากการใชเชอ้ื เพลงิ ซาก 17 ดึกดําบรรพ บรรณานุกรม 18 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู ิทยาศาสตร เรอื่ ง เชือ้ เพลงิ ซากดึกดําบรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹Ҍ ¤ ÊÒúÞÑ ÊÒúÑÞµÒÃÒ§ เรื่อง หนา ตารางท่ี 1 แสดงชนดิ ของถานหนิ ลักษณะ และแหลงท่พี บถา นหินใน 5 ประเทศไทย ชุดกิจกรรมการเรียนรูวทิ ยาศาสตร เร่อื ง เชอื้ เพลิงซากดกึ ดําบรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล § ÊÒúÑÞÀÒ¾ ¡ÅѺ˹Ҍ ÊÒúÞÑ ภาพที่ เรอ่ื ง หนา 1. การเกิดหินนาํ้ มัน 9 9 2. หนิ นาํ้ มัน 10 11 3. กระบวนการเกิดปโ ตรเลยี ม 14 15 4. ลกั ษณะโครงสรา งชน้ั หินของแหลงกกั เกบ็ ปโ ตรเลยี ม 15 5. ผลติ ภณั ฑปโ ตรเลยี ม 17 6. การใชป ระโยชนจากน้ํามันดิบ โดยการกล่ันลาํ ดบั สวน 7. การใชป ระโยชนจากแกส ธรรมชาติ 8. สดั สว นการปลอยแกสคารบอนไดออกไซดจ ากการใชพลังงาน ในภาคสวนตา ง ๆ ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง เช้ือเพลิงซากดึกดาํ บรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ ¨ ÊÒúÑÞ ¤Òí ªáéÕ ¨§á¹Ð¹Òí ¡ÒÃ㪪Œ ´Ø ¡¨Ô ¡ÃÃÁÊíÒËÃѺ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ ชุดกิจกรรมการเรียนรูที่นักเรียนจะไดศึกษาตอไปน้ี เปนชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ มุงเนนใหนักเรียนไดรับการพัฒนาความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับกระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ สมบัติของเช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ และผลกระทบจากการใชเ ชื้อเพลิงซากดกึ ดาํ บรรพ โดยฝกการใชคําถามและทักษะการสืบ เสาะหาความรูเพ่ือใหนักเรียนไดคิด และลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีกําหนดใหดวยท่ี กําหนดใหดวยตนเองการใชเอกสารนี้ใหเกิดประโยชนสูงสุด นัดเรียนควรปฏิบัติตาม ขน้ั ตอนท่ีกาํ หนดไวใ นชุดกจิ กรรมการรูต ามลาํ ดับ ดังนี้ 1. นักเรียนอา นคาํ แนะนําการใชช ุดกจิ กรรมการเรียนรู และปฏิบัตติ ามอยางตั้งใจ 2. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นในชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ จํานวน 20 ขอ 3. นักเรียนแบงกลมุ กลุมละ 5-6 คน โดยคละความสามารถนักเรยี นเกง ปานกลาง และออ น เพ่ือใหน ักเรียนไดช ว ยเหลอื กันและแลกเปลี่ยนประสบการณกันภายในกลุม และแบงหนาท่ี ในกลมุ ของนักเรียนอาจเปน ดังนี้ คนท่ี 1 อานข้นั ตอนการทํากิจกรรมและอธิบายรายละเอียดใหเพ่ือนรบั ทราบ คนท่ี 2 เปน ผูนําในการทาํ กจิ กรรม คนที่ 3 จัดเตรียมอุปกรณเกบ็ อปุ กรณ คนท่ี 4 จดบนั ทึกและเขยี นขอสรปุ ท่ไี ดจากการทํากิจกรรม คนที่ 5 เปน ผูน ําวเิ คราะห สรปุ ผลการทาํ กจิ กรรม คนที่ 6 เปนผนู ําเสนอผลงาน กลุมท่ีมสี มาชกิ 5 คน ใหคนที่ 5 ทาํ หนาทเ่ี พม่ิ เตมิ เปน ผนู ําเสนอผลงาน 4. นักเรียนรว มกนั อภปิ รายซกั ถามใหเ ขาใจเกี่ยวกับวิธีการ ข้ันตอนและบทบาทของนักเรียน ตลอดจนขอสงสยั อื่น ๆ 5. ขณะเรยี น นักเรียนตองปฏิบัติกิจกรรมตามลําดับทุกข้ันตอนที่กําหนด ใหความรวมมือใน การปฏบิ ัติตามขอตกลงของกลุม รับผิดชอบปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีไดรับมอบหมาย โดยสมาชิกทุกคน ในกลุมตองมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค หากมีขั้นตอนใดไม เขาใจใหส อบถามครู ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู ิทยาศาสตร เรือ่ ง เชื้อเพลงิ ซากดกึ ดาํ บรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ © ÊÒúÞÑ 6. นกั เรยี นสามารถศึกษาดวยตนเองโดยอาศัยความซ่ือสัตยตอตนเอง ไมเขาใจให ยอนกลับไปศึกษาเน้ือหาใหม จะทําใหนักเรียนเขาใจบทเรียนยิ่งข้ึน แลวกลับมาทําใบ กิจกรรม หรือศกึ ษาใบความรอู ีกครัง้ 7. นักเรียนตองรักษาเวลาในการทาํ กจิ กรรมแตล ะขน้ั ตอนใหทันเวลาท่ีกาํ หนด 8. สําหรบั ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรื่อง เช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ ครูประเมินผลงานนักเรียน จากแบบบันทึกใบกิจกรรมที่ 1.1 – 3.1 9. