การป้องกันการเกิดสภาพไร้น้ำหนักของยานอวกาศทำได้หรือไม่ อย่างไร วัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ําหนักหมายถึงอะไร เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนักวัตถุนั้นจะมีสภาพอย่างไร ทำไมนักบินอวกาศจึงอยู่ในสภาวะแรงโน้มถ่วงต่ำตลอดเวลา เพราะเหตุใดในการส่งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ละท่อนเผาไหม้เชื้อเพลิงหมดแล้วจึงต้องถูกสลัดทิ้งไป ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา การใช้ชีวิตในอวกาศ สรุป มนุษย์อวกาศจะต้องเตรียมตัวอย่างไร ในการดำรงชีวิตในอวกาศ เมื่อมนุษย์ต้องอยู่ในอวกาศเป็นเวลานาน ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลง สภาพไร้น้ำหนัก คือ มวลของวัตถุเป็นศูนย์

การป้องกันการเกิดสภาพไร้น้ำหนักของยานอวกาศทําได้หรือไม่ อย่างไร

สยามรัฐออนไลน์ 25 กันยายน 2562 09:04 น. อวกาศ

GISTDA สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ได้โพสต์ผ่านเฟซบุ๊ก ระบุถึง ภัยร้ายในอวกาศที่หลายคนอาจไม่รู้มาก่อน #สาระความรู้จาก Gistda “อวกาศเป็นดินแดนที่น่าหลงใหลและเต็มไปด้วยโอกาสในการสำรวจ แต่เราไม่สามารถเดินทางไปเยือนอวกาศสุ่มสี่สุ่มห้าได้ เพราะที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์พบว่าการอาศัยอยู่ในอวกาศในระยะเวลานานอาจเกิดผลเสียต่อร่างกายได้อย่างคาดไม่ถึง แม้ว่าเราจะอยู่ในสถานที่ปรับความดัน หรือแม้แต่ชุดอวกาศก็ตาม ภัยร้ายในอวกาศที่นักบินอวกาศ และนักท่องอวกาศในอนาคตต้องคำนึงถึงหลักๆแล้วมีดังนี้ 1.รังสีคอสมิก (cosmic rays) ในห้วงอวกาศนั้นเต็มไปด้วยอนุภาคมีประจุไฟฟ้า พลังงานสูงที่เรียกว่า รังสีคอสมิกซึ่งมีที่มาจากนอกระบบสุริยะ แม้นักดาราศาสตร์จะยังไม่มั่นใจว่าแหล่งกำเนิดรังสีคอสมิกคืออะไร แต่งานวิจัยช่วงปี ค.ศ. 2013 ชี้เป้าเป็นครั้งแรกว่าการระเบิดของดาวฤกษ์ที่เรียกว่าซูเปอร์โนวานั้นเป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดหนึ่งของรังสีคอสมิก สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลกนั้นปลอดภัยจากรังสีคอสมิกเพราะโลกมีสนามแม่เหล็กที่ปกป้องพวกเราจากรังสีคอสมิกได้ แต่การเดินทางไปยังดาวเคราะห์ดวงอื่นอย่างดาวอังคารนั้นต้องใช้ระยะเวลานานหลายเดือนนั้นย่อมมีความเสี่ยงจากรังสีคอสมิกที่พุ่งเข้ามาปะทะจนอาจสร้างความเสียหายให้กับดีเอ็นเอและเซลล์ร่างกายได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์สมองอาจเสียหายอย่างถาวร) 2. ปัญหาทางจิตจากสภาพแวดล้อมในอวกาศ อวกาศนั้นเป็นดินแดนที่กว้างใหญ่ การเดินทางจากโลกไปยังดวงจันทร์ในยุคโครงการอะพอลโลยังต้องใช้เวลา 4-5 วัน แน่นอนว่าในการเดินทางไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลออกไปย่อมต้องใช้เวลานานกว่านั้นมาก ปัญหาคือ ยานอวกาศหากไม่มีพื้นที่มากพออาจทำให้ผู้เดินทางเกิดความรู้สึกอึดอัด อีกทั้งการไม่สามารถลงจากยานอวกาศเพื่อแวะเปลี่ยนบรรยากาศยังทำให้เกิดความเครียดสะสมได้ อย่างที่เรารู้กันดีว่า ความเครียดนั้นนอกจากจะส่งผลต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลต่อการทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันด้วย หากนักบินอวกาศหรือผู้เดินทางเกิดทะเลาะวิวาทกันในยานอวกาศ มันจะไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เพราะหากเรื่องบานปลายใหญ่โตมันอาจหมายถึงความเป็นความตายของลูกเรือทั้งลำเลยทีเดียว 3.