เก่งในการรบจนอะแซหวุ่นกี้ขอดูตัว

อีกหนึ่งบทความ มุมมองอีกด้านหนึ่งของประวัติศาสตร์ไทย สงครามประหลาด ไทย-พม่า แย่งกันแพ้!!...

Posted by ประวัติศาสตร์ สยาม on Wednesday, September 30, 2015

ในศึกอะแซหวุ่นกี้ ถึงกองทัพเมืองเหนือของเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์น้องชายต้องล่าถอยออกจากพิษณุโลก แต่ก็สามารถต้านทานได้นานกว่า 4 เดือน สร้างความเสียหายให้ทัพพม่าไม่น้อย

แถมทัพตะวันออกที่ไล่ตามติดตามเจ้าพระยาจักรีไป ก็ตกหลุมพลางถูกละลายทิ้งเกือบหมด เหลือหนีตายข้ามโขงไปเชียงแสนไม่เท่าไหร่

ทัพเจ้าพระยาจักรีที่ถอยไปได้ไปตั้งหลักที่หล่มเก่า เพชรบูรณ์ อันมีเสบียงบริบูรณ์ พักนึงก็วกกลับมาเกาะติดแนวหลังอะเเซหวุ่นกี้แล้ว

ผิดกับทัพพม่าที่ต้องกระจายกำลังเพราะขาดเสบียง เส้นทางลำเลียงที่มาจากเชียงใหม่ก็ไม่มีอีกแล้ว

อีกทังกองทัพหลวงของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีที่ตั้งมั่นอยู่ปากน้ำพิงยังไม่ได้รับความบอบช้ำพร้อมรับศึก รวมถึงเส้นทางลำเลียงเสบียงยังอยู่ในมือ ศึกนี้ถึงพระเจ้ามังระไม่สิ้นพระชนม์กระทันหันจนอะแซหวุ่นกี้ต้องถอยทัพกลับ ผมก็ยังมองไม่ออกเลยว่าเขาจะชนะทัพกรุงธนบุรีได้ยังไง

���� �������ѧ�� ��ѵ������� ����ͷç���Ѻ���ǡ�� ��С���͡�Ҫ ��駵���� ����Тͧ���� �����ҵҡ�Թ � ��ا������ ��ç�ҧἹ��������������ա �ç�ô���������ͧ����¡�Ѿ��������㹻� � . � .1767 (�.�.2310) �ͧ�Ѿ����¡����Ҷ֧ �Ӻźҧ��� ���ͧ��طû�ҡ�� �������ҧ��ȵ��ѹ���ͧ��ا������ ���١���稾����ҵҡ�����Ѻ� ����;��������֡ʧ�����Ѻ�չ���� �������ѧ�����觡ͧ�Ѿ����ա��ѧ�Ũӹǹ 5,000 �� ����ҵ����ա㹻� � . � .1774 (�.�.2317) �ͧ�Ѿ���ҷ�� �ҧ��� �Ҫ���ն١�ͧ�Ѿ��������騹�Ҵ�ʺ�§����� ��������������ͧ͡�Ѿ���稾����ҵҡ�Թ

