นโยบายและจุดเน้น ก ศ น 2565 pdf

เอกสารประกอบ การประชมุ ชแี้ จงจดุ เน้น และแนวทางการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ณ อาคารหอประชุมทีปังกรรศั มีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ

กำหนดการประชุม ชีแ้ จงจดุ เนนและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 วันท่ี 18 พฤศจิกายน 2564 ณ อาคารหอประชุมทีปงกรรัศมีโชติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวดั ศรีสะเกษ ------------------------------------------------------------------- 08.00 - 09.00 น.  ลงทะเบยี น 09.00 - 10.30 น.  กลา วรายงานในพิธเี ปด การประชมุ 10.30 – 12.00 น. โดย รองเลขาธกิ าร กศน. (นายปรเมศว ศิรริ ตั น)  กลา วเปด การประชมุ และชีแ้ จงจดุ เนนและแนวทางการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.30 น. ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565 14.30 - 17.00 น. โดย เลขาธกิ าร กศน. 17.00 น.  มอบแนวทางการนำนโยบายไปสกู ารปฏิบัติ โดย รองเลขาธกิ าร กศน. - นางสาวทรงศรี วริ ะรงั ษิยากรณ - นายปรเมศว ศิริรัตน - นายภูมิพัทธ เรอื งแหล  พักรบั ประทานอาหารกลางวนั  แบง กลุม หารือแนวทางการขบั เคลอ่ื นงานของกลุม กศน.จังหวดั  ชแี้ จงแนวทางการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมสำคัญ ของสำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565  เสรจ็ ส้นิ การประชมุ --------------------------------------------------------- หมายเหตุ 1. พักรับประทานอาหารวา งและเครือ่ งดืม่ เวลา 10.00 น. และ 14.30 น. 2. กำหนดการประชมุ อาจเปล่ยี นแปลงไดต ามความเหมาะสม 3. ขอใหใ สชดุ สูท / ซาฟารี กศน. เขา รวมการประชุม 4. เขารวมประชุมโดยปฏบิ ตั ติ ามมาตรการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัส COVID – 19 (นัง่ เวน ระยะหางและสวมหนา กากอนามัยตลอดการประชุม)

กศน. เพือประชาชน ก้าวใหม่ ก้าวแห่งคุณภาพ ดร.สุรศักดิ อินศรไี กร เลขาธกิ าร กศน. กศน. เพือประชาชน “กา้ วใหม่ กา้ วแหง่ คุณภาพ” INPUT PROCESS OUTPUT พรบ.การศึกษาแห่งชาติ P โอกาส ผูเ้ รยี น/ การศึกษาตามอธั ยาศัย การ ึศกษา ่ตอเนืองยุทธศาสตรช์ าติ ผู้รับบรกิ าร OUTCOMEนโยบายและจุดเนน้การจดัการสรา้ ง- สรา้ งโอกาสทางการศึกษามีความสุข ทรพั ยากร การเรียนรู้ สมรรถนะ - ลดความเหลือมลาํ ปลอดภยั หลักการบริหารจดั การ คณุ ภาพ และทักษะ มที กั ษะสมวยั - หลักธรรมาภบิ าล คณุ ภาพ คุณภาพ ดี เกง่ และกลา้ - หลักการกระจายอาํ นาจ A - ICT เพือการบรหิ าร D - ยกระดับคุณภาพการศึกษา บุคลากร - เนน้ ผลสัมฤทธิ - เพิมคุณภาพการใหบ้ ริการ มีความสุข - ประชาสัมพันธเ์ ชิงรกุ องคก์ ร/ การบรหิ าร ทกุ กลุ่มเปาหมาย บรรยากาศ สถานศึกษา จดั การ งาน คุณภาพ ประสิทธภิ าพ มคี ุณภาพ และแหลง่ เรยี นรู้ -ความพึงพอใจของ คุณภาพ ผู้รับบรกิ าร C FEEDBACK FEEDBACK FEEDBACK การศึกษานอกระบบระดับขันพืนฐาน

กรอบการขับเคลอื นนโยบาย โอกาส ประสิทธิภาพ คณุ ภาพ การขบั เคลือนนโยบายสําคญั ▶ การนอ้ มนําพระบรมราโชบาย โครงการพระราชดาํ รสิ ู่การปฏิบตั ิ ▷ โคก-หนอง-นา โมเดล / ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง / จิตอาสา ▶ การนํานโยบายของกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏบิ ัติ ▷ นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ▷ นโยบายของรัฐมนตรีช่วยวา่ การ ฯ (ดร.กนกวรรณ วลิ าวัลย)์ ▶ การนํานโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน. สู่การปฏิบัติ ▷ การจัดการเรยี นรคู้ ุณภาพ ▷ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ▷ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรูค้ ณุ ภาพ ▷ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ

