แนว ข้อสอบ วิชา เครื่องเสียง พร้อม เฉลย

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี แผนการจดั การเรียนรู้ บทท่ี 1 ช่ือวชิ า เครื่องเสียง สอนสัปดาห์ที่ 1 ช่ือหน่วย คล่ืนเสียงและเคร่ืองเสียง คาบรวม 4ชื่อเรื่อง คล่ืนเสียงและเคร่ืองเสียง จานวนคาบ 4หวั ข้อเร่ือง1. คลื่นเสียง2. คุณสมบตั ิและส่วนประกอบของคลื่นเสียง3. หูและการไดย้ นิ4. หน่วยวดั ความดงั5. เครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟ6. ส่วนประกอบของเครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ7. ความผดิ เพ้ียนท่ีมีผลต่อเคร่ืองเสียงชนิดไฮ – ไฟสาระสาคญั คลื่นเสียงเป็ นคลื่นชนิดหน่ึงท่ีกาเนิดได้จากการสั่นของอากาศและมีความถ่ีอยู่ในช่วง 20เฮิรตซ์ -20กิโลเฮิรตซ์ ซ่ึงเป็ นช่วงความถ่ีท่ีหูมนุษยเ์ ราสามารถได้ยินได้ ซ่ึงจะได้กล่าวถึงนิยามของเสียง คุณสมบตั ิและส่วนประกอบของเสียง หูกบั การไดย้ ินรวมไปถึงหน่วยวดั ความดงั ท่ีนิยมใช้ในปัจจุบนั ในส่วนท่ีสองเร่ืองเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟน้ันจะกล่าวถึงนิยามของคาว่าไฮ-ไฟ ส่วนประกอบที่ทาให้เคร่ืองเสียงเป็ นชนิดไฮ-ไฟ ความผดิ เพ้ยี นที่มีผลตอ่ เครื่องเสียงไฮ-ไฟสมรรถนะอาชีพประจาหน่วย- แสดงความรู้เกี่ยวกบั คลื่นเสียงและเครื่องเสียง

คาศัพท์สาคญัจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. เพ่อื ใหม้ ีความรู้เก่ียวกบั การเกิดเคร่ืองเสียง (ด้านความรู้) 2. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะในการจาแนกโครงสร้างของหูและการไดย้ นิ (ด้านทักษะ) 3. เพ่ือใหม้ ีเจตคติที่ดีในการจาแนกองคป์ ระกอบของระบบไฟฟ้า (ด้านจิตพิสัย) 4. เพอ่ื สรุปแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม (ด้านด้านคุณธรรม จริยธรรม/ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงได้ (ด้านความรู้) 2. บอกคุณสมบตั ิและส่วนประกอบของเคร่ืองเสียงได้ (ด้านความรู้) 3. จาแนกโครงสร้างของหูและการไดย้ นิ ได้ (ด้านทักษะ) 4. คานวณหน่วยวดั และความดงั ได้ (ด้านทักษะ) 5. เขียนความแตกต่างระหวา่ งเคร่ืองเสียงทวั่ ไปได้ (ด้านทักษะ) 6. แยกแยะส่วนประกอบของเครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟได้ (ด้านทักษะ) 7. ช้ีใหเ้ ห็นถึงความผดิ เพ้ียนที่มีผลต่อเครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟได้ (ด้านจิตพิสัย) 8. สรุปคลื่นเสียงและเคร่ืองเสียง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม (ด้านด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง)

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้• ด้านความรู้(ทฤษฎ)ี1.1 คล่ืนเสียง คล่ืนเสียงเป็ นคลื่นชนิดหน่ึงที่กาเนิดข้ึนไดจ้ ากการสั่นของอากาศโดยรอบและมีความถี่ตาจึงถูกเรียกว่าความถี่เสียง (Audio Frequency) อยูใ่ นช่วงความถี่ประมาณ 20 Hz – 20 KHz เป็ นช่วงความถี่ท่ีมนุษยอ์ ยา่ งเรา ๆสามารถรับฟังและไดย้ ินได้ คลื่นเสียงน้นั เดินทางไปไดไ้ ม่ไกลเนื่องจากคลื่นเสียงน่ันเกิดการจางหายหรือถูกดูดกลืนได้ง่าย คลื่นเสียงเกิดข้ึนได้จากแหล่งกาเนิดเสียงต่าง ๆ หลายชนิดแตกต่างกนั เม่ือคลื่นเสียงมาจากแหล่งกาเนิดท่ีต่างกนั คลื่นเสียงและความถ่ีของเสียงที่ได้ก็จะแตกต่างกนั ไปด้วย แต่ยงั คงเป็ นคล่ืนรูปไซน์เหมือนกัน การเดินทางของเสียงไปในตวั กลางต่าง ๆอตั ราเร็วในการเดินทางของเสียงข้ึนอยู่กบั คุณสมบตั ิตวั กลางท่ีเสียงเคลื่อนที่ผา่ น ไดแ้ ก่ ความหนาแน่น ความยืดหยุน่ เป็ นตน้ โดยปกติเสียงเดินทางในของแข็งไดด้ ีท่ีสุด รองลงมาคือของเหลวและก๊าซ นอกจากน้ีอตั ราเร็วเสียงยงั ข้ึนอยู่กบั อุณหภูมิของตวั กลางที่เสียงเคลื่อนท่ีผา่ น โดยพบว่า เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน อตั ราเร็วเสียงจะมีค่ามากข้ึน สาหรับตวั กลางท่ีเป็ นอากาศ ในขณะท่ีเสียงเคล่ือนที่จะมีการถ่ายทอดพลงั งานไปให้กบั วตั ถุท่ีเสียงตกกระทบ โดยอตั ราการถ่ายทอดพลงั งานของเสียงต่อพ้ืนท่ีท่ีต้งั ฉากกบั ทิศการเคลื่อนที่ของเสียง เรียกวา่ ความเขม้ เสียง (Intensity) หรืออาจกล่าวไดว้ า่ ความเขม้ เสียงหมายถึง กาลงั ของเสียงจากแหล่งกาเนิดท่ีตกกระทบบนพ้ืนท่ี 1 ตารางหน่วยในแนวต้งั ฉากที่พิจารณา เนื่องจากเสียงแผอ่ อกทุกทิศทางเหมือนกนั คือ ลกั ษณะของคลื่นเสียงจะเป็นรูปคล่ืนไซน์ (Sine Wave) เหมือนกนั กล่าวคือจะมีส่วนของสัญญาณแรงสุด (Maximum Signal)และส่วนของสัญญาณที่เบาสุด (Minimum Signal)และจะมีการเปล่ียนแปลงเพ่มิ หรือลดเป็นไปตามลาดบั สลบั กนั ไปมา คลื่นเสียงเป็ นคล่ืนตามยาวเกิดจากการส่ันของวตั ถุ ความถ่ีของเสียงจะมีค่าเท่ากบั ความถี่ของแหล่งกาเนิดและในขณะท่ีมีการสั่น โมเลกลุ ของตวั กลางจะมีการถ่ายทอดพลงั งานทาใหเ้ กิดความดนั อากาศที่เปล่ียนแปลงไปตามตาแหน่ง ทาให้เกิดเป็ นช่วงอดั และช่วงขยายโดยที่ช่วงอดั คือบริเวณที่อนุภาคของตวั กลางอดั เข้าหากันบริเวณน้ีมีจะมีความดนั สูงสุดโดยเทียบกบั ความดนั ท่ีตาแหน่งสมดุลของอนุภาค โดยการขจดั ของอนุภาคน้อยท่ีสุด ส่วนช่วงขยายคือบริเวณท่ีอนุภาคตวั กลางแยกห่างจากกนั บริเวณน้ีมีความดนั ต่าสุดโดยเทียบกบั ความดนั ท่ีตาแหน่งสมดุลของอนุภาค การขจดั ของอนุภาคมากท่ีสุด อตั ราเร็วเสียงข้ึนอยู่กับคุณสมบตั ิตวั กลางที่เสียงเคลื่อนท่ีผา่ น ไดแ้ ก่ ความหนาแน่น ความยืดหยนุ่ เป็ นตน้ โดยปกติเสียงเดินทางในของแข็งไดด้ ีท่ีสุด รองลงมาคือของเหลวและกา๊ ซ1.2 คุณสมบตั แิ ละส่วนประกอบของคล่ืนเสียง ตวั กลางที่ทาใหค้ ลื่นเสียงสามารถเคล่ือนที่ไปไดค้ ืออากาศ โดยอาศยั การอดั ตวั และขยายตวั ของอากาศซ่ึงในอากาศน้ันจะมีโมเลกุลอยูแ่ ละโมเลกุลเหล่าน้นั มีลกั ษณะท่ีสามารถยืดหยนุ่ ไดท้ าให้คล่ืนเสียงเดินทางไปได้โดยการส่งผา่ นแรงกระตุน้ จากโมเลกุลหน่ึงไปอีกโมเลกุลหน่ึงที่อยูเ่ คียงขา้ งและกระทาแบบน้ีไปเร่ือย ๆ เป็ นลาดบั กนั โดยความเร็วในการเคลื่อนที่ของเสียงในอากาศคือ