��������繡�þٴ �Թ������ԧ�Թ� �ҡ�оٴ��� ��� �ҡ���稾����ҵҡ�Թ���������ѧ��þ��� ����������������� �������ԧ���� �ç��������Ե���þ��� ���о��ͧ�� �ç ��ͧ�����������Ҥ��¹������Ÿ��� ���þ�����������§��� � оѹ�����觡��ҷ����� �ͧ��ѧ�ͧ���ҷ���ҵ�駷Ѿ������ҭ�����ա�١�����Ѻ� ��������ѧ������ç��ͷ�͵�ͤ���������� � ���駹�� �ç�����������ҵ����ա �ѧ������͹���Ҥ� � . � .1775 (�.�.2318) �������ѧ�зç�觵����� ��������� � (Maha Thihathura) ���ͷ��㹻���ѵ���ʵ�������¡��� ������蹡�� ¡�Ѿ ��� �˭����ش����¡�ا�������ҵ��� ������蹡���դ����դ����ͺ㹡�úѭ�ҡ��ú�����ҧ���ҡѺ�չ �������ö��Һ�����ǡ�ͭ����ء����ҵ�͵�ҹ���� ������蹡��¡�Ѿ����ҷҧ��ҹ�������� ( �ѧ��Ѵ�ҡ ) �����Թ�Ѿ������ѧ���ͧ��ɳ��š �Ѿ���ҵ������ͧ�Ԫ�� ������ͧ��⢷�� �ҡ����ͺ�ǹ����Ҫ������ͧ�Ԫ���ͧ�� ������蹡�����������¡ ��Ҿ����������� ������ͧ��ɳ��š ��� � ��������� � ����ʴ���������� ��Ҿ����������� �դ��������ҭ����索Ҵ��觹ѡ ��з��ͧ�Ѿ���ҵ���������ͧ��ɳ��š��� ��Ҿ���Ҩѡ�������Ҿ�������������ѭ�ҡ�� �������ͧ�ѹ���ͧ��ɳ��š������ö �ͧ�Ѿ������ö��ҹ�ҹ��������ͧ������������ 4 ��͹ �·������������ö�վ�ɳ��š������� ������蹡�����Թ�Ե���Ѿ���������ö㹡���֡�ͧ��Ҿ���Ҩѡ�� ���յ�͹�ͧ�Ѿ����� �ͧ����ᵡ����¤��� ������蹡��֧�Դ��͢;����ʹ�˹����Ҿ���Ҩѡ�� ����;��ѹ������蹡��������������ԭ¡��ͧ��Ҿ���Ҩѡ�� ����й����������ѧ�ѡ�ҵ����騧�� ������蹡�������Ƿӹ����ҵ������˹����Ҿ���Ҩѡ�ը����繡�ѵ���� ������蹡���դ�������ط���㨷�����Ǥӷӹ���蹹���ҡ�������˹ ������þ��٨���� �����ҧ�á���㹢�й��������蹡���������� 72 ������ 㹢�� ��� ��Ҿ���Ҩѡ����������§ 39 �� ����ͧ���������蹡�����Ƿӹ���蹹���Ҩ�繡� �غ�� (�� �ط�� ) �����ѧ��������稾����ҵҡ�Թ�Ѻ��Ҿ���Ҩѡ���Դ�����Թ�˹��ŧ㨵�͡ѹ ������ѧ�Դ�Ŵѧ���Դ���з�����稾����ҵҡ�Թ �����Ҿ���Ҩѡ���ѧ�������������ѹ㹡���֡��ҧ� ����Դ���� ���� ���� ��


เผยแพร่เมื่อ 03-08-2022 ผู้ชม 594

[16.5212962, 97.4942877, สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอน 3) “ศึกอะแซหวุ่นกี้”]

        หลังจากเมืองเชียงใหม่แตก พระเจ้ามังระ ทรงเดือดดาลเป็นอย่างยิ่ง แผนการรวบแผ่นดินไทยให้เป็นส่วนหนึ่งของพม่าต้องพังทลายลง ทรงบัญชาให้อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพมือหนึ่ง ยกทัพเข้ามาทางด่านแม่ละเมา เมืองตาก แต่การบุกจากด้านเหนือจะต้องผ่านหัวเมืองสำคัญหลายเมือง และเมืองที่เป็นอุปสรรคต่อทัพพม่ามากที่สุดก็คือพิษณุโลก
        อะแซหวุ่นกี้ยกกองทัพกำลังพลราวสามหมื่นห้าเข้าล้อมเมืองพิษณุโลกทุกทิศทุกทาง
        เมืองพิษณุโลกในขณะนั้นมีเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ฯ สองพี่น้อง เป็นผู้สำเร็จราชการดูแลอยู่ ทั้งสองได้ทำการต่อสู้ปกป้องเมืองอย่างสามารถ พระราชพงศาวดารบันทึกไว้ว่า เจ้าพระยาทั้งสองผลัดกันนำทัพออกจากกำแพงเมืองเข้าตีค่ายพม่าอย่างดุเดือด ไม่ต่ำกว่าสิบครั้ง แต่ก็ไม่สำเร็จ
        เมืองพิษณุโลก ถูกล้อมเป็นเวลายาวนาน ทำให้ขาดเสบียงอาหาร แม้กองทัพกรุงธนบุรีจะพยายามส่งเสบียงลำเลียงขึ้นไป แต่ก็ถูกทหารพม่ามาสกัดตัดเอาไปได้เสียกลางทางทุกครั้ง ชาวพิษณุโลกจำนวนประมาณหนึ่งหมื่นคนจึงเริ่มเสียชีวิตเพราะขาดอาหาร
        สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงตัดสินพระทัยนำกองทัพเรือหลวงจากกรุงธนบุรีเข้าตีกองทัพพม่าที่ล้อมเมืองพิษณุโลก โดยยกทัพเข้าระดมตีค่ายพม่าทางด้านตะวันออกแบบสายฟ้าแลบในเวลากลางดึก และรบกันอย่างชุลมุนจนถึงเช้า แต่ก็ยังตีหักค่ายพม่าไม่ได้ จำต้องล่าถอยกลับออกมา
        สองวันต่อมา กองทัพใหญ่ของพม่ารุกไล่มาเข้าตีค่ายกองทัพหลวงบ้าง โดยได้ทุ่มสรรพกำลังทั้งหมดตั้งใจเอาชนะให้ได้ และสามารถตีค่ายไทยจนแตก แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินก็ทรงใช้พระแสงดาบนำหน้าไล่ฟาดฟันพม่าจนกระทั่งชิงเอาค่ายกลับคืนมาได้ แล้วรับสั่งว่าต้องทิ้งค่ายโดยด่วน ให้พยายามรวบรวมอาวุธที่ตกค้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปืนใหญ่จำนวนมาก ถอยร่นทัพหลวงลงมาตั้งค่ายแห่งใหม่ที่เมืองพิจิตรแทน
        จะเห็นได้ว่า กองทัพอะแซหวุ่นกี้ทัพนี้เก่งฉกาจนัก เพราะมีแม่ทัพฝีมือดีหลายคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้องชายของอะแซหวุ่นกี้ และแม่ทัพนามว่ากะละโบ่ ซึ่งประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าเป็นผู้มีฝีมือสูงส่งยิ่ง ดังนั้น แม้สมเด็จพระเจ้าตากสิน เจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ฯ จะผนึกกำลังกัน ก็ยังไม่สามารถเอาชนะได้
        กลยุทธ์การศึกของอะแซหวุ่นกี้ก็ลึกล้ำ โดยได้ส่งทัพใต้อีกทัพเข้ามาทางด่านสิงขร ประจวบคีรีขันธ์ รุกขึ้นมาทางเพชรบุรีเพื่อจะเข้าตีกรุงธนบุรี ในขณะที่ทัพหลวงทั้งหมดต้องยกขึ้นไปช่วยเมืองพิษณุโลก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงทราบข่าวว่าทหารพม่าบุกเข้ามาทางใต้ถึงเพชรบุรี จึงได้แบ่งกำลังทหารจากกองทัพหลวงบางส่วนให้รีบเร่งรุดลงมาปกป้องพระนคร ในขณะที่ทัพใหญ่ก็ไม่กล้ารุกขึ้นเหนือ เพราะพะวงศึกทางใต้
        เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ฯ เห็นว่าประชาชนเริ่มทยอยกันขาดอาหารตาย จึงทูลขอพระบรมราชานุญาตถอนกำลังออกจากเมืองพิษณุโลก วันที่จะทิ้งเมือง เจ้าพระยาจักรีได้ตั้งปืนใหญ่ยิงกราดไปยังทหารพม่าอยู่ตลอดเวลา เพื่อกันให้ประชาชนอพยพออกจากเมืองได้อย่างปลอดภัย โดยมีทหารกองหน้าฝีมือดีคอยตีทหารพม่าเพื่อเปิดทาง และใช้เวลาย่ำค่ำสามทุ่มเป็นฤกษ์ในการเริ่มอพยพ
        หลังจากทหารไทยถอยทัพ พม่าก็บุกเข้ายึดภายในตัวเมืองพิษณุโลกได้อย่างเด็ดขาด อะแซหวุ่นกี้สั่งเผาเมืองให้สิ้น ไฟลุกโชติช่วงสว่างราวกับกลางวันอยู่ตลอดคืน แต่เป็นที่น่าประหลาดใจว่าวิหารพระพุทธชินราชไม่ไหม้ไฟแม้แต่น้อย ในขณะที่ภายในบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราบเรียบเป็นหน้ากลอง
        เมื่อได้เมืองพิษณุโลก อะแซหวุ่นกี้เตรียมยกทัพต่อเนื่องลงมายังนครสวรรค์ และตั้งเป้ายึดกรุงธนบุรี โดยประกบกับทัพใต้ที่ยกมาทางเพชรบุรี ข่าวพิษณุโลกแตก และกองทัพหลวงพ่ายแพ้ สร้างความตระหนกให้กับชาวกรุงธนบุรีมาก เพราะถ้าทัพเหนือและทัพใต้ของพม่ามาถึง การจะตีเข้ากรุงธนบุรี ง่ายกว่ากรุงศรีอยุธยามาก เนื่องจากไม่มีกำแพงเมือง และขณะนั้นจีนก็เข็ดขยาดกับการบุกภาคเหนือของพม่าไปแล้ว ไม่สามารถมาช่วยเราได้อีก (แม่ทัพที่รบกับจีนก็คืออะแซหวุ่นกี้)
        แต่แล้วปาฏิหาริย์ก็เกิดขึ้น ปรากฏว่าที่เมืองพม่า พระเจ้ามังระสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน มีการผลัดเปลี่ยนพระเจ้าแผ่นดิน จึงมีท้องตราเรียกกองทัพพม่ากลับเมืองโดยด่วน อะแซหวุ่นกี้จึงรีบยกทัพกลับทันทีโดยออกไปทางด่านแม่ละเมา สงครามยุติแบบงวยงง แต่เป็นเรื่องดี มิฉะนั้น นึกภาพไม่ออกเลยว่า กองทัพไทยจะต้านทัพอะแซหวุ่นกี้ ที่กำลังฮึกเหิมไหวหรือไม่
        การสงครามคราวนี้ต้องรบกับพม่าแต่เดือนอ้าย พ.ศ.2318 ถึงเดือนสิบ พ.ศ.2319 รวมเป็นเวลาถึงสิบเดือนจึงเลิกรบ
        ขณะที่ไทยติดพันกับศึกอะแซหวุ่นกี้ ในปีเดียวกันนั้นเอง เจ้านครจำปาศักดิ์ได้กำเริบคิดเป็นกบฏ เมื่อเสร็จศึกกับพม่า สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีรับสั่งให้เจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพบุกไปตีนครจำปาศักดิ์ และให้จับเจ้าเมืองประหารเสีย หลังปราบกบฏลาวสำเร็จ สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เจ้าพระยาจักรีเป็น “สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก” (ผู้มีอำนาจสั่งการศึกเทียบเท่าพระมหากษัตริย์)