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ืองเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ จํานวน 20 ขอ ซ่งึ อยูทา ยชดุ กิจกรรมการเรยี นรู 10. นักเรยี นประเมนิ ตนเองโดยตอ งพยายามตอบคาํ ถามดวยความตง้ั ใจ เพราะคําถามใน ชุดกจิ กรรมการเรียนรไู มใ ชขอสอบแตเ ปน สวนหนึง่ ของการเรียนรู º·ºÒ·¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ 1. บทบาทของผนู าํ กลมุ 1.1 ควบคมุ ดแู ลการดําเนินกจิ กรรมในกลมุ ใหเ ปน ไปตามข้นั ตอนทกี่ าํ หนด 1.2 เปน ผูนําในการวางแผนการศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรูรว มกันในกลมุ 1.3 รับชุดกิจกรรมการเรยี นรแู จกสมาชกิ ในกลุม และเกบ็ สงครเู มอื่ ใชเ สรจ็ แลว 1.4 เปนผปู ระสานงานกบั ครเู ม่ือพบปญ หาหรอื ขอสงสยั 2. บทบาทสมาชกิ ในกลุม 2.1 ปฏิบตั กิ จิ กรรมดว ยความตัง้ ใจ เพ่ือใหเสร็จทันเวลาทีก่ าํ หนด 2.2 ทาํ กิจกรรมตามแบบบนั ทึกกิจกรรมที่ 1.1 และศึกษาใบความรูท่ี 1 ทําใบกิจกรรมท่ี 2.1- 2.2 และศึกษาใบความรูที่ 2 แลวทําใบกิจกรรมท่ี 3.1 ศึกษาใบความรูท่ี 3 และทําแบบทดสอบหลัง เรียนชุดกิจกรรมการเรยี นรู เร่ือง เช้ือเพลงิ ซากดกึ ดาํ บรรพ ดวยความต้ังใจและเต็มความสามารถโดย ไมร บกวนเพอ่ื นในกลมุ 2.3 ในการทาํ งานนกั เรยี นสามารถปรกึ ษากนั ได รวมมือในการปฏิบัติกิจกรรมกลุมและเสนอ ความคิดเห็นในการอภปิ รายความรไู ดอ ยา งเต็มท่ี ชดุ กิจกรรมการเรียนรูวทิ ยาศาสตร เรอ่ื ง เชอื้ เพลิงซากดกึ ดาํ บรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹Ҍ 1 ÊÒúÞÑ ªØ´¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒÇ·Ô ÂÒÈÒʵÏ àÃèÍ× § àªÍ×é à¾ÅÔ§«Ò¡´¡Ö ´Òí ºÃþ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ เปลยี่ นแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลตอ สงิ่ มีชวี ิตและสิง่ แวดลอ ม ตวั ช้วี ดั ว 3.2 ม.2/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัติและการใชประโยชน รวมท้งั อธิบายผลกระทบจากการใชเ ชอื้ เพลิงซากดกึ ดําบรรพจ ากขอ มูลที่รวบรวมได ว 3.2 ม.2/2 แสดงความตระหนักถึงผลจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ โดยนําเสนอแนวทางการใชเชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ สาระการเรยี นรูแกนกลาง เชือ้ เพลิงซากดึกดําบรรพเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของซากสิ่งมีชีวิตใน อดีตโดยกระบวนการทางเคมีและธรณีวิทยา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพไดแกถานหิน หินน้ํามัน และปโตรเลียมซ่ึงเกิดจากวัตถุตนกําเนิด และสภาพแวดลอมการเกิดที่ แตกตางกันทําใหไดชนิดของเช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพที่มีลักษณะ สมบัติและการ นําไปใชประโยชนแตกตางกันสําหรับปโตรเลียมจะตองมีการผานการกล่ันลําดับสวน กอ นการใชงานเพ่ือใหไ ดผลิตภัณฑทีเ่ หมาะสมตอการใชประโยชนเช้ือเพลิงซากดึกดํา บรรพเปนทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไปเนื่องจากตองใชเวลานานหลายลานปจึงจะ เกดิ ข้นึ ใหมได ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูวิทยาศาสตร เรื่อง เชื้อเพลงิ ซากดึกดําบรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 2 ÊÒúÑÞ การเผาไหมเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพในกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษยจะทําให เกดิ มลพิษทางอากาศซ่ึงสง ผลกระทบตอ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอมนอกจากน้ีแกสบาง ชนดิ ท่เี กิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงซากดกึ ดําบรรพเชนแกสคารบอนไดออกไซดและ ไนตรัสออกไซดยังเปนแกสเรือนกระจกซ่ึงสงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ของโลกรุนแรงขึ้น ดังน้ันจึงควรใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพโดยคํานึงถึงผลท่ีเกิดขึ้น ตอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอม เชน เลือกใชพลังงานทดแทน หรือเลือกใชเทคโนโลยีที่ ลดการใชเช้ือเพลงิ ซากดึกดําบรรพ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. อธิบายกระบวนการเกดิ สมบตั ิ และการใชป้ ระโยชนข์ องถ่านหินได้ 2. เปรยี บเทียบสมบตั ิของถ่านหินแต่ละประเภทได้ 3. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใชป้ ระโยชน์ของหิน นา้ํ มนั และปิโตรเลยี มได้ 4. สบื คน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั ประเภทของถา่ นหินได้ 5. สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั หินนาํ้ มนั และปิโตรเลยี มได้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร เร่ือง เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดาํ บรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 3 ÊÒúÞÑ áºº·´Êͺ¡‹Í¹àÃÂÕ ¹ ªØ´¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ àÃèÍ× § àªÍé× à¾Å§Ô «Ò¡´Ö¡´Òí ºÃþ ÃдºÑ ª¹éÑ ÁѸÂÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·èÕ 2 คาํ ชีแ้ จง 1. แบบทดสอบนีเ้ ปน แบบปรนยั เลือกตอบ 4 จํานวน 20 ขอ 2. ทําเครื่องหมาย x ลงในคาํ ตอบท่ีถกู ตอ งที่สดุ เพียง 1 ขอ 1. ถา นหนิ เกิดจากการทับถมจากสง่ิ ใด 6. ขอ ใดเรยี