331 เมตรต่อวนิ าที ท่ีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสและจะเพ่ิมความเร็วข้ึนประมาณ 0.6 เมตรต่อวินาทีเม่ืออุณหภูมิเพ่มิ ข้ึนทุก ๆ 1 องศาเซลเซียสสามารถคานวณหาคา่ ความเร็วไดโ้ ดยสมการV = Vo + 0.6tเมื่อ V คือ อตั ราความเร็วของเสียงที่อุณหภูมิใด ๆ หน่วยคือเมตรต่อวนิ าที (m / s)Vo คือ อตั ราเร็วของเสียงที่ 0 องศาเซลเซียสt คือ อุณหภูมิที่เพิม่ ข้ึนหรือลดลงจาก 0 องศาเซลเซียสตวั อยา่ งท่ี 1.1 จงหาอตั ราความเร็วของคลื่นเสียงที่เคลื่อนที่ในอุณหภูมิ 45องศาเซลเซียสวธิ ีทาจากสูตร V = Vo + 0.6tเม่ือ Vo = 331 m/st = 45 ํ cแทนค่า V = 331 + (0.6×45)V = 331 + 27 = 358 m/s ตอบ คล่ืนเสียงน้นั โดยปกติจะมีลกั ษณะเป็ นคลื่นไซน์ และมีการแกวง่ ตวั ของสัญญาณอยูใ่ นรูปของฮาร์โมนิกส์พ้นื ฐาน (simple Harmonic) คือคล่ืนเสียงท่ีกาเนิดข้ึนมาจากแหล่งกาเนิดโดยไม่มีคลื่นอื่นปนเขา้ มาและมีลกั ษณะที่แกวง่ ตวั ไปในช่วงบวกและช่วงลบเป็นคลื่นไซน์ดงั รูปที่ 1.11.2.1 รอบคลื่น การแกวง่ ตวั ของสญั ญาณไปในช่วงบวก 1 คร้ังและแกวง่ ตวั ไปในช่วงลบ 1 คร้ังอยา่ งต่อเนื่องจากรูปคือจุดท่ี 1 ไปจุดท่ี 5 จากและจากจุดที่ 5 ไปจุดท่ี 7 เรียกวา่ 1 รอบคล่ืนหรืออีกหน่ึงกรณีคือสัญญาณแกว่งไปในช่วงลบ 1 คร้ังและแกวง่ ตวั ไปในช่วงบวก 1 คร้ังอยา่ งต่อเน่ืองเช่นจากจุดท่ี 3 ไปถึงจุดที่ 7 และจากจุดที่ 5 ไปจนถึงจุดที่ 9 ก็เรียกวา่ 1 รอบคล่ืนเช่นเดียวกนั รอบคล่ืนน้ีบอกใหท้ ราบถึงความถี่เสียง ใชต้ วั อกั ษรยอ่ คือ “C”1.2.2 ความยาวคล่ืน คือระยะห่างระหวา่ งยอดคลื่นลูกหน่ึงไปถึงยอดคล่ืนอีกลูกหน่ึงท่ีมีเฟสของสัญญาณเดียวกนัและอยูต่ ิดกนั จากรูปคือจุดท่ี 2 ไปจุดที่ 6 และจุดท่ี 4 ไปถึงจุดท่ี 8 ความยาวคล่ืนน้ีบอกให้ทราบถึงความถี่เสียงและความเร็วในการเคล่ือนที่ของเสียง ใชต้ วั อกั ษรยอ่ “λ”1.2.3 ความแรงคลื่น หรือความดงั คือระดบั ความสูงของคลื่นเสียงท่ีเกิดข้ึนมีหน่วยเป็ นโวลต์ (V) สามารถบอกได้สองค่าคือค่ายอด (Volt peak) หรือ VP คือนบั จาก จุด 0 Vไปจนถึงยอดคล่ืนถา้ อยู่ในซีกบอกก็จะเป็ น +VP และ

ถา้ อยู่ในซีกลบก็จะเป็ น –VP และอีกหน่ึงหน่อยคือค่ายอดถึงยอด (Volt peak to peak) หรือ VPP จะเป็ นการนับจากยอดคล่ืนซีกบวกไปยอดคล่ืนซีกลบ1.2.4 ความถี่ คือค่าที่บอกความเร็วรอบในการการเคลื่อนที่ของคลื่นภายในหน่ึงนาทีมีหน่วยเป็ นเฮิรตซ์ (Hertz)หรือ Hz ค่าความถ่ีน้ีจะมีผลตอ่ เสียงถา้ ความถี่สูงเสียงกจ็ ะแหลมถา้ ความถ่ีต่าเสียงกจ็ ะทุม้ ใชต้ วั อกั ษรยอ่ คือ “ f ”1.2.5 ความเร็ว คือระยะทางที่คลื่นเคล่ือนท่ีภายในเวลา 1 วินาที ซ่ึงความเร็วน้ีข้ึนอยู่กับตวั กลางท่ีคลื่นเสียงเดินทางไปเช่นในในอากาศความเร็วในการเดินทางคือ 346 m/s ในน้าคือ1,463 m/s ในไมค้ ือ 3,566 m/s เหล็กคือ5,486 m/s ความเร็วใชอ้ กั ษรยอ่ “v”1.2.6 เฟส คือตาแหน่งมุมของ คลื่นเสียงเมื่อเดินทางครบ 1 รอบจะมีมุม 360 องศาการตกกระทบของคลื่นน้นั มีผลกระทบทาใหร้ ูปร่างของคลื่นแตกต่างกนั ออกไป หากที่จุด ๆ หน่ึงมีคือมีคลื่นมาตกกระทบมากกวา่ หน่ึงคล่ืนก็จะทาใหค้ วามดงั ของคลื่นเปล่ียนไปจากรูปท่ี 1.2 จะเห็นไดว้ า่ เฟสของสัญญาณของคลื่นลูกที่ 1 ของสัญญาณ A และ B น้นั อยูใ่ นซีกบวกเหมือนกนัและเฟสของสญั ญาณของคล่ืนลูกที่ 2 ของสญั ญาณ A และ B น้นั อยใู่ นซีกลบเหมือนกนั ทาใหค้ วามแรงของคลื่นท้งั 2 ช่วงเกิดการรวมกนั เป็ น 2 dB จากรูปที่ 1.3 จะเห็นไดว้ ่าเฟสของสัญญาณของคลื่นลูกท่ี 1 ของสัญญาณ Aอยู่ในซีกลบและ B น้นั อยู่ในซีกบวกซ่ึงเฟสท้งั สองสัญญาณต่างกนั และเฟสของสัญญาณของคล่ืนลูกท่ี 2 ของสัญญาณ A อยใู่ นซีกบวกและ B น้นั อยใู่ นซีกลบ ท้งั สองสัญญาณมีเฟสต่างกนั ทาใหเ้ กิดการหกั ลา้ งของสัญญาณทาใหส้ ัญญาณที่ไดอ้ อกมาเหลือ 0 dB ในกรณีที่คล่ืนมีเฟสต่างกนั 90 องศาผลการรวมกนั ทาให้บางช่วงหรือบางตาแหน่งของเฟสสญั ญาณเสริมกนั และบางช่วงของเฟสของสัญญาณหกั ลา้ งกนั คล่ืนเสียงท่ีไดอ้ อกมาจะมีรูปร่างและตาแหน่งเฟสของสัญญาณเปลี่ยนแปลงไปเสียงที่ดงั ออกมาอาจจะเพ้ียนไปจากแหล่งกาเนิดท่ีส่งมาดงั รูปที่1.41.3 หูและการได้ยนิ คล่ืนเสียงเกิดจากการอดั และขยายของตวั กลาง การอดั ขยายน้ีจะส่งต่อ ๆ กนั ไป จนถึงหูของผฟู้ ังแลว้ ส่งต่อไปยงั สมองในเทอมของระดบั เสียง ความดงั และคุณภาพของเสียง โดยปกติหูคนเราไวต่อการรับรู้เสียงที่มีความถี่สูงมากกวา่ เสียงที่มีความถี่ต่าเมื่อเสียงน้นั มีระดบั ความเขม้ เสียงเท่ากนั นอกจากน้ีความไวต่อการรับรู้เสียงของคนเรายงั ข้ึนอยูก่ บั อายุ โดยพบวา่ เด็กมีความรู้สึกไวต่อช่วงความถี่สูงมากกวา่ ผูใ้ หญ่ความไวต่อการไดย้ ินเสียงของคนจะลดลงเม่ืออายุมากข้ึน นอกจากน้ียงั พบวา่ ความไวต่อการไดย้ นิ เสียงจะลดลงดว้ ยสาเหตุอ่ืน ๆ อีกเช่น การไดร้ ับฟังเสียงดงั มากเกินไปเป็นระยะเวลานาน ๆ หรือจากการใชย้ าบางชนิดหูของคนเราเป็นอวยั วะของร่างกายท่ีใชร้ ับเสียงแบ่งออกได้ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ หูส่วนนอก หูส่วนกลางและหูส่วนใน1.3.1 หูช้นั นอก ประกอบดว้ ยใบหู ช่องหูหรือรูหู (Auditory canal) และเยอ่ื แกว้ หู (Tympanic membrane) โดยใบหูจะทาหนา้ ท่ีในการรับเสียง สาหรับในสัตวบ์ างชนิด หูส่วนน้ีจะมีขนาดใหญ่เพื่อใชห้ าทิศทางของแหล่งกาเนิดเสียง ส่วนช่องหูมีลกั ษณะเป็ นท่อยาว ดงั น้นั ความดนั ของเสียงตอนปลายท่อดา้ นในที่ปิ ดอยจู่ ึงมีมากกวา่ ปากท่อดา้ นนอก ความดนั ที่เพิ่มน้นั จะเกิดเม่ือความยาวของคล่ืนเสียงยาวกวา่ ความยาวท่อ 4 เท่า คือความดงั เมื่อผา่ นช่องหูจะเพม่ิ ข้ึน 12 เดซิเบล ในช่วง

