หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร ผู้สนใจงานจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐควรรู้

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร ?

การที่ช่างหรือผู้รับเหมาจะทำงานให้กับหน่วยงานรัฐปัจจุบันนี้ มักจะพบว่าจะต้องทำการเสนอราคาผ่านวิธีประกวดราคาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ที่เรียกกันว่า e-bidding (ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์) อยู่เสมอ ซึ่งเรื่องนี้เกิดขึ้นจากนโยบายภาครัฐที่ต้องการให้การ จัดซื้อจัดจ้าง ของหน่วยงานภาครัฐเป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม เป็นการลดการพบปะอันเป็นเหตุให้เกิดข้อครหาเรื่อง และการสมยอมราคา ระหว่างหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการ และยังช่วยให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมไม่มีการสมยอมระหว่างผู้เสนอราคา เนื่องจากไม่มีการเปิดเผยรายชื้อผู้มาขอรับเอกสารและผู้มายื่นเสนอราคา และยังมีความสะดวกในกระบวนการเพื่อยื่นเสนอราคา เพราะทำได้จากทุกที่ผ่านระบบออนไลน์ แต่อย่างไรก็ตาม ในการจะดำเนินการเพื่อร่วมการประกวดราคาได้ บ่อยครั้งที่ต้องมีการใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งในกรณีเป็นการดำเนินการผ่านระบบออนไลน์ก็จะใช้สิ่งที่เรียกว่า หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ Read more…


บริการออกหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ ต่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  • สะดวก ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไป กฟภ. เพื่อยื่นหนังสือค้ำประกัน
  • ลดขั้นตอนเรื่องเอกสาร ป้องกันเอกสารสูญหาย

ขั้นตอนการดำเนินการ

 
  1. ผู้ใช้ไฟฟ้ายื่นคำร้องกับ กฟภ. ที่สำนักงานการไฟฟ้า
  2. กฟภ. ออกเอกสารแจ้งค่าใช้จ่าย
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าติดต่อธนาคารเพื่อขอหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์
  4. ธนาคารพิจารณาอนุมัติค้ำประกันและส่งข้อมูลหนังสือค้ำประกันให้ กฟภ.
  5. กฟภ. แจ้งผลดำเนินการข้อมูลหลักประกันให้กับธนาคาร
  6. ธนาคารจะแจ้งผลการทำรายการการค้ำประกันให้ลูกค้าทราบผ่านทาง SMS

เงื่อนไข : สำหรับผู้ใช้ไฟ้ฟ้าที่มีหลักประกันตั้งแต่ 10,000 บาท


บริการค้ำประกันทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อหน่วยงานภาครัฐ

ให้ทุกการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่วยงานภาครัฐเป็นเรื่องง่าย ด้วยระบบที่เชื่อมโยงระหว่างกรมบัญชีกลางกับกรุงศรี

ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์

  • ถูกต้อง รวดเร็ว
  • ส่งใบเสร็จรับเงินถึงที่ทำงาน
  • ส่งคำขอให้ธนาคารได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุด
  • ง่ายเพียงชำระค่าธรรมเนียม ผ่านบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันของธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  • แจ้งผลการทำรายการทาง SMS ทันที และ e-mail ภายในวันที่ทำรายการ

ประเภทหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee: L/G)

  • ค้ำประกันการยื่นซองประกวดราคา (Bid Bond)
  • ค้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญา (Performance Bond)
  • ค้ำประกันรับเงินล่วงหน้าหรือรับเงินก่อนการตรวจรับ (Advance Payment Bond)
  • ค้ำประกันผลงาน (Retention Bond /Maintenance Bond)

ขั้นตอนการดำเนินการผ่านระบบ e-Bidding

  1. ลูกค้ากรอกข้อมูลคำขอออกหนังสือค้ำประกันผ่านระบบ e-Bidding ระบุโครงการที่ต้องการโดยเลือกธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  2. หากข้อมูลถูกต้องครบถ้วน กรมบัญชีกลางจะส่งข้อมูลรายการค้ำประกันให้ธนาคาร
  3. เมื่อธนาคารได้รับรายการจะดำเนินการวางหนังสือค้ำประกันให้ทันทีเมื่อธนาคารเปิดทำการ (วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30 – 17.30 น. ยกเว้นวันหยุดทำการธนาคาร) โดยลูกค้าสามารถตรวจสอบผลการค้ำประกันด้วยตัวเองผ่านระบบ e-Bidding ซึ่งจะแสดงข้อมูล เช่น เลขที่อ้างอิงการค้ำประกัน จำนวนวงเงินการค้ำประกัน ระยะเวลาการค้ำประกัน เป็นต้น
  4. ธนาคารจะแจ้งผลการทำรายการการค้ำประกันให้ลูกค้าทราบผ่านทาง SMS และ e-mail

หมายเหตุ: ระบบ e-Bidding ไม่สามารถตั้งเวลาการทำรายการล่วงหน้าได้ / ธนาคารจะหักชำระค่าธรรมเนียมการทำรายการผ่านบัญชีเงินฝากที่ลูกค้าได้แจ้งไว้ตอนสมัครใช้บริการ
 

ให้ทุกการวางค้ำประกัน เป็นเรื่องง่าย ด้วยบริการออกหนังสือค้ำประกันผ่านรูปแบบ การรับ - ส่ง ข้อมูลการค้ำประกันทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างลูกค้า ธนาคาร และผู้รับผลประโยชน์ ได้อย่าง รวดเร็ว สะดวก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย ผ่าน Krungsri BIZ Online (KBOL)

 

ขั้นตอนการใช้บริการ Krungsri e-Guarantee

  1. ลูกค้ายื่นเอกสารการวางค้ำประกันต่อผู้รับผลประโยชน์ ผ่าน Krungsri BIZ Online (KBOL)
  2. ผู้รับผลประโยชน์แจ้งให้ธนาคารวางหลักประกันหรือออกหนังสือค้ำประกัน
  3. ระบบจะทำการแจ้งและส่ง SMS ให้ลูกค้าอนุมัติรายการผ่าน KBOL (เฉพาะกรณีลูกค้าได้กำหนดให้มีผู้อนุมัติรายการก่อนเท่านั้น
  4. ลูกค้าแจ้งอนุมัติรายการออกหนังสือค้ำประกัน ผ่าน KBOL (ถ้ามี)
  5. ธนาคารส่งข้อมูลหนังสือค้ำประกันให้ผู้รับผลประโยชน์
  6. ธนาคารส่ง SMS/e-mail แจ้งผลดำเนินการเรียบร้อย

เงื่อนไขการสมัครใช้บริการ Krungsri e-Guarantee

  1. ลูกค้าจะต้องเป็นลูกค้าสินเชื่อและมีวงเงินสินเชื่อภาระผูกพัน/หนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee) กับธนาคาร
  2. ลูกค้าต้องลงนามใน “คำขอให้ธนาคารวางค้ำประกันทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อหน่วยงานภาครัฐผ่านระบบ e-Government Procurement”
  3. เงื่อนไขอื่นๆ และค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่ธนาคารกำหนด

หน่วยงานผู้รับผลประโยชน์ที่เข้าร่วม

ภาพรวมระบบ e-GP

ระบบการลงทะเบียนผู้ค้ากับภาครัฐ

ระบบ e-bidding

ระบบ e-market

วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) สำหรับผู้ค้ากับภาครัฐ

แหล่งที่มาข้อมูล: เว็บไซต์กรมบัญชีกลาง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้