สภาวะไร้แรงโน้มถ่วงส่งผลเสียต่อร่างกาย การอาศัยอยู่ในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วงนานๆส่งผลเสียต่อร่างกายได้หลายประการ นักบินอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจในสถานีอวกาศนานาชาติเป็นระยะเวลานานจะสูญเสียมวลกระดูกและกล้ามเนื้อฝ่อลง พวกเขาจึงต้องออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อรักษาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ อาการอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วง คือ การเห็นภาพไม่ชัดซึ่งเกิดจากน้ำหล่อเลี้ยงไขสันหลัง (spinal fluid) มีปริมาตรเพิ่มขึ้นจนไปกดเส้นประสาทตาและลูกตา นอกจากนี้ นักบินอวกาศในสถานีอวกาศนานาชาติกว่าครึ่งเกิดอาการปวดหลังเนื่องจากกล้ามเนื้อกระดูกสันหลัง (spinal muscles) เกิดการหดตัว ปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดกับร่างกายเหล่านี้ยังไม่มีทางแก้ที่ชัดเจน แต่ในอนาคต การสร้างสถานีอวกาศที่หมุนเหวี่ยงจนเกิดแรงโน้มถ่วงเทียมได้อาจเป็นทางออกที่ดีที่สุด ยังมีปัญหาอื่นๆอีกหลายประการที่ไม่ได้กล่าวถึงในที่นี้ ทั้งในแง่การถนอมอาหาร ยารักษาโรค อุบัติเหตุในอวกาศ เศษอุกกาบาตจิ๋วที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ฯลฯ และบางทีอาจมีอีกหลายปัญหาที่ซ่อนตัวจากการรับรู้ของพวกเรา ปัญหาเหล่านี้อาจทำให้หลายคนรู้สึกว่าหนทางสู่การท่องอวกาศดูห่างไกล แต่อันที่จริงแล้ว การล่วงรู้ถึงปัญหาเหล่านี้นับเป็นข้อดี เพราะเราจะได้หาทางป้องกันได้ ซึ่งนี่เป็นโจทย์ท้าทายสำหรับเหล่าวิศวกรอวกาศทั่วโลกและมันอาจไม่ต่างอะไรจากการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆที่ต้องแก้ไขปัญหาต่างๆไปเรื่อยๆจนมันปลอดภัย และเข้ามาอยู่ในชีวิตประจำวันของเราในที่สุด อ้างอิง //www.nature.com/…/cosmic-rays-originate-from-superno… //www.sciencemag.org/…/shrinking-spines-space-fungus-… //www.space.dtu.dk/…/Universe_and_Sola…/magnetic_field” ขอบคุณเรื่อง-ภาพ จากเพจ GISTDA สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

การเดินทางสู่อวกาศ

การออกไปสำรวจอวกาศของมนุษย์ ช่วยให้ได้ความรู้เกี่ยวกับโลกและดวงดาวต่าง ๆ  มากขึ้น

ช่วยให้ทราบกำเนิด

ความเป็นมาและอนาคตของระบบสุริยะ

ในการส่งยานอวกาศจากพื้นโลกไปสู่อวกาศ  เพื่อไปยังดวงดาวอื่นจะต้องทำให้ยานนั้นมีความเร็วมากกว่า 

ความเร็วหลุดพ้นแต่ถ้าจะให้ยายนั้นโคจรรอบโลกจะต้องทำให้ความเร็วสุดท้ายของยานมีค่าเท่ากับความเร็วโคจรรอบโลก 