ความถี่ 2,400 - 4,000 Hz แต่ถา้ ความยาวคล่ืนต่ากว่าหรือสูงกวา่ น้ี ความดงั เมื่อผา่ นช่องหูจะเพ่ิมเพียง 5 เดซิเบลในช่วงความถี่ 2,000 - 6,000 Hz ช่องหูทาหนา้ ท่ีในการกาทอนเสียง (Resonance)ซ่ึงสนั่ ดว้ ยความถ่ีประมาณ 3000เฮิรตซ์ แลว้ ส่งไปยงั เยอื่ แกว้ หู นอกจากน้ีแลว้ ช่องหูยงั ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิและความช้ืนให้มีค่าคงที่ และยงั เป็ นเครื่องป้องกนั อนั ตรายให้แก่หูอีกดว้ ย เย่ือแกว้ หูเป็ นส่วนก้นั ระหวา่ งหูช้นั นอกกบั หูช้นั กลาง โดยแยกอากาศในช่องหูช้นั นอกไมใ่ หต้ ิดตอ่ กบั หูช้นั กลางเยอื่ แกว้ หูทาหนา้ ที่เป็นเคร่ืองรับความดนั เสียง1.3.2 หูช้นั กลาง ทาหนา้ ท่ีปรับคล่ืนเสียงเพ่ือให้เขา้ ไปกระตุน้ หูช้นั ใน โดยการเปล่ียนพลงั งานเสียงจากอากาศให้ผา่ น ช่องหูช้ันกลาง เขา้ ไป เป็ นการส่ันสะเทือนของของเหลว ภายในหูช้นั กลางประกอบดว้ ยกระดูกสามชิ้น(Ossicles) คือกระดูกรูปคอ้ น กระดูกรูปทง่ั และกระดูกรูปโกลนซ่ึงยดึ กนั อย่างสมดุลดว้ ยระบบคานดีดคานงดั(Lever system) ตรงบริเวณปลายกระดูกรูปโกลนจะติดต่อกบั หนา้ ต่างรูปไข่ กระดูกท้งั สามทาหนา้ ท่ีเปล่ียนคลื่นเสียงท่ีมากระทบแกว้ หูใหเ้ ป็ นคลื่นของเหลวข้ึนในหูส่วนใน หูส่วนกลางน้ีติดต่อกบั โพรงอากาศผา่ นหลอดยูสเตเชียน (Eustachian)ปกติช่องน้ีจะปิ ด แต่ในขณะเค้ียวหรือกลืนอาหารท่อน้ีจะเปิ ด อากาศภายในหู ส่วนกลาง จึงสามารถติดตอ่ กบั ภายนอกได้ เป็นการปรับความดนั 2 ดา้ นของเยอื่ แกว้ หูใหเ้ ท่ากนั ทาใหก้ ารไดย้ นิ ดีข้ึน1.3.3 หูช้นั ใน ประกอบดว้ ยหลอดคร่ึงวงกลม 3 หลอด (Semicircular canals) ซ่ึงทาหนา้ ที่ควบคุมการสมดุลของร่างกาย และกระดูกรูปหอย (CochleA) ซ่ึงเป็ นช่องมีลกั ษณะคลา้ ยหอยโข่งภายในบรรจุของเหลวมีเย่อื บาซิลาร์(Basilar) ขึงอยูเ่ กือบตลอดความยาว ยกเวน้ ปลายสุด ตรงปากทางเขา้ เป็ นช่องเปิ ดรูปไข่และวงกลม ตลอดความยาวของเยอ่ื บาซิลลาร์มีปลายประสาทท่ีไวต่อเสียงที่มี ความถ่ีต่า ๆ กนั เรียงรายอยู่ ปลายประสาทท่ีอยกู่ นั ค่อนไปทางช่องเปิ ดรูปไข่จะไวตอ่ เสียงท่ีมีความถ่ีสูง ส่วนปลายประสาทท่ีอยลู่ ึกเขา้ ไปขา้ งในจะไวตอ่ เสียงที่มีความถี่ต่า1.4 หน่วยวดั ความดงั หน่วยวดั ความดงั คือการวดั ระดบั ความดงั ของสัญญาณเสียงโดยหน่วยวดั ท่ีนิยมใชใ้ นปัจจุบนั คือหน่วยเดซิเบลใช้สัญลกั ษณ์คือ dB เป็ นหน่วยพ้ืนฐานในการวดั ระดบั สัญญาณเสียงที่ใช้งานอย่างแพร่หลาย โดยแสดงความสัมพนั ธ์กบั ตวั เลขในระบบลอการิทึม (Logarithm) ในลกั ษณะของอตั ราส่วนเปรียบเทียบระหวา่ งสัญญาณเอาต์พุตกบั สัญญาณอินพุตในรูปกาลงั ไฟฟ้า (Power)แรงดนั ไฟฟ้า (Voltage) หรือกระแสไฟฟ้า (Current) ของวงจรขยายเสียงหรือเคร่ืองขยายเสียงต่าง ๆหน่วยเดซิเบล (dB) ถูกนามาใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะอตั ราของตวั เลขในระบบลอการิทึมน้ันใกลเ้ คียงกบั ธรรมชาติการไดย้ ินเสียงของหูมนุษยใ์ นการวดั ความดงั ออกมาเป็ นหน่วยเดซิเบล (dB)นอกจากจะใช้วดั เปรียบเทียบระหว่างสัญญาณเอาต์พุตที่ได้จริ งในรูปกาลังไฟฟ้าแรงดนั ไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้ากบั ค่ามาตรฐานท่ีกาหนดป้อนใหท้ างอินพุตค่าหน่ึง เพือ่ ใหไ้ ดก้ ารเปรียบเทียบเป็นค่ามาตรฐานเดียวกนั ไมว่ า่ วงจรขยายเสียงหรือเคร่ืองขยายเสียงมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไรก็ตาม1.4.1 หน่วยเดซิเบล (dB) ในเบ้ืองตน้ ความดงั ถูกวดั ออกมาในหน่วยเบล (Bell)เป็ นการต้งั ช่ือหน่วยเพ่ือเป็ นเกียรติแก่ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ แต่เป็ นหน่วยที่ใหญเ่ กินไปไม่สะดวกในการใชแ้ สดงค่าเป็นตวั เลข จึงได้แบ่งหน่วยยอ่ ยลงมาเป็นเดซิเบล (dB) คือคา่ 0.1 ของเบล สามารถแสดงสมการในรูปกาลงั ไฟฟ้าไดด้ งั น้ี

Bel = log (PO/Pi)และ dB = 10 log (PO/Pi)Bel = หน่วยวดั ความดงั เป็นเบลdB = หน่วยวดั ความดงั เป็นเดซิเบลPO = กาลงั ไฟฟ้าที่วดั ไดท้ างเอาตพ์ ตุ หน่วยเป็นวตั ต(์ W)Pi = กาลงั ไฟฟ้าท่ีวดั ไดท้ างอินพตุ หน่วยเป็นวตั ต(์ W)และสามารถเขียนสมการในรูปแรงดนั ไฟฟ้าไดด้ งั น้ีdB = 20 log (Eo/Ei)EO = กาลงั ไฟฟ้าที่วดั ไดท้ างเอาทพ์ ุต หน่วยเป็นวตั ต์ (W)Ei = กาลงั ไฟฟ้าที่วดั ไดท้ างอินพตุ หน่วยเป็นวตั ต์ (W)ตวั อยา่ งที่ 1.2 เครื่องขยายเสียงเคร่ืองหน่ึงวดั กาลงั ไฟฟ้าทางเอาตพ์ ุตได้ 10 mW และวดั กาลงั ทางเอาตพ์ ุตได้ 10 W จงหาความดงั ของเสียงเป็น dBวธิ ีทาจากสูตร dB = 10 log (PO/Pi)เม่ือ dB = ไม่ทราบค่าPo = 10 WPi = 10 mWแทนค่าdB = 10 log (10 W /10 mW)dB = 30 dB ตอบ หน่วยวดั ความดงั เป็ นเดซิเบลน้ีคาตอบท่ีไดจ้ ะมีท้งั ค่าบวก (+) และค่าลบ (-) เม่ือท่านคานวณแลว้ ค่าที่ไดอ้ อกมาเป็ นบวก (+dB) แสดงวา่ มีการขยายสัญญาณกล่าวคือสัญญาณทางดา้ นเอาตพ์ ุตมีค่ามากกวา่ สัญญาณอินพุตและถา้ คานวณแลว้ ค่าท่ีไดอ้ อกมาเป็ นลบ (-dB) แสดงวา่ มีการลดทอนสัญญาณ กล่าวคือสัญญาณทางดา้ นเอาต์พุตมีค่านอ้ ยกวา่ สัญญาณอินพุตความดงั ท่ีเพ่ิมข้ึนของหน่วยเดซิเบลจะไม่เพิ่มข้ึนเป็ นเชิงเส้นเหมือนอตั ราการขยายของสัญญาณเพราะการเพ่ิมข้ึนของเดซิเบลน้นั จะสมั พนั ธ์โดยตรงกบั คา่ ลอการิทึม1.4.2 หน่วยดีบีเอม็ (dBm) เป็ นหน่วยวดั ความดงั ของเสียงท่ีเปรียบเทียบกบั ค่าอา้ งอิงมาตรฐาน 1 มิลลิวตั ต์ (mW)หรือท่ี 0.001 W โดยใชค้ ่าอิมพีแดนซ์ของวงจรทดลองเป็ นค่าปกติ 600โอห์ม ท่ีระดบั ดงั 0 dB เป็ นหน่วยความดงั ท่ีนาไปใช้บอกรายละเอียดของอุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆการเปรียบเทียบระดบั ของสัญญาณท่ี 0 dB อาจจะใช้ระดบั การอา้ งอิงท่ีแตกต่างกนั นอกเหนือจาก1 มิลลิวตั ตแ์ ลว้ ก็ยงั มี 6,10,12.5 และ 50 มิลลิวตั ตส์ ามารถเขียนเป็ นสมการไดด้ งั น้ีdBm = 10 log (PO/0.001)dB6m = 10 log (PO/0.006)