การจัดการเรยี นรู้คณุ ภาพ ▶ ปรับปรงุ หลกั สูตร (การศึกษาขันพืนฐาน / การศึกษาอาชพี ) ▶ ปรบั ระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยี ▶ พัฒนาแพลตฟอร์มเพือการเรียนรู้ ▶ พัฒนาระบบการนเิ ทศ กาํ กับ ตดิ ตาม การสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ ▶ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาผ้สู ูงอายุ/ ผพู้ ิการ/ หญิงตงั ครรภ์ ▶ ส่งเสรมิ พัฒนาทักษะดิจิทัล และทักษะ ดา้ นภาษา ▶ สรา้ งสมรรถนะและทักษะ ▷ ทกั ษะทางวชิ าการ ▷ ทักษะอาชพี ▷ ทักษะชวี ิต

องค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้คณุ ภาพ ▶ ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาํ บล คุณภาพ ▶ ส่งเสริมกลุ่ม กศน.จงั หวดั ใหเ้ ข้มแข็ง ▶ ให้บริการวิทยาศาสตรเ์ ชงิ รกุ ▶ ส่งเสริมใหม้ แี หล่งเรียนรทู้ หี ลากหลาย และมีคณุ ภาพ ▶ สรา้ งอาสาสมคั ร กศน. การบรหิ ารจัดการคุณภาพ ▶ ปรบั ปรุงแผนอัตรากาํ ลัง ▶ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกตาํ แหน่งทกุ ระดับ ▶ ส่งเสรมิ สร้างขวัญและกาํ ลงั ใจแกข่ ้าราชการ และบุคลากร ▶ ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ▶ สรา้ งภาคเี ครอื ข่ายและการมีส่วนรว่ ม ▶ ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยเี พือการบรหิ าร ▶ เรง่ รดั การเบกิ จา่ ยงบประมาณ

OUTPUT ▶ โอกาส ▷ สร้างโอกาสทางการศึกษา ▷ ลดความเหลอื มลาํ ▶ คณุ ภาพ ▷ ยกระดับคุณภาพการศึกษา ▷ เพิมคณุ ภาพการให้บรกิ ารทุกกลมุ่ เปาหมาย ▶ ประสิทธภิ าพ ▷ ความพึงพอใจของผรู้ บั บริการ OUTCOME ผเู้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ ารมีความสุข ปลอดภยั มที ักษะสมวัย ดี เก่ง และกลา้ บุคลากรมคี วามสุขในการปฏบิ ัตงิ าน และมีขวญั กําลังใจทีดี งานมีคุณภาพ

การบริหารองคก์ รสู่คุณภาพ 8. ผลสัมฤทธิ 1. SWOT ได้ตาม ทีถกู ต้อง เปาหมาย 2. เปาหมาย องคก์ รชดั เจน 7. ทุกคน องคก์ ร 3. ยทุ ธศาสตร์ ทาํ งาน คุณภาพ บรหิ ารจดั การ เพือองค์กร ทีดี 6. ประเมิน 5. ทุกคน 4. ทาํ งานเปน และตรวจสอบ มคี วามสุข ทมี ในการทํางาน อยูเ่ สมอ ภาพขององคก์ รคณุ ภาพ ผบู้ ริหารมีวสิ ัยทศั น์ มภี าวะผ้นู ํา มีทมี งานทเี ขม้ แขง็ มเี ครอื ข่ายทมี ีคุณภาพ มีการบรหิ ารจัดการทเี ปนระบบ สามารถบรรลเุ ปาหมายขององคก์ ร

กศน. เพือประชาชน “ก้าวใหม่ ก้าวแห่งคณุ ภาพ” INPUT PROCESS OUTPUT พรบ.การศึกษาแห่งชาติ P โอกาส ผูเ้ รยี น/ การศึกษาตามอธั ยาศัย การ ึศกษา ่ตอเนืองยุทธศาสตรช์ าติ ผู้รับบริการ OUTCOMEนโยบายและจดุ เนน้การจัดการสรา้ ง- สรา้ งโอกาสทางการศึกษามีความสุข ทรัพยากร การเรยี นรู้ สมรรถนะ - ลดความเหลือมลาํ ปลอดภัย หลกั การบริหารจัดการ คุณภาพ และทักษะ มีทักษะสมวัย - หลักธรรมาภิบาล คุณภาพ คณุ ภาพ ดี เกง่ และกลา้ - หลักการกระจายอาํ นาจ A - ICT เพือการบริหาร D - ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา บุคลากร - เนน้ ผลสัมฤทธิ - เพิมคุณภาพการให้บรกิ าร มีความสุข - ประชาสัมพันธเ์ ชงิ รกุ องคก์ ร/ การบริหาร ทกุ กลุ่มเปาหมาย บรรยากาศ สถานศึกษา จดั การ งาน คุณภาพ ประสิทธภิ าพ มีคุณภาพ และแหล่งเรียนรู้ -ความพึงพอใจของ คุณภาพ ผรู้ บั บริการ C FEEDBACK FEEDBACK FEEDBACK การศึกษานอกระบบระดับขันพืนฐาน ขอขอบคณุ กศน. เพือประชาชน ดร.สุรศักดิ อินศรีไกร ก้าวใหม่ เลขาธิการ กศน. ก้าวแห่งคณุ ภาพ