ยานจึงจะโคจรไปรอบโลกได้

การส่งยานอวกาศหรือดาวเทียมขึ้นจากพื้นโลก ต้องอาศัยจรวจขับดันให้พุ่งขึ้นไป การเคลื่อนที่ของจรวจใช้กฎ

 

การเคลื่อนที่ของนิวตันที่ว่า ทุก ๆ แรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากันกระทำในทิศตรงกันข้าม จรวจมีการเผาไหม้

เชื้อเพลิงขับดันไปข้างหลัง แต่ตัวจรวดจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า

เมื่อยิงวัตถุในแนวขนานกับพื้น วัตถุจะเคลื่อนที่ไปเป็นแนววิถีโค้ง เนื่องจากมีแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้วัตถุตกลง

 

ในแนวดิ่งอีกแนวหนึ่งด้วยความเร็วของวัตถุที่ตกลงมา จึงประกอบด้วยความเร็วตามแนวราบ   และความเร็วตามแนวดิ่งร่วมกัน 

ถ้าเพิ่มความเร็วตามแนวราบมากขึ้นจนถึงความเร็วขนาดหนึ่ง วัตถุจะไม่ตกลงสู่พื้นโลก ความเร็วขนาดนี้เรียกว่า ความเร็วโคจร

รอบโลก (Orbital Velocity)  ยิ่งสูงขึ้นไปความเร็วโคจรรอบโลก  จะยิ่งช้าลง ที่ระดับความสูง 1,000 กิโลเมตร ความเร็ว 

โคจรรอบโลก 26,452 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 1 รอบโลก

ปัจจุบันการส่งจรวจเพื่อขับดันให้ดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นไปสู่อากาศนั้น มักใช้เครื่องยนต์จรวจหลายท่อนต่อกัน 

ยานอวกาศหรือดาวเทียมจะติดกับจรวจท่อนสุดท้าย จรวจจะขึ้นจากฐานยิงในแนวดิ่งเพื่อให้เวลาเดินทางในบรรยากาศโลก

สั้นที่สุด ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เสียดทานกับบรรยากาศมากเกินไป  จรวจทุกท่อนจะมีเชื้อเพลิงในตัวเองจรวจท่อน 1 เมื่อใช้เชื้อเพลิง

 

หมดแล้วจะสลัดตัวเองหลุดออก  เหลือแต่ท่อนถัดไปพุ่งขึ้นไปอีก ในที่สุดจะเหลือดาวเทียม   หรือยานอวกาศกับจรวจท่อนสุดท้าย

โคจรอยู่ เมื่อความเร็วถึงความเร็วโคจรรอบโลกแล้ว เครื่องยนต์จรวจจะหยุดทำงาน  ปล่อยดาวเทียมหรือยานอวกาศ โคจรต่อไป

และถ้าความเร็วช้าลงหรือผิดเส้นทาง จึงจะใช้เครื่องยนต์จรวจช่วยปรับเส้นทางและความเร็ว

ในการส่งยานอวกาศขึ้นไปจากพื้นโลกนอกจากจะต้องคำนึง

ถึงแรงโน้มถ่วงแล้ว  ถ้าส่งมนุษย์ขึ้นไปด้วยก็จะต้อง 

คำนึงถึง สภาพไร้น้ำหนัก ความดันและอุณหภูมิ ตลอดจนการดำรงชีวิต ในลักษณะพิเศษ   สภาพไร้น้ำหนัก เป็นสภาพที่เสมือน 

ว่าไม่มีแรงดึงดูดของโลกกระทำต่อสิ่งมีชีวิตนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่ดึงดูดยาน สมดุลกับแรงหนีศูนย์กลาง 

ที่ยานอวกาศจะหนีจากโลก มนุษย์ในยายจึงเสมือนไม่มีน้ำหนัก   สภาพไร้น้ำหนักก่อให้เกิดอุปสรรคในการดำรงชีวิต เครื่องใช้     

ต่าง ๆ จะลอยไปมา น้ำจะไม่อยู่ในแก้ว  การรับประทานอาหาร ขับถ่าย และนอน จะต้องอยู่ในสภาพผิดจากสภาพบนพื้นโลก