งลําดบั ถา นหินทใ่ี หพ ลงั งานนอยทีส่ ุดไปหา ก. เกิดจาการทบั ถมของซากพืช มากสดุ ไดถ ูกตอง ข. เกิดจาการทับถมของซากสตั ว ค. เกิดจาการทบั ถมของหนิ และแรต าง ๆ ก. ลิกไนต ซบั บิทูมินัส บทิ ูมินัส แอนทราไซต พตี ง. เกดิ จาการทบั ถมของสาหรายและซากสัตว ข. ลกิ ไนต ซับบทิ มู นิ ัส บทิ ูมนิ ัส พีต แอนทราไซต ค. พีต ลกิ ไนต ซบั บิทมู นิ สั บิทมู นิ สั แอนทราไซต 2. ถา นหนิ มีก่ีประเภท ง. พตี ลิกไนต ซับบทิ มู นิ สั แอนทราไซต บิทมู นิ สั ก. 3 ประเภท 7. ถา นหินในขอ ใดทเ่ี มอ่ื เกิดการเผาไหมแ ลว จะเกิดเขมา ข. 4 ประเภท ควนั มาก ค. 5 ประเภท ก. พีต ง. 6 ประเภท ข. ลกิ ไนต ค. บิทมู ินัส 3. ถานหนิ มีธาตใุ ดเปน องคประกอบหลกั ง. แอนทราไซต ก. คารบ อน 8. ถานหนิ ขอใดมคี ุณภาพดีทีส่ ุด ข. ไนโตรเจน ก. ลิกไนต ค. ออกซเิ จน ข. บิทมู ินสั ง. ไฮโดรเจน ค. ซับบิทมู นิ สั ง. แอนทราไซต 4. แหลงถา นหินในประเทศไทยทพ่ี บมากทส่ี ดุ ท่ีจงั หวัดใด 9. ปรมิ าณความรอ นของถา นหินขน้ึ อยกู ับปจ จยั ใด ก. จังหวัดขอนแกน ก. อายขุ องถา นหิน ข. จงั หวัดลาํ ปาง ข. ชนดิ ของถา นหนิ ค. จังหวัดกระบ่ี ค. ความช้ืนของถานหนิ ง. จงั หวัดระยอง ง. ปรมิ าณธาตุคารบ อน 10. สารประกอบอนิ ทรียที่แทรกอยูช ้ันตะกอนของหนิ 5. เพราะเหตุใด ถา นหนิ แอนทราไซตจ ึงใหพ ลังงานมาก นํา้ มนั คอื สารใด ท่ีสดุ ก. เคอโรเจน ข. ควอตซ ก. มีจํานวนคารบ อนมากทสี่ ุด ค. เคลย ข. มีจํานวนคารบอนนอ ยท่สี ุด ง. แคลไซต ค. ไมม จี าํ นวนคารบอน ง. มีประจไุ ฟฟามาก ชุดกิจกรรมการเรียนรวู ิทยาศาสตร เร่ือง เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹Ҍ 4 ÊÒúÞÑ 11. ปโตรเลียมประกอบดวยสง่ิ ใดบา ง 16. ขอใดไมใ ชเชื้อเพลงิ ซากดึกดาํ บรรพ ก. น้ํามันดิบกบั ถา นหนิ ก. ถานหิน ข. นํ้ามนั ดบิ กับหนิ น้ํามัน ข. นา้ํ มันดิบ ค. ถา นหินกับแกสธรรมชาติ ค. แกสธรรมชาติ ง. นํ้ามันดบิ กบั แกสธรรมชาติ ง. ถา นกมั ถนั ต 12. ในแหลงกกั เกบ็ ปโตรเลียมทีม่ ที ้ังนํ้ามนั ดบิ แกส 17. ขอ ใดเปน ทรพั ยากรธรรมชาติทีใ่ ชแ ลว หมดส้ิน ธรรมชาติ และน้ําเราจะพบวา มีการแยกชนั้ กนั อยา งไร ก. ถา นหิน เรียงลาํ ดับจากบนลงลาง ข. แกสธรรมชาติ ค. นํ้ามนั ปโตรเลียม ก. แกส นํา้ นํ้ามัน ง. ถกู ทกุ ขอ ข. แกส นา้ํ มัน นาํ้ ค. นํ้ามนั แกส นา้ํ 18. ประเทศไทยใชป ระโยชนจากถานหนิ ในดานใด ง. นํ้ามนั น้ํา แกส มากที่สดุ 13. องคป ระกอบหลักของเชอ้ื เพลงิ ธรรมชาติคือขอใด ก. ธาตไุ นโตรเจนและคารบอน ก. ใชในการขนสง ข. ธาตุไฮโดรเจนและคารบ อน ข. ใชผลิตกระแสไฟฟา ค. ธาตอุ อกซเิ จนและคารบอน ค. ใชผลติ เปนถานกมั มนั ต ง. ธาตุกํามะถันและคารบอน ง. ใชเ ปนเชื้อเพลิงในอตุ สาหกรรม 14. การแยกปโตรเลียมโดยใชส มบตั ิของจุดเดือด 19. ขอ ใดคือผลทเ่ี กดิ จากการเผาไหมท ไ่ี มส มบรู ณ เรียกวา อะไร ของน้าํ มันเช้อื เพลงิ ในรถยนต ก. การกล่นั ทาํ ลายปโ ตรเลยี ม ก. เกดิ แกสซลั เฟอรไ ดออกไซด ข. การกล่ันลําดับสวน ข. เกดิ แกส คารบ อนมอนอกไซด ค. การสลายนาํ้ มนั ค. เกิดแกสคารบ อนไดออกไซด ง. การกลัน่ ธรรมดา ง. เกดิ แกสไนโตรเจนไดออกไซด 15. ผลิตภณั ฑจ ากปโตรเลยี มใดทีม่ จี ุดเดือดสงู ท่ีสดุ 20. ขอใดเปน สาเหตหุ ลักสาํ คัญที่มนษุ ยเ สาะหา ก. นํา้ มันเตา แหลง พลังงานทดแทน ข. นํ้ามนั กา ด ก. เกิดปญหามลพิษจากการใชถ านหินและ ค. ยางมะตอย ปโตรเลยี ม ง. น้าํ มันหลอ ล่นื ข. พลงั งานทดแทนเปนพลังงานที่สะอาด และไมหมดส้ิน ค. เกดิ ภาวะขาดแคลนน้ํามันเช้ือเพลงิ และ ปริมาณสาํ รองเหลือนอ ยมาก ง. เทคโนโลยปี จจุบันมีความกา วหนา สําหรบั การนําพลังงานทดแทนมาใช ชดุ กิจกรรมการเรียนรูวทิ ยาศาสตร เรอื่ ง เชื้อเพลงิ ซากดึกดําบรรพ ครอู กุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 5 ÊÒúÞÑ ãº¤ÇÒÁ÷ŒÙ èÕ 1 àÃ×èͧ ¶‹Ò¹Ë¹Ô เชอื้ เพลิงธรรมชาติ หมายถึง แรเ ชือ้ เพลงิ ที่เกิดจากสารอินทรยี  มธี าตคุ ารบ อนและ ธาตุ ไฮโดรเจนเปนองคป ระกอบหลกั เช้อื เพลงิ ธรรมชาตมิ ีหลายชนิด เชน ถานหนิ หินนํา้ มนั และปโตรเลียม ถานหิน ถา นหิน (coal) เปน เช้อื เพลิงที่เกดิ จากการทับถมของซากพืชในแองน้ําต้ืน ซึ่งสวนใหญจะ มี ลกั ษณะเปนหนองนา้ํ บงึ หรือพรุทมี่ ีนํ้าขัง มีพืชปกคลุมหนาแนนมาก เมื่อพืชตายลงหรือท้ิงกิ่ง ใบสะสม ตวั อยูใ นน้าํ จะเกิดการผพุ ังสลายตวั เหลอื สว นทีส่ ะสมตวั ทบั ถมกนั อยูใ นท่ลี ุมช้ืนแฉะ เม่ือ ถูกอัดทับถม เปนเวลานานหลายลานปภายใตแรงกดดันและอุณหภูมิท่ีสูง ซากพืชจะเกิดการ แปรเปล่ียนเปน สารประกอบไฮโดรคารบอนเปนสว นประกอบหลกั มีสถานะทีเ่ ปนของแขง็ เกดิ เปน ถา นหนิ แบง ชนิดและคุณภาพของถานหินโดยใชปรมิ าณคารบ อน เปน เกณฑได 5 ประเภทดังน้ี ตารางที่ 1 แสดงชนดิ ของถา