-ฉ ับบร่าง- (ราง) นโยบายและจดุ เนน การดำเนนิ งาน สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกำหนดแผนแมบทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวง ชีวิต โดยมีแผนยอยที่เก่ียวของกับการใชการศึกษาเปนเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนไดแก แผนยอยประเด็นการพัฒนาการ เรียนรู และแผนยอยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ท่ีมุงเนนการสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษย การพัฒนาเด็กตั้งแตชวงการตั้งครรภจนถึงปฐมวัย การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรุน การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถึงการสงเสริมศักยภาพวัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ท่ีตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปญญาของมนุษยท่ีหลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูป ประเทศดานการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในสวนนโยบายหลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดชวงชีวิต และนโยบายเรงดวนเร่ืองการเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืน ๆ ที่เก่ียวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วา ดวยความมั่นคงแหงชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรับ การพฒั นาการเรยี นรใู หเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมคี วามพรอมรว มขบั เคล่อื นการพฒั นาประเทศสูค วามมนั่ คง มั่งคั่ง และย่ังยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจุดเนน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพ่ือเปน เข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแผนตาง ๆ ดังกลา ว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงม่ันขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเร่ืองหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุงเนนผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบัติการดานขอมูล ขาวสาร การสรางบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การจัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำ ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการใหบรกิ ารสำหรับทุกกลมุ เปาหมาย และสรางความพึงพอใจ ใหกบั ผรู ับริการ โดยไดกำหนดนโยบายและจุดเนนการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี หลักการ กศน. เพ่อื ประชาชน “กา วใหม : กา วแหงคณุ ภาพ” นโยบายและจุดเนน การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจดั การเรียนรคู ุณภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำรทิ ุกโครงการ และโครงการอนั เกยี่ วเน่อื งจากราชวงศ 1.2 ขบั เคลอ่ื น...

-ฉ ับบร่าง- -2- 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรูที่สนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีวาการ และรฐั มนตรชี วยวา การกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคง การสรางความเขาใจท่ีถูกตอง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรูประวัติศาสตรของชาติและทองถ่ิน และหนาที่ความเปนพลเมืองท่ีเขมแข็ง รวมถงึ การมจี ิตอาสา ผา นกิจกรรมตา ง ๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ทั้งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานและหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง ใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลองกับบริบท ท่ีเปล่ียนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึงปรับลดความหลากหลาย และความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายบนพื้นท่ีสูง พื้นท่ีพิเศษและพื้นที่ชายแดน รวมท้งั กลมุ ชาติพนั ธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพ่ือการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสำคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจายอำนาจ ไปยังพ้นื ทใี่ นการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ต้ังแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษา ตอ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรา งและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายท่ีสามารถเรียนรู ไดส ะดวก และตอบโจทยความตอ งการของผูเรยี น 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสำนักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรูท้ังในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังส่ือการเรียนรูที่เปนสื่อท่ีถูกตองตามกฎหมาย งา ยตอการสืบคนและนำไปใชใ นการจดั การเรยี นรู 1.8 เรงดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพือ่ การสรางโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมท้ัง สง เสรมิ การวจิ ยั เพือ่ เปนฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. ดานการสรา งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เนนการพัฒนาทักษะท่ีจำเปนสำหรับแตละชวงวัย และการจัดการศึกษาและการเรยี นรูท ่เี หมาะสมกับแตล ะกลุม เปาหมายและบริบทพ้ืนที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเนน New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคลองกับบริบท พ้ืนที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมาย เชน ผูพิการ ผูสูงอายุ ความตองการของตลาดแรงงาน และกลุม อาชีพใหมท ร่ี องรับ Disruptive Technology 2.3 ประสาน...