และ dB10m = 10 log (PO/0.01)เมื่อ dBm = หน่วยวดั ความดงั เป็นเดซิเบลเทียบระดบั อา้ งอิงท่ี 1 มิลลิวตั ต์dB6m = หน่วยวดั ความดงั เป็นเดซิเบลเทียบระดบั อา้ งอิงที่ 6 มิลลิวตั ต์dB10m = หน่วยวดั ความดงั เป็นเดซิเบลเทียบระดบั อา้ งอิงที่ 10 มิลลิวตั ต์Po = กาลงั ไฟฟ้าท่ีวดั ไดท้ างเอาตพ์ ุต หน่วยเป็นวตั ต์ (w)ตวั อยา่ งที่ 1.3 เคร่ืองขยายเสียงเครื่องหน่ึงมีกาลงั วตั ตท์ างเอาตพ์ ตุ ได้ 2 Wจงหาค่า dBmของปรีแอมป์ เครื่องน้ีวธิ ีทาสูตร dBm = 10 log (PO/0.001)เมื่อ PO = 2 Wแทนคา่ ในสมการ dBm = 10 log (2/0.001) = 33 dBmปรีแอมป์ เคร่ืองน้ีมีความดงั 33 dBm ตอบ1.4.3 หน่วยดีบีเอสพีแอล (dB-SPL) เป็ นหน่วยวดั ความดังเดซิเบล (dB) ท่ีอา้ งอิงแรงกดดนั ของเสียง (SoundPressure Level) หรือ SPL เป็ นแรงกดดนั ของเสียงในอากาศโดยมีค่าประมาณ 0.00002 นิวตนั ต่อตารางเมตร(N/m²) ใช้ความถี่เสียง 1 kHz ถือเป็ นแรงกดดนั เสียงต่าสุดที่หูมนุษยท์ วั่ ไปได้ยินแรงกดดนั ท่ีทาให้มนุษยร์ ู้สึกปวดหูอยทู่ ี่ 100 N/m²) หน่วย dB-SPL สามารถเขียนใหอ้ ยใู่ นรูปสมการไดด้ งั น้ีdB-SPL = 20 log (PO/0.00002)เม่ือ dB-SPL = หน่วยวดั ความดงั เป็นเดซิเบลเทียบแรงกดดนั เสียงท่ี 0.00002 N/m²PO = แรงกดดนั เสียงท่ีวดั ไดท้ างเอาตพ์ ุต หน่วยเป็นวตั ต(์ w)ตวั อยา่ งที่ 1.4 ลาโพงตวั หน่ึงวดั แรงกดดนั เสียงออกมาได้ 0.4 N/m² ในอากาศจงหาความดงั ของเสียงท่ีลาโพงเปล่งออกมาไดใ้ นหน่วย dB-SPLวธิ ีทาสูตร dB-SPL = 20 log (PO/0.00002)เม่ือ PO = 0.4 N/m²แทนค่าลงในสมการ dB-SPL = 20 log (0.4/0.00002) = 86 dB-SPLลาโพงเปล่งเสียงออกมาดงั 86 dB-SPL ตอบ1.5 เครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟ ปัจจุบันเราคงได้ยินคาว่าไฮ-ไฟ (Hi-Fi) อยู่บ่อย ๆ เวลาที่เราไปเลือกซ้ือวิทยุ (Radio)โทรทัศน์(Television) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เครื่องเล่นวิดีโอซีดี (VCD Player) เคร่ืองเล่นดีวีดี (DVD Player) คาว่าไฮ-ไฟ คืออะไรและมีความสาคญั ต่อเราอย่างไรคงเป็ นคาถามท่ีหลาย ๆคนที่สงสัยและตอ้ งการทราบคาตอบเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟ (Hi-Fi) คาว่าไฮ-ไฟ (Hi-Fi) ย่อมาจากคาว่า ไฮฟิ ลเด็ลลิต้ี(Hi-Fidenlity) เครื่องเสียงท่ีสามารถทาให้สัญญาณเสียงท่ีเปล่งออกมาเหมือนเสียงฉบบั โดยไมมี่ความผิดเพ้ียนและไม่มีเสียงแทรกซ้อนเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟน้นั จะมีคุณภาพเสียงที่ดีกวา่ เครื่องเสียงที่ไม่เป็ นไฮไฟ โดยเคร่ืองเสียงท่ีไม่เป็ นไฮ-ไฟน้นั