การส่งดาวเทียม  ยานอวกาศ  และสถานีอวกาศ  

การส่งดาวเทียม  ยานอวกาศ  และสถานีอวกาศ  ต้องใช้จ่ายสูงมากในระยะหลังจึงมีการพัฒนายานขนส่งอวกาศ 

ที่ขึ้นสู่อวกาศ แล้วกลับมายังโลกได้อีกเรียกว่า  ยานขนส่งอวกาศหรือกระสวยอวกาศ  (Space  Shuttle)

ยานขนส่งอวกาศ  มีรูปร่างเหมือนเครื่องบินแต่ใช้เครื่องยนต์จรวด  3  เครื่องติดอยู่ส่วนท้าย และมีจรวดขนาดเล็ก 

ติดอยู่รอบตัวยานอีก  44  เครื่อง  สำหรับปรับทิศทางการโคจร  จรวดขนาดเล็กนี้ใช้เชื้อเพลิงในตัวยาน

ยานขนส่งอวกาศขึ้นจากฐานยิงจรวดโดยใช้จรวดเชื้อเพลิงแข็ง  2  เครื่อง  เมื่อขึ้นไปจนเชื้อเพลิงแข็งหมด  

จรวด  2  เครื่องจะแยกตัวออก  ถ้าเชื้อเพลิงภายนอกที่อยู่ตรงกลางจะส่งเชื้อเพลิงให้จรวด  3  เครื่อง  ในยานขับดันต่อไป   

เมื่อถึงวงโคจรรอบโลก  ถ้าเชื้อเพลิงจะกลับตกลงมาสู่บรรยากาศ  ไม่ต้องนำกลับมาใช้อีกยานจะโคจรรอบโลกต่อไป

ภารกิจของยานขนส่งอวกาศ  คือ  การค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์  ปล่อยดาวเทียม  เก็บดาวเทียมมาซ่อม 

หลังเสร็จภารกิจระร่อนเข้าสู่บรรยากาศของโลก  จะลงจอดเช่นเดียวกับเครื่องบิน

ชีวิตนักบินอวกาศ

นักบินอวกาศเป็นได้ทั้งชายและหญิง  เริ่มต้นด้วยการสมัคร  ตรวจสอบประวัติ  ทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย  

ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกจะต้องเข้าค่ายอบรมทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ  ใช้เวลาอย่างน้อย  1  ปี  สำหรับขั้นพื้นฐาน  ส่วนขั้นอื่น ๆ  

ใช้เวลาตามความสำคัญของหน้าที่และภาระรับผิดชอบ   

สำหรับผู้ที่จะขับขี่ยานอวกาศนั้นต้องมีความสามารถพิเศษเหมือนนักบินที่ขับเรื่องบิน ส่วนผู้มีหน้าที่อื่นมีการฝึกหัด 

ต่างกันออกไป  บางคนทำหน้าที่นักวิทยาศาสตร์อวกาศ ซึ่งจะต้องขึ้นไปทดลองวิทยาศาสตร์กันในอวกาศก็มี

ขั้นตอนการฝึกนักบินอวกาศ คือ  

1. การฝึกให้ทนแรงจี    

จีนี้คือ  G  =  gravity  แปลว่าแรงโน้มถ่วงของโลกนั่นเอง  ขณะจรวดทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้าเร่งความเร็ว

 

ให้ถึงความเร็วหลุดพ้นนั้น  นักบินอวกาศจะถูกดลงกับพื้นด้วยแรงอันเกิดจากการที่จรวดเร่งความเร็วทำให้รู้สึกว่า 

มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น  4  ถึง  5  เท่า  ถ้าจะยืนอยู่คงทนไม่ได้  นักบินอวกาศจึงต้องครึ่งนั่งครึ่งนอนหันหน้าสู่ทิศ 

ที่จรวดพุ่งขึ้นไป  ทั้งนี้นักบินอวกาศต้องได้รับการฝึกเพื่อให้ทนต่อแรงจีนี้  โดยมีอุปกรณ์การฝึกเป็นโครงเหล็ก  

