วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

1.4 ���觷���Ңͧ������ (Source of Data)

������ʶԵ��Ҩ��ṡ������觷������ 2 �ҧ ���
•  �����Ż������ (Primary Data) �繢����ŷ����������˹��§ҹ������繼��ӡ���红����Ŵ��µ��ͧ ����Ըա�����Ǻ����������Ҩ���Ըա�������ɳ� ��÷��ͧ ���͡���ѧࡵ��ó� �����Ż�������繢����ŷ������������´�ç�����������ͧ��� ���ѡ����������㹡�èѴ������դ��������٧
•  �����ŷص������ (Secondary Data) �繢����ŷ��������������Ǻ����ͧ ���ռ��������� ˹��§ҹ���� �ӡ�����Ǻ���������� �� �ҡ��§ҹ ����������� �����ѧ���������ͧ ˹��§ҹ�ͧ�Ѱ��� ��Ҥ� ����ѷ �ӹѡ�ҹ�Ԩ�� �ѡ�Ԩ�� ������ ˹ѧ��;���� �繵� ��ù���Ң���������ҹ�������繡�û����Ѵ������Ф������� ��㹺ҧ���駢������Ҩ�����ç�Ѻ������ͧ��âͧ����� ��������������´�����§�ͷ��й���������� �͡�ҡ���㹺ҧ���� �����Ź���Ҩ�դ����Դ��Ҵ��м�����ѡ������Һ��ͼԴ��Ҵ�ѧ����� ����Ҩ�ռš�з���͡����ػ�� �ѧ��� �����йӢ����ŷص���������������Ѵ���ѧ��е�Ǩ�ͺ�س�Ҿ�����š�͹���й����������

  น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยสับสนและมีข้อสงสัยเกี่ยวกับประโยคในภาษาไทยกันมาไม่มากก็น้อย ทำไมอยู่ดี ๆ เราถึงไม่เข้าใจประโยคภาษาไทยที่พูดกันอยู่ทุกวันไปได้นะ? แต่ไม่ต้องกังวลไปนะคะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ กลับไปทบทวนเกี่ยวกับเรื่องประโยคอีกครั้ง พร้อมเรียนรู้เคล็ดลับการสังเกตประโยคง่าย ๆ จะเป็นอย่างไร ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ความหมายของประโยค   ประโยค เป็นหน่วยทางภาษาที่เกิดจากการนำคำหลาย ๆ คำ หรือกลุ่มคำ มาเรียงต่อกันอย่างเป็นระบบ มีความสัมพันธ์กัน

นายเดี่ยว ใจบุญ.  ปีที่ผลิต.  ค30203 สถิติเบื้องต้น. [ออนไลน์].  รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี).  เข้าถึงได้จาก : cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/…/06Kept_information_6a82.ppt.  (วันที่ค้นข้อมูล : 30 มกราคม  2553)

ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล

ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล เป็นข้อความจริงหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงสภาพ สถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง โดยที่ข้อมูลอาจเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ เช่น ในปี พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีกำหนดมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไข้หวัดนก หรือในเดือนกันยายน 2547 น้ำมันเบนซิน 91 จำหน่ายในเขตกรุงเทพและปริมณฑลราคาลิตรละ 20.99 บาท โดยทั่ว ๆ ไป ข้อมูลมักจะอยู่ในรูปตัวเลขซึ่งมีหลาย ๆ จำนวนที่สามารถนำมาเปรียบเทียบขนาดกันได้ เช่น ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2547 ไทยส่งออกข้าวไปยังประเทศหนึ่งรวม 2.88 ล้านตัน ลดลงจาก 5.00 ล้านตัน ของการส่งออกในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 42.4
ข้อมูลเชิงสถิติเป็นข้อมูลที่สามารถนำมาประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยกระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อตอบคำถามในประเด็นต่าง ๆ ได้

ประเภทของข้อมูล
ประเภทของข้อมูลสามารถจำแนกได้จากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และจากลักษณะของข้อมูล