สัญญาณเสียงออกมาจะมีเสียงทุม้ และเสียงแหลมออกมานอ้ ยหรือไม่มีเสียงทุม้ หรือเสียงแหลมออกมาเลย ส่วนเครื่องเสียงที่เป็ นชนิดไฮ-ไฟน้นั จะต่างจากเครื่องเสียงท่ีไม่ใช่ชนิดไฮ-ไฟ ตรงท่ีเคร่ืองเสียงท่ีเป็ นไฮ-ไฟ จะมียา่ นการตอบสนองความถี่ครอบคลุมท้งั เสียงทุม้ และเสียงแหลม จากรูปท่ี 1.5 จะเป็นการเปรียบเทียบยา่ นความถี่เสียงไฮ-ไฟ กบั เคร่ืองเสียงทวั่ ไปจะเห็นไดว้ า่ เครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟน้นั ตอบสอบความถี่เสียงกวา้ งกวา่ เครื่องเสียงทว่ั ไปทาให้เครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟ มีคุณภาพเสียงที่ดีกวา่เครื่องเสียงทว่ั ไปเพราะเคร่ืองเสียงทวั่ ไปจะให้ความถ่ีเสียงออกมาชดั เจนในยา่ นความถ่ีกลางเท่าน้นั ส่วนเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟ จะใหค้ วามถ่ีเสียงออกมาชดั เจนทุกยา่ นความถ่ีท้งั เสียงทุม้ เสียงกลางและเสียงแหลม1.6 ส่วนประกอบของเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟการท่ีจะใหเ้ สียงครอบคลุมทุกยา่ นความถี่ทุกยา่ นน้นั จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบหลายๆ อยา่ งดว้ ยกนั ดงั น้ี1.6.1 เครื่ องส่งวิทยุ จะต้องส่งสัญญาณเสี ยงให้ครอบคลุมย่านความถ่ีเสี ยงโดยเคร่ื องส่งท่ีสามารถส่ งสญั ญาณเสียงครอบคลุมยา่ นความถี่เสียงคือ เครื่องส่งวทิ ยุ FM เคร่ืองส่งวทิ ยุ FMสเตอริโอและเคร่ืองส่งโทรทศั น์เพราะเครื่องส่งเหล่าน้ีลว้ นตอ้ งการคุณภาพของเสียงที่ส่งออกไปจึงทาใหร้ ะบบของการส่งทาให้สัญญาณเสียงท่ีไดค้ รอบคลุมยา่ นความถี่เสียง ส่วนเคร่ืองส่ง AM และเคร่ืองส่งวิทยุสื่อสารความถ่ีเสียงท่ีถูกส่งออกมาน้นั จะไม่ครอบคลุมยา่ นความถ่ีเสียงโดยความถ่ีเสียงต่าๆ และความถี่เสียงแหลมจะไม่สามารถออกมาไดแ้ ละการส่งก็ไม่เนน้ ใหเ้ สียงออกมามีคุณภาพดีตอ้ งการเพยี งแคฟ่ ังรู้เรื่องกเ็ พียงพอแลว้1.6.2 เคร่ืองกาเนิดสัญญาณเสียง จะตอ้ งให้กาเนิดสัญญาณเสียงไดค้ รอบคลุมยา่ นความถ่ีเสียง อุปกรณ์ท่ีสามารถให้กาเนิดสัญญาณเสียงท่ีครอบคลุมยา่ นความถี่เสียง ไดแ้ ก่เคร่ืองเล่นคอมแพค็ ดิสก์หรือเลเซอร์ดิสก์ เคร่ืองเล่นวีซีดี เครื่องเล่นดีวีดี ลว้ นแต่ให้เสียงท่ีครอบคลุมย่านความถ่ีเสียงท้งั น้นั ส่วนเคร่ืองเล่นที่ไม่สามารถให้กาเนิดสัญญาณเสียงไม่ครอบคลุมความถ่ีเสียงมีสองชิ้นคือเคร่ืองเล่นเทปและเคร่ืองเล่นแผน่ เสียง เน่ืองจากเครื่องเล่นเทปน้นั จะสูญเสียสัญญาณเสียงความถี่สูง (เสียงแหลม) ในขณะท่ีทาการบนั ทึกเสียง ในกรณีน้ีอาจเกิดจากสารท่ีนามาทาเน้ือเทปหรือข้นั ตอนในการเปลี่ยนสัญญาณเสียงที่อยใู่ นรูปสนามแม่เหล็กให้สัญญาณเสียงมาอยูใ่ นรูปสัญญาณไฟฟ้าก็เป็ นได้ ส่วนเคร่ืองเล่นแผน่ เสียงน้นั จะมีการสูญเสียความถี่ต่า (เสียงทุม้ ) เน่ืองจากโครงสร้างของส่วนประกอบในระบบเครื่องเล่นแผ่นเสียงท่ีจะเปล่ียนสัญญาณเสียงในรูปของการส่ันเป็ นสัญญาณเสียงในรูปสัญญาณไฟฟ้า แต่การสูญเสียสัญญาณเสียงของท้งั เทปและเครื่องเล่นแผน่ เสียงน้นั สามารถหาอุปกรณ์มาชดเชยและปรับแต่งใหเ้ สียงครอบคลุมยา่ นความถี่เสียงไดโ้ ดยจะกล่าวถึงในบทตอ่ ๆ ไป1.6.3 เครื่องขยายเสียง จะตอ้ งให้ขยายสัญญาณเสียงไดค้ รอบคลุมย่านความถี่เสียงไดก้ ารท่ีจะทาเช่นน้ันไดใ้ นเคร่ืองขยายเสียงจะตอ้ งออกแบบวงจรมาเป็นอยา่ งดี นาอุปกรณ์ที่มีคุณภาพดีมาใชใ้ นสร้างเคร่ืองขยายเสียงและมีวงจรชดเชยและปรับแตง่ สัญญาณเสียงเพือ่ ใหส้ ญั ญาณท่ีขยายออกมาน้นั ครอบคลุมยา่ นความถี่เสียง1.6.4 ตวั เปล่ียนสัญญาณเสียง ตวั เปล่ียนสัญญาณเสียงไม่ว่าจะเป็ นไมโครโฟนท่ีเปลี่ยนสัญญาณเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้า หรือลาโพงท่ีมีหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็ นสัญญาณเสียง อุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่าน้ีหากตอ้ งการให้ตอบสนองความถี่เสียงครอบคลุมยา่ นความถี่เสียงจะตอ้ งมีการออกแบบท่ีดี ใชว้ สั ดุที่ดีมาผลิต ความประณีตในการผลิต หรืออิมพีแดนซ์ในการต่อใชง้ าน

1.7 ความผดิ เพยี้ นทมี่ ีผลต่อเครื่องเสียงไฮ-ไฟ สิ่งสาคญั ที่สร้างระบบไฮ-ไฟข้ึนมาน้ันก็เพื่อผลิตเสียงที่เครื่องขยายเสียงให้มีความดังและเหมือนเสียงธรรมชาติจากแหล่งกาเนิดเดิมหรือเสียงตน้ ฉบบั กล่าวคือเสียงของจริงเป็ นอย่างไรเมื่อทาการขยายแลว้ เสียงที่ออกมาน้นั จะตอ้ งเหมือนเสียงเดิมแต่มีความดงั ท่ีเพ่ิมข้ึนแต่การที่จะทาให้เสียงที่ขยายแลว้ ดงั ออกมาจากลาโพงโดยไม่มีความผิดเพ้ียน (Distortion) ในทางปฏิบตั ิน้ันทาไม่ได้ง่ายอย่างที่คิดท่ีจะกาจดั ความผิดเพ้ียนท่ีเกิดข้ึนความผดิ เพ้ยี นที่พบในอยใู่ นระบบเสียงมีอยหู่ ลายอยา่ งดงั ต่อไปน้ี1.7.1 ความผดิ เพ้ียนเกิดจากการตอบสนองความถี่ (Frequency Response Distortion) ความผดิ เพ้ียนกรณีน้ีเกิดจากเคร่ืองเสียงไม่สามารถเปล่งเสียงออกมาครอบคลุมทุกความถี่เสียงที่ป้อนเขา้ ไป เช่น มีเสียงป้อนเขา้ ไปท่ีเคร่ืองขยายเสียงเป็ นเสียงวงดนตรีวงใหญ่มีความถี่ประมาณ 20 Hz – 15 kHz เม่ือมีการเล่นดนตรีเสียงดนตรีจะผ่านไมโครโฟนเขา้ เครื่องขยายเสียง หรือเครื่องส่งวทิ ยทุ ี่ดีท่ีสุด แต่สัญญาณเสียงท่ีไดเ้ มื่อทาการขยายออกมาน้นั กลบัไม่สามารถครอบคลุมความถ่ีเสียงท่ีป้อนเขา้ ไปคือ 20 Hz – 15 kHz ในกรณีน้ีอาจเกิดจากไมโครโฟนหรือลาโพงกไ็ ด้ การแกไ้ ขจะตอ้ งพยายามหาไมโครโฟนและลาโพงท่ีตอบสนองความถี่เสียงไดค้ รอบคลุมยา่ นความถ่ีเสียงน้นั ๆ1.7.2 เสียงรบกวน (Noise) เป็ นเสียงแปลกปลอมท่ีเราไม่ตอ้ งการมาผสมกบั สัญญาณเสียงทาใหค้ ุณภาพเสียงของเราดอ้ ยคุณภาพลงไป การผิดเพ้ียนน้ีอาจเกิดมาจากแหล่งกาเนิดเสียงต่าง ๆ เช่น ในเคร่ืองเล่นแผ่นเสียง เสียงรบกวนอาจเกิดจากแผน่ เสียงสกปรกหรือหวั เขม็ สกปรก ในเคร่ืองรับวทิ ยุ AM อาจเกิดจากสญั ญาณรบกวนในช้นับรรยากาศ ในเครื่องเล่นเทปอาจเกิดจากการเสียดสีระหวา่ งหวั เทปกบั เน้ือเทปที่เรียกวา่ ฮีส นอยส์ (Hizz Noise)ซ่ึงจะมีความถ่ีประมาณ 8 kHzเสียงรบกวนน้นั มกั จะเป็ นเสียงที่เป็นความถี่สูงมาก ๆ หรือเป็นความถี่ต่ามาก ๆ แต่เสียงรบกวนน้นั อาจจะไม่ไดเ้ กิดจากเคร่ืองกาเนิดสัญญาณเพียงอย่างเดียวแต่อาจจะเกิดจากส่วนประกอบของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่มีคุณภาพ เช่น ถา้ ตวั เก็บประจุท่ีวงจรฟิ ลเตอร์เกิดขอ้ บกพร่องจะทาให้การแปลงไฟฟ้ากระแสสลบั เป็ นไฟฟ้ากระแสตรงท่ีไม่เรียบมีผลทาให้เกิดเสียงฮมั หรือเสียง “บื่อ” ออกที่ลาโพงเคร่ืองเสียงที่มีคุณภาพน้นั มีมาตรฐานท่ีใชว้ ดั คือ อตั ราส่วนระหวา่ งสัญญาณเสียงต่อสัญญาณรบกวน (Signal To Noise Ratio)หรือใชต้ วั ยอ่ วา่ (S/N) โดยเคร่ืองเสียงที่ดีน้นั จะตอ้ งมีค่า (S/N) ประมาณ 50 – 60 เดซิเบลจึงจะดี1.7.3 ความผิดเพ้ียนจากฮาโมนิคและอินเตอร์มอดูเลชั่น (Harmonic Distrotion and Intermodulation) เป็ นความผิดเพ้ียนท่ีถือวา่ เป็ นเร่ืองบกพร่องที่ร้ายแรงที่สุดสาเหตุเน่ืองมาจากการทางานของเคร่ืองขยายเสียงทางานไม่อยู่ในตาแหน่งเส้นตรงพอดี (Linear) ทาให้เกิดความถ่ีแปลกปลอม (Oscillate) ข้ึนภายในเคร่ืองขยายเสียงโดยความถ่ีแปลกปลอมหรือความถ่ีฮาโมนิคที่เกิดข้ึนน้ีจะผสมกบั สัญญาณภายในเคร่ืองขยายเสียง (Intermodulation)ทาให้เกิดความถี่ประหลาดมากมาย การเกิดความถี่ฮาโมนิคดงั กล่าวก็คือการเกิดออสซิลเลท (Oscillate) ของเคร่ืองขยายเสียงการเกิดออสซิลเลทของเคร่ืองขยายเสียงจะมีผลทาใหเ้ สียงแปลกปลอมดงั วู้ ๆ ที่ลาโพงบางคร้ังอาจไม่ไดย้ นิ เสียงแตล่ าโพงเสียงแหลมจะขาดบอ่ ย ๆ ความผดิ เพ้ียนแบบน้ีถือวา่ เป็ นอุปสรรคในการตอ่ เครื่องขยายเสียงและก่อใหเ้ กิดความราคาญต่อเจา้ ของเคร่ือง นอกจากน้นั อาจเกิดความเสียหายที่ตวั เครื่องขยายเองหรือวา่ ที่ตวั ลาโพงได้ การตรวจสอบการออสซิลเลท