เหวี่ยงห้องฝึกหมุนไปอย่างเร็ว ให้นักบันอวกาศอยู่ในห้องฝึกนั้น

2. การฝึกให้ทนต่อสภาพไร้น้ำหนัก  (Weightlessness)    

เมื่อยานอวกาศโคจรรอบโลกจะเกิดสภาพไร้น้ำหนักในอวกาศ  เป็นสภาพที่ไม่เหมือนบนพื้นโลกสภาพนี้

 

คือสภาพที่เหมือนไม่มีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อทุกสิ่งในยานอวกาศ  เมื่ออยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก  ของใช้ที่จับมาวาง 

ตรงหน้าจะลอยอยู่ได้  แม้แต่ตัวนักบินอวกาศเองก็ลอยไปมาได้  การบังคับตัวเองไม่ให้หมุนคว้างไปชนอะไรจึงต้อง 

มีการฝึกหัดโดยมีการฝึกบนเครื่องบินที่บินโค้งเป็นครึ่งวงกลมอย่างหนึ่ง   และฝึกในอ่างน้ำขนาดใหญ่อีกอย่างหนึ่ง  

นักบินอวกาศจะสวมชุดพิเศษลงไปอยู่ในน้ำ   ชุดนี้จะพยุงให้ตัวนักบินอวกาศมีความหนาแน่นเท่ากับน้ำพอดี  

จึงสามารถล่องลอยไปในน้ำได้เหมือนกับสภาพไร้น้ำหนักที่จะเกิดในอวกาศนั้น

 3. การฝึกทางจิตวิทยา

การที่นักบินอวกาศจะต้องขึ้นไปอยู่ในอวกาศนั้นก็เหมือนถูกตัดขาดจากสิ่งแวดล้อมบนพื้นโลก  อาจต้องอยู่

 

ในที่เงียบสงัด  หรือมืดสนิท  สภาพเช่นนี้ถ้าไม่ได้รับการฝึก  จะส่งผลทางจิตใจแก่นักบินอวกาศมากจึงต้องมีการให้ 

นักบินอวกาศใช้ชีวิตแบบต่าง ๆ  เช่น  อยู่อย่างโดดเดี่ยว   หรืออยู่เป็นหมู่คณะที่ต้องอัธยาศัยเข้ากันได้  ถ้าจะไป 

สู่อวกาศเป็นหมู่   

นอกจากนี้นักบินอวกาศจะได้รับการฝึกให้สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า  เช่น  กรณีเกิดวงจรไฟฟ้าขัดข้อง หรือ

การแก้ไขเครื่องมือต่าง ๆ  ที่จำเป็น  การดำรงชีวิตในอวกาศก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องฝึกหัด  เช่น  การกิน  การนอน  การขับถ่าย 

ซึ่งมีสภาพไม่เหมือนบนพื้นโลก  จะต้องใช้ชุดอวกาศเป็นเพื่อป้องกันรังสีและอุณหภูมิสูงได้

การปฏิบัติงานในยานอวกาศ  นักบินอวกาศสามารถทนต่อสภาพความดันต่ำได้ถึงชั้นบรรยากาศถ้าต่ำกว่านี้ต้องสวม 

ชุดอวกาศ  การปรับอุณหภูมิในยาน  การใช้ออกซิเจน  และการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็เป็นระบบที่มีอยู่  แม้กระทั่งขยะ 

ที่มีก็ต้องเก็บด้วยวิธีพิเศษ  เพื่อนำมาทิ้งบนพื้นโลก  ไม่ให้ล่องลอยเป็นมลภาวะในอวกาศ    การปฏิบัติงานนอกยานยิ่งต้องมีวิธีฝึก 

กันอย่างพิเศษ  เช่น  กรณีสายอวกาศของวิทยุติดต่อขัดข้องต้องออกไปแก้ไขกันในอวกาศ  จะมีการสวมชุดอวกาศออกปฏิบัติการ  

ซึ่งอาจมีสายหรือท่อจากยานติดกับนักบินอวกาศนั้นไปด้วย   ซึ่งปฏิบัติการนอกยานนี้มีบ่อยครั้งในกรณีต่าง ๆ  เช่น  ไปถ่ายภาพ  