คำสำคัญ : พระเจ้าตากสินมหาราช, อะแซหวุ่นกี้

ที่มา : //www.facebook.com/doctorsom

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2565). สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอน 3) “ศึกอะแซหวุ่นกี้”. สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566, จาก //arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=2136&code_db=610001&code_type=TK001

//arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=2136&code_db=610001&code_type=TK001

อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวคือใคร

พระบรมราชานุสาวรีย์หล่อด้วยโลหะสำริดรูปเจ้าพระยาจักรียืนม้า ที่จังหวัดพิษณุโลก มีผู้ยืนกั้นสัปทน กล่าวกันว่าบุคคลผู้นั้นต่อมาคือ พระยาอุทัยธรรม ด้านหน้ามีไก่ชนใช้เป็นของบูชาและแก้บนเหมือนที่ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้เขียน

อะแซหวุ่นกี้คือใครและมีความสำคัญอย่างไร

อะแซหวุ่นกี้เป็นแม่ทัพที่พระเจ้ามังระให้ความใส่พระทัยไม่น้อยไปกว่ามังฆ้องนรธาแม่ทัพอีกนายตั้งแต่สมัยที่พระองค์ยังเป็นราชบุตรมังระอยู่ โดยมักจะติดตามราชบุตรมังระเป็นกองหน้าในแทบทุกสงคราม ไม่ว่าจะเป็นศึกกับมอญ, มณีปุระ รวมไปถึงกรุงศรีอยุธยา ภายหลังการเสียชีวิตของมังฆ้องนรธรา เมื่อพระเจ้ามังระขึ้นครองราชย์แล้วทำให้อะแซห ...

ศึกอะแซหวุ่นกี้คืออะไร

สงครามอะแซหวุ่นกี้ หรือ สงครามพม่า-สยาม พ.ศ. 2318-2319 เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งสำคัญระหว่าง ราชวงศ์โก้นบอง ของพม่าและ อาณาจักรธนบุรี ของสยาม สงครามอะแซหวุ่นกี้ ส่วนหนึ่งของ สงครามสยาม-พม่า

รัชกาลที่ 1 ดำรงตำแหน่งอะไรครั้งอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพพม่าขอดูตัว

อแซหวุ่นกี้ซึ่งเป็นแม่ทัพพม่าได้ยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลกซึ่งมีเจ้าพระยา จักรี (ต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เป็นแม่ทัพ รักษาเมืองพิษณุโลกไว้อย่างสามารถ อแซหวุ่นกี้ก็ไม่สามารถจะตีเอา

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้