นหิน ลักษณะ และแหลงท่ีพบถานหนิ ในประเทศไทย ชนิดของถา นหนิ ลักษณะและสว นประกอบของถา นหิน แหลงท่ีพบ ในประเทศไทย 1. พตี (peat) พตี เปนถา นหนิ ท่ีมคี ารบอนอยูนอ ยกวา 60 % พบ ท่ีราบน้ําข้ึนถึงปาชายเลน พรุ 2. ลกิ ไนต (lignite) เปนลําดับแรกของถานหินและมีอายุนอยท่ีสุด และหนองน้ํา พีตท่ีเปน ช้ันหนา เปนถานหินที่ยังเห็นเปนลักษณะของซากพืช มีสี มักจะพบในปาพรุ เชน พรุทา น้ําตาลถึงสีดํา มีความช้ืนสูง เมื่อแหงจะติดไฟ ได สะทอน จังหวัด สุราษฎรธานี ดี ใหคาความรอนนอย มีควันมากใชผลิตไฟฟา พรุท่ีอําเภอ เชียรใหญ จังหวัด ขอดีของพีต คือมีรอยละของกํามะถันตํ่ากวา นครศรธี รรมราช น้ํามัน หรือถา นหินชนิดอืน่ ๆ ลกิ ไนตเ ปนถานหินท่ีมีคารบอนอยู 60-70 % เกิด พบมากทีอ่ ําเภอแมเมาะ จังหวัด จากซากพืชในพีตสลายตัวเกือบหมด เนื้อเหนียว ลาํ ปาง ที่คลองขนาน คลองทอม มีผิวดาน สีน้ําตาลเขม มีความชื้นรอยละ 30-70 อํ าเภอ เมื อ ง จั ง หวั ดก ร ะ บ่ี ใชเ ปน เชอ้ื เพลงิ ในการบมใบยาสูบ หมอไอนํ้าและ อําเภอสะ บ า ย อย จั ง หวั ด ผลติ กระแสไฟฟา เมื่อนํามาเผาเปนเช้ือเพลิงจะมี สงขลา อําเภอ เวียงแหง จังหวัด มีควันมาก เกิดแกสหลายชนิดท่ีเปนมลพิษ เชน เชียงใหม และอําเภอเคียนซา ไ น โ ต ร เ จ น อ อ ก ไ ซ ด ซั ล เ ฟ อ ร ไ ด อ อ ก ไ ซ ด จงั หวัด สรุ าษฎรธานี คารบอนมอนอกไซด ฝุนและเถา เบา ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูวิทยาศาสตร เรื่อง เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดาํ บรรพ ครอู กุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 6 ÊÒúÞÑ ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงชนิดของถานหนิ ลกั ษณะ และแหลงที่พบถานหนิ ในประเทศไทย ชนดิ ของถานหิน ลักษณะและสว นประกอบของถา นหนิ แหลงที่พบ ในประเทศไทย 3. ซับบทิ ูมินสั ซับบิทูมินัสเปนถานหินท่ีมีคารบอน 71-77 % ใช อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง (sub- bituminous) เวลาในการเกิดมากกวาลิกไนต มีสีน้ําตาลถึงสีดํา อาํ เภอล้ี จงั หวัดลําพนู มที ้งั ผิวมนั และผิวดา น มที ้ังเนอ้ื แขง็ และเน้ือออนมี ความช้ืนประมาณ 25-30 % เปนเชื้อเพลิงท่ีมี คุณภาพ เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟาและใช ในอตุ สาหกรรม 4. บิทูมนิ สั บิทูมินัสเปนถานหินท่ีมีคารบอน 77-87%มี อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน และ (bituminous) ลักษณะเนื้อแนน แข็ง สีดําสนิทเปนมันวาว อาํ เภอแมร ะมาด จงั หวดั ตาก เปลีย่ นสภาพมาจากลิกไนต เมื่อเผาไหมแลวจะให คาความรอนสงู แตมีสารระเหิดอยูดวยเม่ือเผาจะ ใ ห ค วั น ม า ก ใ ช เ ป น เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ใ น โ ร ง ง า น อตุ สาหกรรมและโรงไฟฟา 5. แอนทราไซต แอนทราไซตเปนถานหินที่มีคารบอนอยูมากกวา ในประเทศไทยไมพบ แอนทรา (anthracite) 87 % มีความแข็งแรงมากที่สุด สีดํา มันวาวแบบ ไซต แตจะพบเซมิแอนทราไซต กึ่งโลหะ มีรอยแตกแบบกนหอยเปนถานหินท่ีมี ซ่ึงพบท่ีอําเภอนาดวง จังหวัด คณุ ภาพดีท่ีสุด เปลยี่ นสภาพมาจากบิทูมินัส ใหคา เลย และอําเภอนากลาง จังหวัด ความรอนสูง มีควันนอยมากหรือเกือบไมมีเลย หนองบัวลําภู ติดไฟแลวเผาไหมเปนเวลานาน ใหเปลวไฟสีน้ํา เงิน สวนใหญม ีการใชถานหินเปนเชื้อเพลิงในการ ผลิตกระแสไฟฟาอุตสาหกรรมปูนซีเมนตและ อุตสาหกรรมที่ใชหมอไอน้ํา เชน โรงงานกระดาษ เปนตน ในประเทศไทยพบถานหินทกุ ช้นั คณุ ภาพตั้งแตต ํ่าสุดไปถงึ สงู สดุ แตท ่มี มี ากที่สุดไดแก ลิกไนตและ ซับบิทูมินัส สวนมากถานหินมักจะใชเปนเชื้อเพลิงแทนน้ํามันในการผลิตกระแสไฟฟา ถานหินพบมากที่ เหมอื งแมเมาะ อาํ เภอแมเมาะ จงั หวดั ลาํ ปาง ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร เร่ือง เชื้อเพลิงซากดกึ ดําบรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹Ҍ 7 ÊÒúÞÑ การใชประโยชนจากถานหิน มีดังตอ ไปนี้ 1. ถานหิน ถูกนํามาใชเปนแหลงพลังงานมากกวา 3,000 ป ประเทศจีนเปนประเทศแรก ๆ ที่นํา ถานหนิ มาใชเปนเช้ือเพลงิ ในการถลุงทองแดง ปจจบุ ันการใชประโยชนจ ากถา นหินสวนใหญใ ชเ ปน เช้ือเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟา อตุ สาหกรรมบมใบยาสูบ การถลงุ โลหะ การผลิตปูนซีเมนต และ อุตสาหกรรมที่ใช เครื่องจักรไอนํ้า 2. แหลง ถานหนิ ในประเทศไทยมีมากท่ีเหมืองแมเมาะ จังหวัดลําปาง คิดเปน 97 % ของ ปริมาณ สํารองทีม่ ีอยใู นประเทศไทย รองลงมาคือเหมืองกระบี่ จังหวัดกระบ่ี สวนใหญเปนลิกไนตและ ซับบิทูมินัส ซึ่งมีคุณภาพตํา่ ใหป รมิ าณความรอ นไมสูงมากนกั 3. ใชทาํ คารบอนไฟเบอรซ ึ่งเปนวัสดุที่มีความแข็งแกรง แตนํ้าหนักเบา สําหรับใชทํา อุปกรณกีฬา เชน ดามไมก