สามารถทาไดโ้ ดยการนาตวั ตา้ นทานค่าประมาณ 10 Ω ขนาด ¼วตั ต์ต่ออนุกรมกับตวั เก็บประจุค่าประมาณ0.047 μF ถึง 0.1 μF ไปต่อคร่อมท่ีข้วั ออกเอาตพ์ ุตของเคร่ืองขยายกบั กราวดด์ งั รูป จากรูปท่ี 1.10 ตวั ตา้ นทาน R14 และตวั เก็บประจุ C10 เป็ นวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทของเคร่ืองขยายเสียงซ่ึงในสภาวะปกติน้นั เครื่องเสียงที่ถูกสร้างออกมาอยา่ งดีจะไมเ่ กิดการออสซิลเลทแต่หากอุปกรณ์ตวั ใดภายในวงจรเกิดทางานผดิ พลาดจนทาใหเ้ กิดการออสซิลเลทก็จะมีวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทเป็ นตวั ป้องกนัการแกไ้ ขให้หาอุปกรณ์ท่ีทางานผิดปกติแลว้ ทาการแกไ้ ขอุปกรณ์ตวั น้นั เพื่อที่จะไดห้ ยุดการเกิดออสซิลเลทในวงจรน้นั เสีย1.7.4. ความผดิ เพ้ียนจากสัญญาณกระโชกชว่ั ขณะ (Transient Distortion) ความผดิ เพ้ียนจากสัญญาณกระโชกชว่ัขณะน้ีจะเกิดข้ึนจากสัญญาณเสียงพูดหรือสัญญาณเสียงดนตรีดงั ข้ึนมาทนั ทีทนั ใดในเวลาส้ัน ๆ หากอุปกรณ์ที่ทาการผลิตเสียงสามารถให้กาเนิดเสียงไดเ้ ร็วทนั เหตุการณ์น้ีก็จะไม่เกิดผลเสียอะไรแตห่ ากอุปกรณ์ท่ีทาการผลิตเสียงไม่สามารถให้กาเนิดเสียงไดเ้ ร็วทนั เหตุการณ์น้ีก็จะก่อให้เกิดความผดิ เพ้ียนข้ึน อุปกรณ์ที่ผลิตเสียงและทาให้เกิดความผิดเพ้ียน น้ีคือ หวั เทปของเคร่ืองเล่นเทป หวั เข็มของเคร่ืองเล่นแผน่ เสียง และตวั ลาโพงเอง วิธีการแกไ้ ขคือหาวสั ดุที่มาผลิตอุปกรณ์เหล่าน้ีใหต้ อบสนองสัญญาณกระโชกดงั กล่าวได้ อีกหน่ึงสาเหตุที่ทาให้เกิดสัญญาณกระโชกชวั่ ขณะคือการเปิ ด-ปิ ดสวติ ช์ของเครื่องขยายเสียง เน่ืองจากเมื่อเปิ ดสวติ ช์จะมีสัญญาณไฟกระแสสลบั กระโชกเขา้ เคร่ืองขยายเสียงอยา่ งรวดเร็วผา่ นวงจรขยายเสียงใหม้ ีระดบั ท่ีสูงข้ึนและออกลาโพงอยา่ งรวดเร็วทาใหเ้ กิดเสียงสัญญาณไฟกระชากดงั กล่าวออกท่ีลาโพงดงั “ปึ ก” สัญญาณไฟกระชากท่ีเกิดข้ึนน้ีเรียกวา่ สัญญาณป็ อปน้อยส์ (Pop Noise) เป็ นสัญญาณที่ก่อให้เกิดความราคาญและยงั เป็ นอนั ตรายต่อลาโพงอีกดว้ ย วธิ ีแกไ้ ขคือตอ้ งใส่ชุดป้องกนั ลาโพงและหน่วยเวลา หรือนาคาปาซิสเตอร์ค่าประมาณ0.01 μF -0.1 μF ชนิดทนแรงดนั ประมาณ 400 โวลตข์ ้ึนไปต่อคร่อมท่ีสวติ ช์ของเครื่องขยายเสียงดงั รูปที่ 1.11หรืออาจจะเพมิ่ ตวั ตา้ นทานขนาด 120 Ω ตอ่ อนั ดบั เขา้ ไปดว้ ยดงั รูปที่ 1.12 กไ็ ด้1.7.5 ฟลทั เทอร์และวาว (Flutter And Wow) สัญญาณฟลทั เทอร์และวาวน้นั จะเกิดข้ึนเฉพาะเครื่องเล่นแผน่ เสียงและเครื่องเล่นเทปเท่าน้นั โดยจะเกิดข้ึนเม่ือเคร่ืองเล่นแผ่นเสียงหรือเคร่ืองเล่นเทปมีความเร็วในการเล่นไม่คงที่อาจจะเล่นช้าไปหรือเร็วไป จะทาให้เกิดเสียงประหลาดข้ึนน่ันและคือเสียงฟลทั เทอร์และวาว ในเคร่ืองเล่นแผน่ เสียงน้นั หากเล่นเร็วเกินไปจะเรียกวา่ ฟลทั เทอร์หากเล่นชา้ กวา่ ปกติจะเรียกวา่ วาว หากเกิดอาการฟลทั เทอร์และวาวจะทาให้มีเสียงประหลาดเกินข้ึนซ้า ๆ เป็ นจงั หวะอยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือลดปัญหาฟลทั เทอร์และวาวจึงมีการสร้างเครื่องวดั ความเร็วติดไวท้ ่ีเครื่องเล่นแผ่นเสียงอาจจะเป็ นระบบท่ีควบคุมดว้ ยระบบดิจิตอลมีวงจรนบัรอบและรักษาความเร็วไว้ให้ได้ตามมาตรฐานเสมอเราจะเรียกเคร่ืองวดั ความเร็วน้ีว่า สโทรโบสโคพิค(Stroboscopic)มาตรฐานของฟลทั เทอร์และวาวในเครื่องเล่นแผน่ เสียงจะมีค่าประมาณ 0.02% ถึง 0.07% เคร่ืองเลน่ เทปการคลืน่ ทีข่ องเน้ือเทปจะข้ึนอยูก่ บั แคปสแตนและลกู ยางดนั เทป หากแคปสแตนและลกู ยางดนั เทปเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็วคงท่ีเสียงจากตลบั เทปก็จะเป็ นปกติ แต่หากแคปสแตนและลูกยางดนั เทปเคล่ือนที่ด้วยความเร็วไมค่ งที่เสียงจากตลบั เทปก็จะไมป่ กติและมีผลทาใหเ้ กิดเสียงฟลทั เทอร์และวาว

• ด้านทกั ษะ(ปฏบิ ัติ) 1. แบบประเมินหลงั การเรียนบทท่ี 1 2. ใบงานที่ 1• ด้านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 9) 1. สรุปคล่ืนเสียงและเคร่ืองเสียง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )1. ผูส้ อนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 1. ผเู้ รียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผูส้ อนแนะนารายวชิ า วธิ ีการใหค้ ะแนนและวธิ ีการเรียนเร่ือง คล่ืน รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง คล่ืนเสียงและเครื่องเสียง เสียงและเครื่องเสียง2. ผูส้ อนแจง้ จุดประสงค์การเรียนของบทท่ี 1 2. ผูเ้ รียนทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงค์การและขอให้ผูเ้ รียนร่วมกันทากิจกรรมการเรียนการ เรี ยนบทที่ 1 และการให้ความร่ วมมือในการทาสอน กิจกรรม2. ข้ันให้ความรู้ (120 นาท)ี 2. ข้นั ให้ความรู้ (120 นาที )1. ผูส้ อนให้ผู้เรียนเปิ ด PowerPoint บทที่ 1 1. ผเู้ รียนเปิ ด PowerPoint บทที่ 1 เรื่อง คลื่นเรื่อง คลื่นเสียงและเครื่องเสียง และให้ผูเ้ รียนศึกษา เสี ยงแล ะเคร่ื องเสี ยง แล ะผู้เรี ยน ศึกษ าเอกส ารเอกสารประกอบการสอน วชิ า เคร่ืองเสียง หนา้ ที่ 1- ประกอบการสอน วิชา เครื่ องเสี ยง หน้าที่ 1-14-14โดยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถ ผูเ้ รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถตอบข้อสงสัยสอบถามขอ้ สงสัยระหวา่ งเรียนจากผสู้ อน ระหวา่ งเรียนได้2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนอธิบายคลื่นเสียงและเคร่ือง 2. ผเู้ รียนอธิบายแคลื่นเสียงและเคร่ืองเสียงได้เสียงได้ ศึกษาจาก PowerPoint ศึกษาจาก PowerPoint3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ ( 60 นาที ) 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ ( 60 นาที )1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบประเมินหลังการ 1. ผเู้ รียนทาแบบประเมินหลงั การเรียนบทท่ี 1เรียนบทท่ี 1 2. ผเู้ รียนทาใบงานท่ี 1 หนา้ 222-2282. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาใบงานท่ี 1 หนา้ 222-228 3. ผเู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต3. ผู้ ส อ น ใ ห้ ผู้ เรี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า กอินเทอร์เน็ต