-ฉ ับบร่าง- -3- 2.3 ประสานการทำงานรวมกับศูนยใหคำปรึกษาการจัดต้ังธุรกิจ (ศูนย Start-up) ของอาชีวศึกษา จัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันฐานสมรรถนะ ในทักษะอนาคต (Future Skills) ใหกับแรงงานที่กลับภูมิลำเนาในชวง สถานการณ COVID - 19 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ท่ีเนน “สงเสริมความรู สรางอาชีพ เพ่ิมรายได และมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนท่ียอมรับของตลาด ตอยอดภูมิปญญาทองถ่ิน เพอื่ สรา งมลู คา เพ่ิม พัฒนาสวู ิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพ่มิ ชอ งทางประชาสมั พันธและชองทางการจำหนา ย 2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุ เพ่ือใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชวี ิตท่เี หมาะกบั ชว งวัย 2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพ่ือเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสำหรับสตรีตั้งครรภ และจดั กิจกรรมการเรยี นรูส ำหรับแมและเดก็ ใหเ หมาะสมกับบรบิ ทของชุมชนและชว งวยั 2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการ ออทสิ ตกิ เดก็ เรรอน และผูด อยโอกาสอื่น ๆ 2.8 สงเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะดานภาษา ใหกับบุคลากรและผูเรียน กศน. เพื่อรองรับ การพฒั นาประเทศ รวมทง้ั จัดทำกรอบสมรรถนะดจิ ิทลั (Digital Competency) สำหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2.9 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรางวินัย ทางการเงินใหก บั บคุ ลากรและผเู รียน กศน. 2.10สงเสรมิ การสรางนวัตกรรมของผูเรียน กศน. 2.11สราง อาสาสมัคร กศน. เพ่ือเปนเครือขายในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในชมุ ชน 2.12สงเสริมการสรางและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมท้ังรวบรวมและเผยแพร เพ่อื ใหหนว ยงาน / สถานศกึ ษา นำไปใชในการพฒั นากระบวนการเรยี นรูรวมกนั 3. ดานองคก ร สถานศกึ ษา และแหลงเรียนรคู ุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนาที่ของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา และพัฒนาตอเน่ืองสิรินธร สถานศึกษาข้ึนตรง ศูนยฝกและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการขับเคลอื่ นการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในพื้นท่ี 3.2 ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ยก ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ า หลวง” (ศศช.) ใหมีความพรอ มเพือ่ เปน พ้นื ท่ีการเรียนรูตลอดชีวิตทส่ี ำคัญของชมุ ชน 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ที่เนน Library Delivery เพ่ือเพ่ิมอัตราการอาน และการรหู นงั สอื ของประชาชน 3.4 ใหบริการวิทยาศาสตรเชิงรุก Science @home โดยใชเ ทคโนโลยเี ปน เครอื่ งมอื นำวทิ ยาศาสตร สชู วี ติ ประจำวันในทุกครอบครัว 3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพื้นที่การเรียนรู ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co - learning Space เพือ่ การสรางนิเวศการเรยี นรูใ หเ กิดขน้ึ สังคม 3.6 สง เสรมิ และสนบั สนนุ การดำเนนิ งานของกลุม กศน. จงั หวดั ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ดา นการบริหาร...

-4- 4. ดา นการบรหิ ารจัดการคุณภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท โครงสรา งของหนวยงานเพื่อรองรบั การเปลีย่ นแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำส่ัง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหาร จัดการ และการจดั การเรยี นรู เชน การปรับหลักเกณฑค าใชจ า ยในการจัดหลักสตู รการศกึ ษาตอ เน่ือง 4.3 ปรับปรงุ แผนอัตรากำลงั รวมท้ังกำหนดแนวทางท่ีชดั เจนในการนำคนเขา สตู ำแหนง การยาย โอน และการเลอ่ื นระดับ 4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงใหตรงกับ สายงาน และทักษะท่จี ำเปนในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู 4.5 เสริมสรางขวัญและกำลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน ประกาศ เกียรติคุณ การมอบโล / วุฒบิ ัตร 4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุม เหมาะสม เชน การปรับ คา ใชจา ยในการจัดการศึกษาของผูพกิ าร เด็กปฐมวัย 4.7 ปรับปรงุ ระบบฐานขอมลู สารสนเทศดานการศกึ ษาเพอื่ การบริหารจัดการอยางเปนระบบ เชน ขอ มูล การรายงานผลการดำเนินงาน ขอมูลเดก็ ตกหลน จากการศกึ ษาในระบบและเด็กออกกลางคนั เดก็ เรรอน ผพู กิ าร 4.8 สง เสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปน เคร่ืองมือในการบริหารจัดการอยางเตม็ รูปแบบ 4.9 สงเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 และการประเมินคุณภาพ และความโปรง ใสการดำเนินงานของภาครัฐ (ITA) 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพ่ือสรางความพรอมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการสง เสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตสำหรบั ประชาชน ------------------------------------------------- กลุม ยุทธศาสตรแ ละแผนงาน สำนักงาน กศน. 26 ตุลาคม 2564 -ฉ ับบร่าง-

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้