อลฟ ไมแ บดมินตนั ไมเ ทนนิส ไมแบดมนิ ตนั เครอ่ื งรอน ถา นหนิ ยงั นาํ มา ทําเปน ถานกัมมันต (Activated carbon) เพื่อใชเปนสารดูดซับกล่ินในเครื่องกรองนํ้า เครื่องกรอง อากาศ หรือในเครื่องใช ตา ง ๆ ปโตรเลียม ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูวิทยาศาสตร เรือ่ ง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ครอู กุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 8 ÊÒúÑÞ áºººÑ¹·¡Ö ¡¨Ô ¡ÃÃÁ·èÕ 1.1 àÃ×èͧ ¶Ò‹ ¹Ë¹Ô คําชี้แจง : ใหนกั เรยี นสืบคนขอ มูล เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพเกี่ยวกบั ถา นหนิ โดยสืบคน ขอ มลู จากใบความรู หรอื แหลง เรยี นรอู น่ื ๆ และนําขอ มูลที่ไดจากการสบื คน เติมลงในชอ งวา งใหถ กู ตอ ง การเกดิ ถา นหิน ประเภทของถา นหิน พีต ………………………………………………………………......................................... ลิกไนต …………………………………………………………........................................ ซับบทิ มู นิ ัส …………………………………………………………………......................... บทิ มู ินัส ……………………………………..………………………………....................... แอนทราไซต ……………………………………….………………………......................... แหลง ท่ีพบ การนําไปใชประโยชน ชอื่ – สกุล………………………………………………………ชนั้ ……………เลขท…ี่ ………….. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร เรือ่ ง เชื้อเพลงิ ซากดึกดําบรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹ŒÒ 9 ÊÒúÑÞ ãº¤ÇÒÁ÷ٌ èÕ 2 àÃÍ×è § Ë¹Ô ¹íÒé ÁѹáÅл⁠µÃàÅÕÂÁ หินน้ํามนั (oil shale) หินน้ํามนั (Oil shale) เกิดจากการสะสมและทับถมตัวของซากพืชพวกสาหราย และสัตวพวกแมลง ปลา และสตั วเล็กอืน่ ๆ ภายใตแ หลงนํ้าท่มี ีปรมิ าณออกซิเจนจํากดั มอี ณุ หภูมสิ งู และถกู กดทับจากการทรุดตัว ของเปลือกโลกเปนเวลานับลานปทําใหสารอินทรียในซากพืชและซากสัตวเกิดการเปล่ียนแปลงเปน สารประกอบเคอโรเจนแลวผสมคลกุ เคลากับตะกอนดินทรายทถ่ี ูกอดั แนนจนกลายเปน หินนาํ้ มัน 4 1 แพลงกตอน 2 3 ดนิ เหนียว 3-600 ลา นป ภาพที่ 1 การเกิดหนิ น้าํ มัน ปจจุบัน หนิ น้ํามนั มลี ักษณะแขง็ และเหนยี ว มกั มสี ีนาํ้ ตาลไหมจนถึงสีดาํ เมอ่ื นํามาสกัดดวยความรอน เคอโร เจนจะสลายตัวใหน้าํ มนั หิน ซึ่งมลี กั ษณะคลายนา้ํ มันดบิ ภาพท่ี 2 หนิ น้ํามนั สว นประกอบของหนิ นาํ้ มนั มี 2 ประเภท ดงั นี้ สารประกอบอนนิ ทรยี  ไดแก แรธาตตุ า งๆ ทีผ่ พุ ังมาจากชนั้ หิน โดยกระบวนการทางกายภาพและ ทางเคมปี ระกอบดว ย แรธาตทุ ี่สาํ คัญ 2 กลุม ใหญๆ ดงั นี้กลุมแรซ ิลิเกต ไดแ ก ควอตซ เฟลสปาร เคลย กลุมแรคารบอเนต ไดแกแคลไซตโ ดโลไมตน อกจากน้ยี งั มีแรซลั ไฟดอ่นื ๆ และฟอสเฟต สารประกอบอนิ ทรยี  ประกอบดวย บิทูเมน และเคอโรเจน บทิ ูเมนละลายไดในเบนซีน เฮกเซน และ ตัวทําละลายอินทรียอื่นๆ จึงแยกออกจากหินน้ํามันไดงาย สวนเคอโรเจนไมละลายในตัวทําละลาย แตจะ สลายตัวท่ีอุณหภูมิสูงหินนํ้ามันที่มีคุณภาพดีจะตองมีสวนประกอบเปนสารอินทรียในปริมาณสูง เมื่อนํามา สกัดควรไดนํ้ามันอยา งนอ ยรอยละ 50 ของปรมิ าณสารอินทรียที่มอี ยูใ นหิน สําหรับประเทศไทยสํารวจพบหิน นาํ้ มนั ทีอ่ าํ เภอแมสอดจังหวัดตาก ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร เรื่อง เชือ้ เพลงิ ซากดึกดาํ บรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹Ҍ 10 ÊÒúÑÞ การใชประโยชนจากหินน้ํามัน ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาและใหความรอน เชนเดยี วกับถา นหินโดยน้ํามนั ทไี่ ดจากการกลนั่ หนิ นาํ้ มันสวนใหญเปนนํ้ามันดีเซล น้ํามันเตา ยางมะตอย ถานโคก แอมโมเนยี และสวนประกอบของกํามะถนั ซงึ่ นาํ ไปผลิตปยุ แอมโมเนียมซัลเฟต ปโตรเลียม (petroleum) ปโ ตรเลยี ม (Petroleum) เกิดจากการทบั ถมและสลายตัวของอนิ ทรยี สารจากพืชและสัตวทีค่ ลกุ เคลา อยูกบั ตะกอนในชัน้ กรวด ทราย และโคลนตมใตพ นื้ ดิน เมอ่ื เวลาผา นไปนบั ลา นปตะกอนจะจมตวั ลงเร่อื ย ๆ และถกู อดั แนน ดว ยความดันและความรอนสงู และมีปริมาณออกซเิ จนจํากดั จงึ สลายตัวกลายเปน แกสธรรมชาติ และน้าํ มันดิบแทรกอยรู ะหวา งช้ันหนิ ที่มีรพู รุน ปโตรเลียมเปนสารผสมของสารประกอบไฮโดรคารบ อนและสารอนิ ทรียหลายชนดิ ทเี่ กิดขึ้น ตามธรรมชาตมิ ีท้งั สถานะของเหลวและแกส ไดแ ก นาํ้ มนั ดบิ (Crude oil) และแกสธรรมชาติ (Natural gas) โดยนาํ้ มันดิบมีองคป ระกอบสวนใหญเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน และอาจมีสารประกอบของไนโตรเจน ซัลเฟอรและสารประกอบออกไซดอ่ืน ๆ ปนอยูเล็กนอย แกสธรรมชาติมีองคประกอบหลักเปนสารประกอบ ไฮโดรคารบอนท่ีมีคารบอนในโมเลกุล 1-5 อะตอม ประมาณรอยละ 95 ท่ีเหลือเปนแกสไนโตรเจนและ คารบอนไดออกไซดอาจมแี กสไฮโดรเจนซัลไฟดปนอยูดวย แกสธรรมชาติอาจมีสถานะเปนของเหลว เรียกวา แกส ธรรมชาติเหลว(Condensate) ประกอบดวยสารประกอบไฮโดรคารบอนเชนเดียวกับแกสธรรมชาติแตมี จํานวนอะตอมคารบอนมากกวา กระบวนการเกดิ ปโตรเลียม ปโตรเลียมทเี่ กดิ ขนึ้ ในแหลง ตา งกนั จะมปี รมิ าณสารประกอบไฮโดรคารบอนและปริมาณสารประกอบ ของกํามะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนตางกัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับชนิดของซากพืชซากสัตวที่เปนตนกําเนิด ปโตรเลยี มทอี่ ยูในชัน้ หินจะเคลอื่ นตัวไปตามรอยแตกและรูพรุนของหินไปสูระดับความลึกนอยกวาแลวสะสม ตัวอยูในโครงสรางหินท่ีมีรูพรุน มีโพรง หรือรอยแตกในเนื้อหินท่ีสามารถใหปโตรเลียมสะสมตัวอยูได โดย ดา นบนมักเปน หินตะกอนหรือหินดินดานเนื้อแนนละเอียดปดก้ันไมใหปโตรเลียมไหลออกไปได ซึ่งโครงสราง ปดกัน้ ดังกลา วเรียกวา “แหลงกกั เก็บปโตรเลยี ม” 300-400 50-100 ปจจุบนั ลานปทีแ่ ลว ลา นปทแี่ ลว 1. เม่อื สงิ่ มีชีวิตตายลง จะตกตะกอนลงสูกนทะเลหรือทะเลสาบ และถูกทับ ภาพท่ี 3 กระบวนการเกิดปโ ตรเลียม ถมดวยตะกอนดินโคลนและทราย 4. ในธรรมชาติบรเิ วณหน่ึง ๆ อาจมชี ัน้ หนิ กักเก็บปโตรเลียมไดห ลายชัน้ 2. แมน ํา้ จะพดั พาชุดใหมลงสทู ะเลหรอื ทะเลสาบ เมือ่ ระยะเวลานานข้ึน ขน้ึ อยกู บั กระบวนการตา ง ๆ ทางธรณวี ิทยาและปจจยั ตาง ๆ ตาม ตะกอนที่ทับถมจะมคี วามหนามากข้ึนเร่ือย ๆ และคอ ย ๆ จมลงภายใต ธรรมชาติ และช้ันหนิ ตาง ๆ อาจโคงงอไดถา มแี รงตาง ๆ มากระทํา ตะกอนท่ีทับถมกนั จมลงใตผ วิ โลก ภายใตอณุ หภูมิความดันสงู ขึน้ ทําให ซากสงิ่ มีชีวติ ท่ีสะสมตัวอยใู นชัน้ ตะกอนแปรสะภาพเปนเคอโรเจนและ ปโตรเลยี มในที่สดุ 3. ปโ ตรเลยี มทเ่ี กดิ ขึน้ จะไหลซึมออกจากหนิ ตนกําเนิดปโ ตรเลียมไปสชู ้ันหนิ กักเก็บปโ ตรเลยี ม ซึ่งหากมีชัน้ หินมาปด กัน้ ชน้ั หนิ กกั เก็บปโตรเลียมและมี สภาพโครงสรางทเ่ี หมาะสม ปโ ตรเลียมจะถกู กกั เกบ็ อยูในชนั้ หนิ กักเกบ็ น้ี ชุดกิจกรรมการเรียนรวู ิทยาศาสตร เรอ่ื ง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹ŒÒ 11 ÊÒúÞÑ ภาพท่ี 4 ลักษณะโครงสรางชน้ั หนิ ของแหลง กกั เกบ็ ปโตรเลยี ม (ที่มา : //petroleum581.wordpress.com) ปโ ตรเลียมอาจอยใู นรูปนาํ้ มันดิบ (Crude oil) และแกสธรรมชาติ (Natural gas) จะไหลซึมออกจาก ช้ันหินตะกอน ตนกําเนิดไปตามรอยเล่ือนรอยแตกรอยแยกและรูพรุนของหิน ไปสะสมอยูใตชั้นหินท่ีมี โครงสรางปดกั้น เรียกวา แหลงปโตรเลียม โดยชั้นหินที่ปดกั้นดานบนตองมีเน้ือละเอียดเพื่อกั้นไมให ปโ ตรเลยี มรัว่ ไหลออกไปได ซง่ึ สว นมากจะเปนหินดินดานและมีโครงสรางเปนรูปโดม โดยทั่วไปภายในแหลง กกั เก็บปโตรเลียมจะมีท้งั น้าํ มนั ดบิ และแกส ธรรมชาติ แกส ธรรมชาติมคี วามหนาแนนนอยกวา น้ําจะอยูสวนบน สุด ถัดลงไปจะเปน ชั้นของนํ้ามนั ดบิ สว นน้ําจะอยูช ัน้ ลา งสดุ ปโตรเลียมเปนแหลงพลังงานที่สําคัญโดยเฉพาะการใชเปนเชื้อเพลิงในการคมนาคมขนสงและ ในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ รวมทั้งการผลิตกระแสไฟฟาและใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี แหลงปโตรเลยี มที่สําคญั บนบก ไดแ ก แหลง ฝาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม แหลงสิริกิติ์จ.กําแพงเพชร แหลงวิเชียร บรุ ี จ.เพชรบรู ณ แหลง อทู อง จ.สพุ รรณบรุ ี นอกจากน้ียังพบแหลงแกสธรรมชาติที่แหลงน้ําพอง จ.ขอนแกน เปนตน สวนแหลง ปโ ตรเลยี มในทะเลอา วไทย สวนใหญเ ปน แหลงแกสธรรมชาตแิ ละแกสธรรมชาติเหลว เชน แหลง เอราวณั แหลงบงกช แหลงไพลิน เปนตน และมแี หลงนํ้ามนั ดบิ เชน แหลง เบญจมาศ แหลงทานตะวัน แหลง จสั มิน เปนตน ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร เร่อื ง เชื้อเพลงิ ซากดึกดาํ บรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 12 ÊÒúÞÑ áººº¹Ñ ·Ö¡¡¨Ô ¡ÃÃÁ·Õè 2.1 àÃ×èͧ Ë¹Ô ¹íÒé Áѹ คาํ ช้ีแจง : ใหน ักเรียนสบื คน ขอมูล เชอื้ เพลงิ ซากดึกดําบรรพเกี่ยวกับหินน้ํามัน และปโตรเลียม โดยสืบคนขอมูล จากใบความรู หรือแหลง เรียนรูอนื่ ๆ และนาํ ขอมูลท่ีไดจ ากการสืบคนเตมิ ลงในชอ งวา งใหถูกตอ ง การเกิดหนิ นํ้ามนั ลกั ษณะทางกายภาพของหนิ น้ํามนั องคป ระกอบของหนิ นํ้ามนั สารประกอบอนนิ ทรีย สารประกอบอนิ ทรยี  เคอโรเจน การนําไปใชประโยชน แหลงทพ่ี บ ชื่อ – สกุล………………………………………………………ชั้น……………เลขที…่ ………….. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู ิทยาศาสตร เรอ่ื ง เชือ้ เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹ŒÒ 13 ÊÒúÞÑ áººº¹Ñ ·Ö¡¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 2.2 àÃ×èͧ »âµÃàÅÕÂÁ คําชีแ้ จง : ใหนักเรียนสืบคนขอมูล เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเกี่ยวกับหินนํ้ามัน และปโตรเลียม โดยสืบคนขอมูล จากใบความรู หรือแหลง เรียนรูอืน่ ๆ และนําขอ มลู ทไี่ ดจากการสืบคนเติมลงในชองวางใหถ กู ตอ ง การเกดิ ปโตรเลียม ปโตรเลียม ประกอบ สารประกอบ ไฮโดรคารบ อน กระบวนการเกดิ ปโตรเลียม นักเรยี นอา นขนั้ ตอนแสดงกระบวนการเกดิ ปโ ตรเลียมทีก่ ําหนดใหดา นลาง แลว ตอบคําถาม 1. สิง่ มชี ีวิตตายลง ตกตะกอนใตทะเล ถูกดนิ โคลนทับถม 2. ตะกอนท่ีทับถมกนั จมลงใตผวิ โลก ภายใตอ ณุ หภูมิ ความดนั สงู 3. ตะกอนแปรสภาพเปนเคอโรเจน และปโตรเลียม 4. ปโตรเลียมไหลซมึ จากหนิ ตน กําเนิดไปสชู ัน้ กกั เกบ็ ปโตรเลียม ใหนกั เรยี นนําหมายเลข 1-4 มาเรียนลาํ ดบั เพือ่ แสดงขนั้ ตอนกระบวนการเกิดปโ ตรเลียม ลาํ ดบั ขั้นตอนกระบวนการเกดิ ปโตรเลีย่ ม เปน ดงั น้…ี …………………………………………………… การนําไปใช ประโยชน ชอ่ื – สกุล………………………………………………………ชั้น……………เลขท่ี…………….. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูว ิทยาศาสตร เรือ่ ง เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล 14 㺤ÇÒÁ÷ٌ Õè 3 ¡ÅѺ˹ŒÒ ÊÒúÞÑ àÃè×ͧ ¼Å¡Ãзº¨Ò¡¡ÒÃãªàŒ ªéÍ× à¾Å§Ô «Ò¡´Ö¡´íÒºÃþ ตัวอยา งการใชป ระโยชนจากผลติ ภัณฑป โตรเลียม 1. แกสธรรมชาติ ทส่ี าํ รวจไดจากอาวไทย สามารถนํามาแยกแกสไดเปน แกสมีเทน (CH4 ) แกสอเี ทน (C2H6 ) แกส โพรเทน (C3H8 ) แกส บิวเทน (C4H10) แกส LPG แกส NGL และแกส CO2 1.1 แกส มีเทน ใชเ ปน เชอื้ เพลงิ ในการผลติ กระแสไฟฟา และใชเปน เชือ้ เพลิงรถยนตในรูปของ แกส NGV 1.2 แกสอเี ทนและโพรเทนใชเปนวัตถดุ บิ สาํ หรบั อตุ สาหกรรมปโตรเลยี ม 1.3 แกส LPG ใชเ ปนแกส หงุ ตมในครวั เรือน 1.4 แกส NGLนาํ มาควบแนนเปนของเหลวสงขายโรงกลนั่ และเปนวตั ถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม ปโตรเคมี 1.5 แกสคารบ อนไดออกไซดใ ชในอตุ สาหกรรมถนอมอาหาร 2. นาํ้ มนั ดิบ เมอ่ื นาํ มากลนั่ จะไดแกสเชอื้ เพลิง แกส หุงตม กํามะถนั เหลว นาํ้ มันเบนซินไรส ารตะกว่ั นาํ้ มนั เครื่องบนิ นํ้ามันกา ด นํ้ามันดีเซลและน้ํามันเตา 2.1 แกส NGV ใชเ ปนแกส เชอื้ เพลงิ ในโรงไฟฟาและใชเ ปน เชื้อเพลงิ รถยนต 2.2 แกส LPG ใชเปนแกสหุงตมในครัวเรือน 2.3 นาํ้ มนั เบนซนิ และน้ํามนั ดีเซล ใชเปนเชื้อเพลงิ รถยนตและเครอื่ งยนตต า ง ๆ ภาพที่ 5 ผลติ ภัณฑปโตรเลียม (ทีม่ า : //sites.google.com/site/resourcemanagemen00/phlitphanth-ca-kark-lan-pitorleiym) เกรด็ นารู : แกสหุงตม (LPG) เกิดจากการผสมกันระหวางแกส บวิ เทนและโพรเพน โดยมีอตั ราสวนประมาณ 30 : 70 เพ่อื ใหมีความรอนสงู และความดันเหมาะสม แกสหุงตม นี้ไมมีสี ไมมีกลิ่น แตมกี ารเตมิ สารที่ มีกลนิ่ ฉนุ ลงไปเพ่อื ชวยเตือนภัยกรณเี กดิ การรวั่ ไหลของแกส ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูวิทยาศาสตร เร่ือง เชือ้ เพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ ครูอุกฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹Ҍ 15 ÊÒúÑÞ ภาพท่ี 6 การใชป ระโยชนจากนา้ํ มันดบิ โดยการกลั่นลําดับสว น (ท่ีมา : //www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/fuel-utility) ภาพที่ 7 การใชประโยชนจากแกส ธรรมชาติ (ทีม่ า : //www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/fuel-utility) ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู ิทยาศาสตร เรือ่ ง เชอ้ื เพลิงซากดึกดาํ บรรพ ครูอกุ ฤษฎ มาระกล ¡ÅºÑ ˹ŒÒ 16 ÊÒúÞÑ สรปุ เชือ้ เพลงิ ธรรมชาติ ไดแก ถานหิน แกสธรรมชาติและน้ํามันดิบ ลวนเปนแหลงพลังงานจากใต ดินเม่อื ใชห มดแลวไมสามารถสรางข้ึนมาใหม กวาจะเกิดขึ้นมาใหมตองใชเวลานับลานป ซึ่งไมสามารถ หามาทดแทนไดทันทีตามความตองการในเวลาอันรวดเร็ว จึงจัดอยูในกลุมพลังงานส้ินเปลือง ใน ธรรมชาตยิ ังมีแหลง พลงั งานอกี กลมุ หน่งึ ทส่ี ามารถใชไ ดไ มม ีวันหมดสามารถสรางข้ึนเองได เรียกพลังงาน กลุม นีว้ า พลังงานหมนุ เวียน ไดแ ก พลังงานแสงอาทิตย พลงั งานลม พลังงานนํ้า พลังงาน คลื่นในทะเล พลังงานชีวมวล พลงั งานความรอนใตพภิ พเปน ตน พลังงานเหลานี้ เรยี กวา พลงั งาน สะอาด การใชป โตรเลยี มประหยัดและถูกวิธี 1. เลือกใชเชอ้ื เพลงิ ใหถกู ประเภทกบั กําลังเครอ่ื งยนต หลีกเลย่ี งเชื้อเพลิงที่อาจกอใหเกิดอันตราย 2. หมัน่ บาํ รงุ รักษาเครือ่ งจักรกล เครื่องยนตอยเู สมอๆ ใชผ ลิตภัณฑหลอ ลนื่ ใหเหมาะสม ใชงานตาม ความสามารถและถนอม 3. หลีกเลีย่ งการใชวสั ดุตดิ ไฟหรอื กระทําการใด ๆ ทอ่ี าจกอ ใหเ กิดเพลิงไหมได และควรกาํ หนดสถานที่ เก็บเชื้อเพลิงใหป ลอดภัยทสี่ ุด 4. การใชแ กสหุงตม ควรเลือกถัง