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที )1. ผสู้ อนและผูเ้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียน 1. ผูเ้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 2. ผู้เรี ยน ศึกษ าเพิ่มเติมน อกห้องเรี ยน ด้วยดว้ ย PowerPoint ท่ีจดั ทาข้ึน PowerPoint ท่ีจดั ทาข้ึน(บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-8) (บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-8) (รวม 240 นาที หรือ 4 คาบเรียน)

งานท่ีมอบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมินผล ก่อนเรียน 1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรียนการสอนบทท่ี 1 2. ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของบทที่ 1 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมใน บทท่ี 1 ขณะเรียน 1. ทาแบบประเมินหลงั การเรียนบทท่ี 1 2. ร่วมกนั สรุป “คลื่นเสียงและเคร่ืองเสียง” หลงั เรียน 1. ใบงานท่ี 1ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน แบบประเมินหลงั การเรียนบทที่ 1 ใบงานท่ี 1

สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้ส่ือส่ิงพมิ พ์ 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา เครื่องเสี ยง (ใช้ประกอบการเรียนการสอนจุดประสงค์เชิง พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-8) 2. แบบประเมินหลงั การเรียนบทที่ 1 ข้นั ประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ 1 3. ใบงานท่ี 1สื่อโสตทศั น์ (ถ้ามี) 1. เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ 2. PowerPoint เรื่อง คลื่นเสียงและเคร่ืองเสียงสื่อของจริง 1. คล่ืนเสียงและเครื่องเสียง (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-6)

แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา 1. หอ้ งสมุดวทิ ยาลยั เทคนิคสมุทรสาคร 2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ศึกษาหาขอ้ มูลทางอินเทอร์เน็ต นอกสถานศึกษา ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิ่นจงั หวดั สมุทรสาครการบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอ่ืน 1. บูรณาการกบั วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง 2. บูรณาการกบั วชิ าไฟฟ้าอิเลก็ ทรอนิกส์ 3. บูรณาการกบั วชิ าไฟฟ้าเบ้ืองตน้

การประเมนิ ผลการเรียนรู้ หลกั การประเมินผลการเรียนรู้ ก่อนเรียน 1. ความรู้ความเขา้ ใจก่อนการเรียนการสอน ขณะเรียน 1. ตรวจแบบประเมินหลงั การเรียนรู้บทที่ 1 2. สงั เกตการทางาน หลงั เรียน 1. ตรวจใบงานท่ี 1คาถามผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสาเร็จของผู้เรียน ตรวจแบบประเมินหลงั การเรียนบทท่ี 1 ตรวจใบงานท่ี 1

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั คลื่นเสียงและเคร่ืองเสียง 1. วเิ คราะห์และตีความหมาย 2. ต้งั คาถาม 3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง 4. การประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพสมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั คลื่นเสียงและเครื่องเสียงสมรรถนะการขยายผล ความสอดคล้อง จากการเรียนเรื่อง คลื่นเสียงและเครื่องเสียง ทาให้ผูเ้ รียนมีความรู้เพิ่มเกี่ยวกบั คล่ืนเสียง คุณสมบตั ิและส่วนประกอบของคล่ืนเสียง หูและการไดย้ ิน หน่วยวดั ความดงั เคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟ ส่วนประกอบของเคร่ืองเสียงชนิดไฮ – ไฟ ความผดิ เพ้ียนท่ีมีผลตอ่ เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ

รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียนรู้จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 1 อธิบายการเกิดคล่ืนเสียงได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : อธิบายการเกิดคลื่นเสียงได้ จะได้ 1 คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 2 บอกคุณสมบตั ิและส่วนประกอบของเคร่ืองเสียงได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : บอกคุณสมบตั ิและส่วนประกอบของเครื่องเสียงได้ จะได้ 1 คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 3 จาแนกโครงสร้างของหูและการไดย้ นิ ได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : จาแนกโครงสร้างของหูและการไดย้ นิ ได้ จะได้ 1 คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 4 คานวณหน่วยวดั และความดงั ได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : คานวณหน่วยวดั และความดงั ได้ จะได้ 1 คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 5 เขียนความแตกตา่ งระหวา่ งเคร่ืองเสียงทวั่ ไปได้1. วธิ ีการประเมิน : ตรวจผลงาน2. เครื่องมือ : แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : เขียนความแตกต่างระหวา่ งเคร่ืองเสียงทวั่ ไปได้ จะได้ 1 คะแนน

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 6 แยกแยะส่วนประกอบของเครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : แยกแยะส่วนประกอบของเคร่ืองเสียงชนิดไฮ-ไฟได้ จะได้ 1คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 7 ช้ีใหเ้ ห็นถึงความผิดเพ้ยี นที่มีผลต่อเครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟได้1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ช้ีใหเ้ ห็นถึงความผดิ เพ้ยี นที่มีผลต่อเครื่องเสียงชนิดไฮ-ไฟได้ จะได้ 1คะแนนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 8 สรุปคล่ืนเสียงและเครื่องเสียงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : สรุปคล่ืนเสียงและเคร่ืองเสียงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม จะได้ 2คะแนน

แบบประเมนิ หลงั การเรียนบทท่ี 1ตอนท่ี 1 จงเติมคาในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง1 . ย่ า น ค ว า ม ถ่ี ท่ี ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ รั บ ฟั ง ไ ด้ อ ยู่ ที่ . . . . . . .. . . . . .. . . . . . .. . . . . .. . . . . . .. . ถึ ง............................................................................................2. ระยะทางที่เสียงเคล่ือนที่ไปไดภ้ ายในเวลาหน่ึงวนิ าทีเรียกวา่...................................................................................................3. หูมนุษยม์ ีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ................................................................................ ...................................................................................................................... ................................................................................4. หน่วยวดั ความดงั ที่นิยมใชก้ นั ในปัจจุบนั มี 3 หน่วยคือ ................................................................................................................................................................................................. .........................................5. ............................................................................................................................................................มีคายอ่ วา่HI-FI6. เครื่องเสียงท่ีไม่ใช่ชนิดไฮ-ไฟ เราจะไดย้ นิ เพียงเสียง......................................................................................และจะไมไ่ ดย้ นิเ สี ย ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . แ ล ะ เ สี ย ง.........................................................................................................7 . ค ว าม ถี่ ต่ าคื อ เสี ย ง ...............................................................แ ล ะ ค ว าม ถ่ี สู ง คื อ เสี ย ง.......................................................................8. การส่งวิทยุ.....................................................................................................................................จะไม่เน้นคุณภาพของเสียง9. เสียงรบกวนท่ีเกิดจาก........................................................................................................................................เรียกวา่ ฮีส นอยส์10. ..........................................................................................................จะเกิดข้ึนภายในเครื่องขยายเสียงเมื่อเครื่องขยายเสียงน้นั ทางานไม่อยใู่ นเส้นตรงพอดี

ตอนที่ 2 กากบาทลงหนา้ คาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพียงขอ้ เดียว1. เสียงทุม้ และเสียงแหลมมีขอ้ แตกต่างกนั ท่ีใด?ก. ความเร็วคลื่นข. ความถ่ีคลื่นค. ความยาวคลื่นง. ความแรงคลื่น2. เสียงเดินทางไปในตวั กลางใดไดเ้ ร็วท่ีสุด?ก. น้าข. ไม้ค. เหลก็ง. อากาศ3. คลื่นเสียงมีความถี่เหมือนกนั 2 สญั ญาณถูกผสมกนั เฟสการผสมสัญญาณขอ้ ใดท่ีทาใหค้ ล่ืนออกมาแรงที่สุด?ก. เฟสเหมือนกนัข. เฟสตรงขา้ มกนัค. เลื่อนเฟส 90 องศาง. เล่ือนเฟส 180 องศา4. เยอ่ื แกว้ หูของมนุษยม์ ีหนา้ ที่อะไร?ก. ป้องกนั อนั ตรายจากการกระทบกระเทือนจากภายนอกข. เกิดการสน่ั เม่ือมีเสียงผา่ นเขา้ มาค. ลดความดงั ของเสียงง. ปรับความดนั ในช่องหูใหเ้ หมาะสมกบั อากาศภายนอก5. แรงกดดนั ของเสียงในอากาศที่ต่าสุดที่มนุษยส์ ามารถไดย้ นิ มีคา่ เท่าไร?ก. 0.0002 N/m²ข. 0.00002 N/m²ค. 0.000002 N/m²ง. 0.00000000002 N/m²6. เครื่องเสียงต่อไปน้ีเคร่ืองเสียงใดเป็นชนิดไฮ-ไฟ?ก. เคร่ืองรับวทิ ยุ AMข. เครื่องรับส่งวทิ ยสุ ่ือสารค. เครื่องเล่นแผน่ เสียง