การจำแนกข้อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
เมื่อจำแนกประเภทของข้อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) และ ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data)
1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทำได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นับ หรือสังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เนื่องจากข้อมูลเหล่านี้ไม่เคยมีผู้ใดเก็บรวบรวมไว้ก่อน
การเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทนี้ทำได้ 2 วิธีคือ การสำมะโน (census) และการสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง (sample survey)
2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทนี้ ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอง สามารถนำข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการนำข้อมูลประเภทนี้มาใช้ให้มาก เนื่องจากมีโอกาสผิดพลากได้มากหากผู้เก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่างใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
แหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญ คือ
(1) รายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาล โดยทั่ว ๆ ไป หน่วยงานราชการหรือองค์การของรัฐบาล มักจะมีรายงานแสดงข้อมูลพิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นประจำซึ่งอาจเป็นรายงานรายเดือน รายสามเดือน หรือรายปี ข้อมูลที่ได้จากรายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาลนี้อาจถือได้ว่าเป็นที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญที่สุด
(2) รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน หน่วยงานของเอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของตนออกเผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ เช่น รายงานประจำเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพ์รายวัน หรือสื่ออื่น ๆ มักจะมีข้อมูลทุติยภูมิประกอบบทความหรือรายงานด้วย

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในหนังสือ รายงาน บทความหรือเอกสารต่าง ๆ ควรดำเนินการดังต่อไปนี้
(1) พิจารณาตัวบุคคลผู้เขียนรายงาน บทความ หรือเอกสารเหล่านั้นเสียก่อนว่าเป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เขียนถึงขั้นพอที่จะเชื่อถือได้หรือไม่ การเขียนอาศัยเหตุผลและหลักวิชาการมากน้อยเพียงใด ข้อมูลที่จะนำมาใช้ซึ่งรวบรวมจากรายงาน บทความ หรือเอกสารดังกล่าวควรใช้ข้อมูลที่ผู้เขียนเก็บรวบรวมมาเองโดยตรง
(2) ถ้าข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมสามารถหาได้จากหลาย ๆ แหล่ง ควรเก็บรวบรวมมาจากหลาย ๆ แหล่งเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบว่าข้อมูลที่ต้องการมีความผิดพลาดเนื่องจากการลอกผิด พิมพ์ผิด หรือเข้าใจผิดบ้างหรือไม่
(3) พิจารณาจากลักษณะของข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมว่าเป็นข้อมูลที่เป็นข้อความจริง ข้อมูลที่ได้จากทะเบียน ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นหรือเจตคติ ข้อมูลประเภทความลับ หรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ถ้าเป็นข้อมูลที่เป็นข้อความจริง ข้อมูลที่ได้จากทะเบียนหรือข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นหรือเจตคติส่วนใหญ่มักจะมีความถูกต้องเชื่อถือได้สูง แต่ถ้าเป็นข้อมูลประเภทความลับหรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ส่วนใหญ่มักจะมีความถูกต้องเชื่อถือได้น้อย

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซึ่งอาจทำได้โดยการสำมะโนหรือสำรวจสามารถทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมใช้กันทั่ว ๆ ไปมี 5 วิธีคือ
(1) การสัมภาษณ์
(2) การสอบถามทางไปรษณีย์
(3) การสอบถามทางโทรศัพท์
(4) การสังเกต
(5) การทดลอง

//www.vcharkarn.com/lesson/1506

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีวิธีการใดบ้าง

สำมะโน (Census) เป็นวิธีการเก็บข้อมูล โดยการแจงนับทุกหน่วยของประชากร ซึ่งอาจเป็นการแจงนับโดยการ นับ, วัด หรือ ชั่ง การสัมภาษณ์ที่มีการเผชิญหน้ากัน ตลอดจนการอาศัยสื่อกลางต่างๆ.
การสำรวจตัวอย่าง (Sample survey) ... .
การทดลอง (Experiment) ... .
เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว.

วิธีการเก็บข้อมูลคืออะไร

การเก็บข้อมูล หรือ Data collection คือกระบวนการรวบรวมและการวัดข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่เราสนใจให้เป็นระบบที่ทำให้ได้ข้อมูลนำไปใช้ต่อได้ โดยการเก็บข้อมูลจะช่วยให้นักวิจัยหรือนักสำรวจสามารถตอบคำถามการวิจัยที่ระบุสมมุติฐานในการทดสอบและประเมินผล ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการวิจัยและเป็นเรื่องธรรมดาสำหรับทุกสาขาวิชา รวมถึง ...

ประเภทของข้อมูลมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ประเภทของข้อมูล จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล ได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)

ขั้นตอนสําคัญของการรวบรวมข้อมูล มี 6 ขั้นตอน อะไรบ้าง

การเก็บรวบรวมข้อมูล.
กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด.
กำหนดแหล่งข้อมูล.
เลือกกลุ่มตัวอย่าง.
เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.
นำเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้.
ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้