ไปเก็บวัสดุที่หลุดออกไปไปซ่อมแผงเซลล์สุริยะ   หรือแม้กระทั่งไปเก็บดาวเทียมที่ชำรุดหรือไปซ่อมดาวเทียม

  ชีวิตนักบินอวกาศเป็นชีวิตที่เสี่ยงภัย  เคยปรากฏว่านักบินอวกาศหลายคนต้องสูญเสียชีวิตไปกับอุบัติภัย  เช่น 

ไฟไหม้ยาน  หรือจรวดระเบิดมาแล้วซึ่งจะเห็นได้ว่าปฏิบัติการด้านอวกาศนี้เป็นปฏิบัติการที่ต้องอาศัยความรู้ความชำนาญ

อย่างยิ่ง  แม้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยควบคุมมากมาย  โอกาสทำงานพลาดก็ยังเกิดขึ้นบ่อย ๆ  ซึ่งเป็นบนเรียนนำมาแก้ไข

จุดบกพร่องให้ดีขึ้น

อาหารที่นักบินอวกาศนำขึ้นไปด้วยเป็นอาหารสำเร็จรูป    กรณีที่อยู่ในยานอวกาศขนาดใหญ่

  มีห้องนั่งรับประทาน

อาหาร มีห้องครัวที่ใช้พลังงานไฟฟ้า  แต่บางกรณีต้องเป็นอาหารใส่ถุงบีบเข้าปากเพื่อกันการฟุ้งกระจายส่วนการขับถ่ายนั้น  

ยานอวกาศขนาดใหญ่มีห้องน้ำห้องส้วมพร้อม  ซึ่งระบบสุญญากาศดูดสิ่งขับถ่ายไปใส่ถุงพลาสติกสำหรับทิ้ง  โดยมีสารซับน้ำ 

อยู่ในถุงด้วย  ในชุดอวกาศก็มีที่เก็บปัสสาวะซึ่งมีสารซับน้ำเช่นกันสรุปว่าการกินอยู่และการขับถ่ายได้รับการดัดแปลงให้เหมาะสม

กับสภาพในอวกาศนั่นเอง

การป้องกันการเกิดสภาพไร้น้ำหนักของยานอวกาศทำได้หรือไม่ อย่างไร

การป้องกันการเกิดสภาพไร้น้ำหนักบนยานอวกาศ ทำได้หรือไม่ ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน ได้ โดยการออกกำลังกายในยานอวกาศ ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา

วัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ําหนักหมายถึงอะไร

weightlessness. สภาพไร้น้ำหนัก, สภาพที่วัตถุอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะอนันต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนักวัตถุนั้นจะมีสภาพอย่างไร

เมื่อยานอวกาศโคจรรอบโลกจะเกิดสภาพไร้น้ำหนักในอวกาศ เป็นสภาพที่ไม่เหมือนบนพื้นโลกสภาพนี้ คือสภาพที่เหมือนไม่มีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อทุกสิ่งในยานอวกาศ เมื่ออยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก ของใช้ที่จับมาวาง ตรงหน้าจะลอยอยู่ได้ แม้แต่ตัวนักบินอวกาศเองก็ลอยไปมาได้ การบังคับตัวเองไม่ให้หมุนคว้างไปชนอะไรจึงต้อง

ทำไมนักบินอวกาศจึงอยู่ในสภาวะแรงโน้มถ่วงต่ำตลอดเวลา

ในสภาวะบนโลกที่แรงโน้มถ่วงกล้ามเนื้อจะมีความแข็งแรง เพื่อต้านทานแรงโน้มถ่วง แต่เมื่ออยู่ในอวกาศ มวลกล้ามเนื้อและมวลกระดูกจะลดลง เพราะไม่ต้องใช้แรงต้านทานกับแรงโน้มถ่วง ซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้อเนื้ออ่อนแรงลงเนื่องจากไม่ได้ใช้แรง และมวลกล้ามเนื้อและมวลกระดูกก็จะลดลงตามไปด้วย จึงเป็นเหตุผลจำเป็นที่นักบิวอวกาศจะต้องออกกำลัง ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้