ง. เคร่ืองขยายเสียงที่ใชโ้ ฆษณา7. อิมพิแดนซ์ที่เหมาะสมมีผลต่อการตอ่ ระบบเสียงไฮ-ไฟอยา่ งไร?ก. สัญญาณเสียงท่ีไดจ้ ะแรงข้ึนข. ทาใหเ้ ครื่องเสียงกาลงั วตั ตม์ ากข้ึนค. สญั ญาณที่ส่งผา่ นไมม่ ีความผดิ เพ้ยี นง. ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการต่อระบบเสียง8. เสียงรบกวนท่ีเรียกวา่ ฮีส นอยส์ มีความถี่ประมาณเทา่ ใด?ก. 8 kHzข. 10 kHzค. 15 kHzง. 20 kHz9. Signal To Noise Ratio หรือ S/N คือ?ก. อตั ราส่วนของสัญญาณเสียงตอ่ สัญญาณรบกวนข. อตั ราส่วนของสัญญาณรบกวนต่อสัญญาณเสียงค. อตั ราส่วนของสัญญาณอินพุตตอ่ สัญญาณเอาตพ์ ุตง. อตั ราความผดิ เพ้ียนท่ีเกิดข้ึนในเครื่องเสียงระบบไฮ-ไฟ10. ความถ่ีฮาโมนิคที่เกิดข้ึนในเครื่องขยายเสียงจะเกิดผลอยา่ งไร?ก. เคร่ืองขยายเสียงขยายสัญญาณออกมามีความผดิ เพ้ยี นข. มีเสียงรบกวนท่ีไม่ตอ้ งการดงั แทรกข้ึนมาตลอดเวลาค. สร้างความเสียหายใหก้ บั เครื่องขยายเสียงและล������ําโพงง. ถูกทุกขอ้11. ฟลทั เทอร์และวาวจะเกิดข้ึนเพราะเหตุใด?ก. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของเคร่ืองเล่นเทปไมค่ งท่ีข. อตั ราการขายเสียงของเคร่ืองขยายเสียงไม่คงท่ีค. การเชื่อมตอ่ ระหวา่ งอุปกรณ์ของเคร่ืองขยายเสียงไมค่ งท่ีง. มีการปรับเร่งความดงั ของเคร่ืองขยายเสียงมากเกินไป12. เสียงฟลทั เทอร์และวาวท่ีเกิดข้ึนควรมีค่าเทา่ ไรถึงจะดี?ก. 0.02 – 0.07 %ข. 0.05 – 0.2 %ค. 0.1 – 0.5 %ง. 0.4 – 0.5 %

13. เครื่องเสียงคุณภาพดีควรมี Signal To Noise Ratio หรือ S/N เท่าใค?ก. 30 ถึง 40 เดซิเบลข. 40 ถึง 50 เดซิเบลค. 50 ถึง 60 เดซิเบลง. 55 ถึง 65 เดซิเบล14. สญั ญาณเสียงป็อปนอ้ ยส์เกิดข้ึนจากสาเหตุใด?ก. ป้อนสญั ญาณเสียงท่ีแรงเกินไปเขา้ ไปในเครื่องขยายเสียงข. เร่งความดงั ของเคร่ืองขยายเสียงมากเกินไปค. การเปิ ด-ปิ ดสวติ ช์เครื่องขยายเสียงง. การปรับเร่งความดงั ของเครื่องขยายเสียง15. อุปกรณ์ที่ป้องกนั สญั ญาณเสียงป็ อปนอ้ ยส์ท่ีประกอบจากตวั ตา้ นทานและตวั เก็บประจุมีชื่อเรียกวา่ อะไร?ก. แอตทีฟฟรายเออร์ข. สปาร์คคลีนเนอร์ค. สปาร์คคิลเลอร์ง. คอนโทรลคิลเลอร์ตอนที่ 3 จากโจทยจ์ งอธิบายใหไ้ ดค้ วามหมายท่ีสมบูรณ์1. คลื่นเสียงคือ?2. จงอธิบายข้นั ตอนการไดย้ นิ เสียงของมนุษย?์3. ส่วนประกอบของคลื่นเสียงมีอะไรบา้ งจงอธิบายมาพอสังเขป?4. จงแสดงวธิ ีการหาความดงั ของเสียงเป็นหน่วยดีบีเมื่อเครื่องขยายเสียงเคร่ืองหน่ึงวดั กาลงั ทางไฟฟ้าทางอินพุตได้ 50 mW และวดั กาลงั ทางไฟฟ้าทางเอาตพ์ ุตได้ 20 W?5. ระบบไฮ-ไฟ คืออะไรมีขอ้ ดีอยา่ งไร?6. ความผดิ เพ้ียนที่เกิดจากการตอบสนองความถ่ีเกิดข้ึนเพราะเหตุใด?7. การออสซิลเลทคืออะไร มีวธิ ีการป้องกนั หรือตรวจสอบการออสซิลเลทหรือไม่จงอธิบายมาอยา่ งละเอียด8. สปาร์คิลเลอร์คืออะไรและมีประโยชน์อยา่ งไร?9. จงใหค้ วามหมายของคาวา่ ฟลทั เทอร์และวาวมาพอสงั เขป10. ความผดิ เพ้ียนที่เกิดข้ึนภายในเคร่ืองเสียงท่ีถือวา่ ร้ายแรงที่สุดคืออะไร เพราะเหตุใด?

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน ชื่อกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง........................... รายชื่อสมาชิก 1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขที่……. 3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท่ี…….ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เห็น 32 11 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เก่ียวกบั เน้ือหา ความถูกตอ้ ง ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )2 รูปแบบการนาเสนอ3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม4 บุคลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพดู น้าเสียง ซ่ึงทาใหผ้ ฟู้ ังมีความ สนใจ รวม ผปู้ ระเมิน………………………………………………… เกณฑ์ การให้ คะแนน 1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกตอ้ ง 3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถูกตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์ 2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจุดประสงค์ 1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไม่ตรงตามจุดประสงค์ 2. รูปแบบการนาเสนอ 3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคท่ีแปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอที่น่าสนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั คะแนน = มเี ทคนิคการนาเสนอทแี่ ปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอท่ีน่าสน ใจ แต่ขาด การประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในทอ้ งถ่ิน 1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไมเ่ หมาะสม และไม่น่าสนใจ 3. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม 1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม 4. ความสนใจของผฟู้ ัง 3 คะแนน = ผฟู้ ังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ 2 คะแนน = ผฟู้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ 1 คะแนน = ผฟู้ ังนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

แบบประเมนิ กระบวนการทางานช่ือกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................รายช่ือสมาชิก 2……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่……. 1……………………………………เลขที่……. 3……………………………………เลขที่…….ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คิดเห็น1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั 3212 การแบ่งหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม3 การปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย4 การประเมินผลและปรบั ปรุงงาน รวม ผปู้ ระเมิน………………………………………………… วนั ท่ี…………เดือน……………………..พ.ศ…………...เกณฑ์ การให้ คะแนน1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอยา่ งชดั เจน 2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน 1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน2. การมอบหมายหนา้ ท่ีรับผิดชอบและการเตรียมความพร้อม 3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ / อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง 2 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง แต่ไมต่ รงตามความสามารถ และมีสื่อ / อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง แตข่ าด การจดั เตรียมสถานท่ี 1 คะแนน = กระจายงานไมท่ วั่ ถึงและมีส่ือ / อุปกรณ์ไมเ่ พยี งพอ3. การปฏิบตั ิหนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 3 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด 2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ชา้ กวา่ เวลาท่ีกาหนด 1 คะแนน = ทางานไมส่ าเร็จตามเป้าหมาย4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน 3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ 2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไมป่ รับปรุงงาน 1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนไม่มีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน

บันทกึ หลงั การสอน บทท่ี 1 คล่ืนเสียงและเคร่ืองเสียงผลการใช้แผนการเรียนรู้ 1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 2. สามารถนาไปใชป้ ฏิบตั ิการสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน 3. ส่ือการสอนเหมาะสมดีผลการเรียนของนักเรียน 1. นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู้ เขา้ ใจในบทเรียน อภิปรายตอบคาถามในกลุ่ม และร่วมกนั ปฏิบตั ิใบ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 2. นกั ศึกษากระตือรือร้นและรับผดิ ชอบในการทางานกลุ่มเพือ่ ใหง้ านสาเร็จทนั เวลาท่ีกาหนดผลการสอนของครู 1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สูตร 2. แผนการสอนและวธิ ีการสอนครอบคลุมเน้ือหาการสอนทาใหผ้ สู้ อนสอนไดอ้ ยา่ งมนั่ ใจ 3. สอนไดท้ นั ตามเวลาท่ีกาหนด

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้