และหวั เตาทีไ่ ดม าตรฐาน หมัน่ ตรวจสอบรอยร่ัว และปด วาลว ให เรยี บรอยหลังจากการใชงาน 5. การใชพ ลังงานปโตรเลยี มทางออม เชน การนําพลังงานปโ ตรเลยี มมาผลติ กระแสไฟฟา มีหลักการที่ สําคญั ๆ ดงั นคี้ อื 5.1 ควรทราบชนดิ และจาํ นวนของเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ ภี ายในครัวเรือนของตน เพ่ือประเมิน ปรมิ าณการใชไฟฟา ที่เหมาะสม 5.2 เลอื กเครื่องใชไฟฟา ทม่ี คี ณุ ภาพ มขี นาดท่ีเหมาะสมกบั การใชง านในบาน เชน การใช หลอดฟลอู อเรสเซนตแ ทนการใชห ลอดไสเนอ่ื งจากกนิ ไฟนอ ยกวา ปดสวติ ชห รอื ถอดปลก๊ั ทนั ทีเม่อื เลกิ ใชไฟฟา 5.3 ไมควรใชเ คร่ืองใชไฟฟา พรอมกันหลายตัว เพราะจะทําใหเ สียคาไฟฟาเพม่ิ ขึน้ และอาจ กอ ใหเ กดิ เพลงิ ไหมไ ด หากสายไปรอนจนไหม 5.4 บํารุงรกั ษาและหมัน่ ทําความสะอาดอุปกรณเคร่อื งใชไฟฟา อยูเสมอๆ เกร็ดนารู : ผลิตภณั ฑจากปโ ตรเลียม เชน แกสธรรมชาติ แกสหุงตม น้ํามันเบนซิน ดีเซล พลาสติก โฟม และอ่ืน ๆ มีประโยชนในการดําเนินชีวิตของมนุษย แตก็มีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได ซึ่งเปน ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงในรถยนต เน่ืองจากการเผาไหมท่ีไมสมบูรณของนํ้ามัน เช้ือเพลิง จะ กอใหเกิดเขมาควัน และแกสที่เปนอันตราย คือ แกสคารบอนมอนนอกไซด (CO) เปน แกสท่ีสามารถจับตัวกับ ฮโี มโกลบนิ ในเมด็ เลือดแดงไดดีทําใหเม็ดเลือดแดงไมสามารถรับออกซิเจนได รางกายจึงรับออกซิเจนไมเพียงพอ จะเกิดอาการเวยี นศรี ษะ อาเจียน การสูดดมเขาไปในปริมาณมาก และติดตอกันเปนเวลานานอาจทําใหหมดสติ และเสียชวี ติ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู ิทยาศาสตร เร่อื ง เชอ้ื เพลิงซากดกึ ดาํ บรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹ŒÒ 17 ÊÒúÞÑ áºººÑ¹·¡Ö ¡Ô¨¡ÃÃÁ·èÕ 3.1 àÃ×Íè § ¼Å¡Ãзº¨Ò¡¡ÒÃ㪌àª×Íé à¾Å§Ô «Ò¡´¡Ö ´íÒºÃþ คําช้ีแจง : ใหนักเรียนสืบคนขอมูล เช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพเกี่ยวกับผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิง ซากดึกดําบรรพ โดยสืบคนขอมูลจากใบความรู หรือแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ และนําขอมูลที่ไดจากการ สืบคน มาตอบคําถามใหถ ูกตอง ภาพที่ 8 สดั สวนการปลอยแกสคารบ อนไดออกไซดจากการใชพลงั งานในภาคสวนตา ง ๆ (ทม่ี า : หนังสือวทิ ยาศาสตร ม.2 เลม 2) 1. ถาตอ งการลดปรมิ าณการปลอ ยแกสคารบ อนไดออกไซดจ ากการใชพ ลงั งาน ควรมีแนวทางอยา งไรบา ง ? 2. การใชเ ชื้อเพลิงซากดกึ ดําบรรพส ง ผลกระทบอยางไรบา ง ? 3. แนวทางการใชเ ชอื้ เพลิงซากดกึ ดาํ บรรพควรเปนอยางไร ? ชอ่ื – สกลุ ………………………………………………………ชั้น……………เลขท…ี่ ………….. ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูวิทยาศาสตร เรอื่ ง เช้ือเพลงิ ซากดกึ ดําบรรพ ครอู ุกฤษฎ มาระกล ¡ÅѺ˹Ҍ 18 ÊÒúÑÞ ºÃóҹءÃÁ ฐิตวิ รดา ศรสี วุ รรณ. (ม.ป.ป). ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ชุดท่ี 5 เช้ือเพลงิ ธรรมชาต.ิ (ออนไลน) . เขา ถงึ ไดจาก : //issuu.com/titiworada1981/docs/____________________e- book_. (สืบคนเมอ่ื วันที่ 28 มกราคม 2564). พรววิ าห กกึ กอ ง. (ม.ป.ป.). ประโยชนของผลิตภัณฑป โ ตรเลยี ม. (ออนไลน) . เขา ถึงไดจาก : //sites.google.com/site/resourcemanagemen00/phlitphanth-ca-kark-lan- pitorleiym. (สบื คน เม่ือวนั ท่ี 28 มกราคม 2564). วิกิพเี ดียสารานุกรมเสร.ี (ม.ป.ป.). หินน้ํามนั . [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจาก : //upload. wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a3/Oilshale.jpg. (สืบคน เมื่อวันท่ี 28 มกราคม 2564). ศนู ยก ารเรียนรูวทิ ยาศาสตรโ ลกและดาราศาสตร. (2554). การใชป ระโยชนจ ากเช้อื เพลิง ธรรมชาต.ิ (ออนไลน) . เขาถงึ ไดจาก : //www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/fuel-utility. (สบื คนเม่อื วนั ที่ 28 มกราคม 2564). _______. (2554). ถานหิน. (ออนไลน). เขาถงึ ไดจาก : //www.lesa.biz/earth/ lithosphere/fuel/coal. (สืบคน เมอ่ื วันที่ 28 มกราคม 2564). _______. (2554). ปโตรเลยี ม. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : //www.lesa.biz/earth/ lithosphere/fuel/oil. สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2562). หนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 เลม 2. กรุงเทพฯ : ศูนยห นงั สอื แหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร เรือ่ ง เชอื้ เพลิงซากดึกดําบรรพ ครอู กุ ฤษฎ มาระกล


Author

Top Search

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้