การแบ่งประเภทของสถาบันการเงินตามอายุหลักทรัพย์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

​​​​​​​หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เพื่อดำเนินการตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และสนับสนุนการลงทุนต่าง ๆ โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลังซึ่งได้มอบหมายให้ ธปท. ทำหน้าที่ตรวจสอบผลการดำเนินงานและความเสี่ยง และรายงานผลการตรวจสอบไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

SFIs แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่

1. สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทำหน้าที่เป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินทั้งด้านเงินฝากและให้สินเชื่อ ซึ่งปัจจุบันมี 4 แห่ง คือ

 

1.1 ธนาคารออมสิน (Government Savings Bank)

เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคลังออมสิน พ.ศ. 2456 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นธนาคารสำหรับประชาชน โดยมุ่งให้บริการรับฝากเงินแก่ผู้ฝากเงินรายย่อย ส่งเสริมการออมทรัพย์อย่างกว้างขวางในกลุ่มนักเรียนและประชาชนโดยทั่วไป (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม)​

 

​1.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives)

มีีชื่อว่า ธกส. เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือทางการเงินแก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร สำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม เพื่อเพิ่มรายได้หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม)​

 

1.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank)

เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 ​
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สินเชื่อเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยทั้งระยะสั้น (สำหรับผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาโครงการที่ดินและที่อยู่อาศัย) และระยะยาว (สำหรับประชาชน) เพื่อการปลูกสร้าง ซื้อ​ หรือจัดหาที่อยู่อาศัย (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม) ​

 

1.4 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีช่องทางการเงินที่ถูกต้องตามแนวทางศาสนาอิสลาม และมีชื่อที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า ไอแบงก์ (iBank) (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม) ​​


2. สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทำธุรกิจตามขอบเขตที่กำหนด 

เช่น ให้สินเชื่อหรือรับประกันสินเชื่อให้แก่ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม แต่ไม่รับเงินฝากจากประชาชนทั่วไป ซึ่งปัจจุบันมี 4 แห่งคือ

 

​2.1 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand)

มีชื่อที่รู้จักกันในวงกว้างว่าเอกซิมแบงก์ (EXIM Bank)  เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2536 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการส่งออก การนำเข้า การลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม)   ​

 

​2.2 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium  Enterprise Development Bank of Thailand)​

มีชื่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่าเอสเอ็มอีแบงก์
(SME Bank) เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตาม
พระราชบัญญัติธนาคา​รวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 ภายใต้​การกำกับดูแลของกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยายหรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อค้ำประกัน ร่วมลงทุน ให้คำปรึกษา แนะนำ หรือให้บริการที่จำเป็น (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม)​

 

2.3 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (Thai Credit Guarantee ​Corporation)

เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534  มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนอุตสาหกรรมขนาดย่อมให้มีโอกาสได้รับสินเชื่อจากสถาบันการเงินมากขึ้น (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม) ​

 

2.4 บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (Secondary Mortgage Corporation)

เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยนำหลักการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) มาใช้เพื่อระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้เพียงพอ รวมทั้งช่วยแก้ปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ ​(ศึกษารายละ​เอีย​ดเพิ่มเติม)   ​​

สถาบันการเงินแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทย่อยๆ ได้แก่ 1.1 ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธนาคารกลาง 1.2 ธนาคารพาณิชย์ เช่น 1.3 ธนาคารที่ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ ได้แก่

การแบ่งประเภทของสถาบันการเงินตามอายุของหลักทรัพย์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทมีอะไรบ้าง

แบ่งได้เป็น 2 ประเภท สถาบันการเงินในตลาดเงิน และ สถาบันการเงินในตลาดหุ้น คุณครู Qanda - ปิงปอง สถาบันการเงินในตลาดเงิน นั้นเป็นสถาบันการเงินที่ออกหลักทรัพย์และซื้อขายหลักทรัพย์ที่มีอายุครบกำหนดไม่เกิน1ปี เช่น ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธกส.

ธนาคารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือข้อใด

ความส าคัญมาก การธนาคารเบื้องต้นนั้น รวมถึงธนาคารกลาง และระบบธนาคารพาณิชย์ทั้งหมด เป็นสถาบันทางการเงินมี ความส าคัญอย่างยิ่ง ทั้งในด้านการเงินและการให้สินเชื่ออื่น ประเภทของ ธนาคาร ประเภทของธนาคารทั่วไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ธนาคารกลาง (Central Bank) 2. ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank)

สถาบันการเงินมีความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจอย่างไร

สถาบันการเงินมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการเงินของประเทศ โดยทำหน้าที่ระดมและจัดสรรเงินทุนแก่ภาคเศรษฐกิจจริง การชำระราคาและบริการ การบริหารความเสี่ยง รวมถึงการให้ข้อมูลทางการเงินเพื่อการตัดสินใจ ดังนั้น การดูแลให้การดำเนินงานของสถาบันการเงินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ไม่ก่อ ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้