เศรษฐกิจในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

�ç���ҧ�ҧ���ɰ�Ԩ�����ѵ���Թ���͹�� (��͹�� �.�.2398)
          1. ��ü�Ե�ѧ�繡�ü�Ե�����ѧ�վ �������ǹ����֧ͨ���Ң�����Թ���
          2. �Ѩ��¡�ü�Ե ���Թ ������դ����Ӥѭ�ҡ�����������繷�Ѿ���ô���� ����������ա�ë��͢�·��Թ��������Ѫ��ŷ�� 3 �ç�ҹ �ѧ�����ç�ҹ���㹤�ͺ���� ���������ѧ�ѡ���ա����Ҩ�ҧ�ç�ҹ��Ǩչ�������
          3. ��ü�Ե �ѧ���繡����л�١ ���� ���� ���� ��ԡ�� ��оת�ǹ �ת��� ����
          ����Ѻ��ü�Ե���ҧ�ص��ˡ��� �ѧ�����ص��ˡ���㹤������͹ ����ա�û�Сͺ�ص��ˡ����к��ç�ҹ��Ҵ����Դ��� ���� �ç�ҹ��ӵ�� ����ç�ҹ�����������
          4. ��ä��
                     ��ä������ �ѧ���繡�ë��͢���š����¹㹷�ͧ��� ��ä�Ң�·ҧ�������Ӥѭ����ա���觢ѹ��ä�������ҧ��ͤ�Ҩչ �Ѻ��ͤ�Ҫ�ǵ��ѹ��
                     ��ä�ҡѺ��ҧ�����
                               �Թ��Ң��͡����Ӥѭ ���� ���� ��ӵ�� ���ѵ�� ˹ѧ�ѵ�� ��Ե�ѳ��ҡ�������ͧ��
                               �Թ��Ң���ҷ���Ӥѭ ���� ������ ����ͧ���ª�� �� �ͧ����� ���ظ�׹
          5. ����������ҡ� �ѧ������͹�Ѻ������ظ�� ��駡��������㹻���� ��С�ä�ҡѺ��ҧ����� �������Ѫ��ŷ�� 3 �ա�èѴ�����š�����������¡���
��к���������ҡÔ
          6. �к��Թ��� ���Թ��������͡�ҧ㹡���š����¹ ���������������� ��� �Թ����ǧ ��������¢�Ҵ
          7. ��÷�ʹ���ѭ�ҡѺ��ҧ�����
                    ʹ���ѭ�������� �.�.2369 ��ʹ���ѭ�ҩ�Ѻ�á���ӡѺ��ҧ�����
                    ʹ���ѭ�������ԧ �.�. 2398 ���������Ӥѭ�ѧ���
                              - ¡��ԡ��ü١�Ҵ��ä�Ңͧ�����Ф�ѧ�Թ���
                              - ��ͤ������ö��Ң���Թ����͡�͡������� ¡��� ���� ���� ��л��
                              - �������͡㹡ó��Դ��âҴ�Ź㹻����
                              - ��˹��ѵ�����բ���������� 3 ��ǹ���բ��͡��ͧ�纵���ԡѴ���յ������˹���ѭ��
                              - ¡��ԡ��������͡���Ӣ����͡�͡����� ���Դ�繡�ä��Ẻ���� ¡��� ���ظ�׹��ͧ�������Ѱ�����ҹ��
                              - ���������դ�� ����Թ�������͡��������
                               ��ͺ����ͧ�ͧ�ѭ�������ԧ
                                          1. ���������º�ҧ��ҹ������
                                          2. �ѭ������ͧ��˹����Ңͧ�ѭ��
                                          3. ��͡�˹��ѭ�������ԧ��ͧ�ӡѺ����ȵ�ҧ� ����

เศรษฐกิจสมัยต้นรัตนโกสินทร์
         

ลักษณะเศรษฐกิจแบบยังชีพ         

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ ก่อนเกิดสัญญาเบาว์ริง) สภาพเศรษฐกิจของไทยมีลักษณะเป็น "เศรษฐกิจแบบยังชีพ" เป็นการผลิตเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือนและนำไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าอื่น ๆ ภายในท้องถิ่น ในส่วนรายได้ของหลวงได้มาจากภาษีประเภทต่าง ๆ เป็นหลัก ได้แก่
          จังกอบ คือ ภาษีที่เก็บจากสินค้าขาเข้า - ขาออก
          อากร คือ ภาษีที่เรียกเก็บจากการประกอบอาชีพของราษฎรที่ไม่ใช่การค้า เช่น ทำนา ต้องเสียอากรนา
          ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากราษฎร เมื่อขอให้ทางการจัดทำสิ่งใดได้ เช่น การออกโฉนดที่ดิน
          ส่วย มีหลายประเภทที่สำคัญ ได้แก่ สิ่งของ หรือเงินทดแทนค่าแรงงานที่ราษฎรจ่ายให้เพื่อไม่ต้องเข้ามาทำงานให้ทางการ

นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีรายได้มาจาก          

๑.  กำไรจากการผูกขาดการค้าโดย "พระคลังสินค้า" เป็นหน่วยราชการที่ทำหน้าที่ค้าขายกับต่างประเทศ (สังกัดกรมคลังหรือกรมท่า)
          ๒.  การค้าเรือสำเภาหลวง โดยพระคลังทำหน้าที่แต่งเรือสำเภาหลวงนำสินค้าไปขายยังต่างแดน เช่น จีน ชวา มลายู

การปรับปรุงการจัดเก็บภาษีอากรและรายได้เพิ่มเติมในสมัยรัชกาลที่ ๓          

๑.  การประมูลผูกขาดการเก็บภาษีอากร เรียกว่า "ระบบเจ้าภาษีนายอากร"
          ๒.  เงินค่าผูกปี้ข้อมือจีน เป็นเงินที่ชาวจีนต้องเสียให้รัฐแทนการถูกเกณฑ์แรงงาน
          ๓.  เงินค่าราชการ เป็นเงินที่ไพร่หรือราษฎรชายชาวไทยต้องให้รัฐแทนการเข้าเวรรับราชการ

เศรษฐกิจไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ยุคปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก
          สมัยรัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑) ไทยทำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษ ทำให้การค้ากับต่างประเทศมีความคล่องตัว และมีเสรีทางการค้ามากขึ้น
          สมัยรัชกาลที่ ๕ ทรงเห็นความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงวิธีจัดเก็บภาษีและการบริหารด้านภาษีอากรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปฏิรูประบบเศรษฐกิจและการคลังให้มีระบบที่ชัดเจนดังนี้

  1.  ยกเลิกระบบการเก็บภาษีอากรเดิม โดยการวางพิกัดอัตราเก็บภาษีเดียวกันทุกมณฑล และแต่งตั้งข้าหลวงคลังไปประจำทุกมณฑล เพื่อดูแลการเก็บภาษีให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย
  2. ทำงบประมาณแผ่นดิน เพื่อควบคุมรายรับรายข่ายของแผ่นดิน
  3. ทำสนธิสัญญาเพราะราชไมตรีว่าด้วยการค้าขาย และพิกัดอัตราภาษีกับประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้น
  4. ประกาศเปลี่ยนการใช้มาตรฐานเงินมาเป็นมาตรฐานทองคำ
  5. พิมพ์ธนบัตรใช้เป็นครั้งแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๔๔๕
  6. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพ.ศ. ๒๔๑๖
  7. จัดตั้งธนาคารพาณิชย์ คือ แบงก์สยามกัมมาจล ปัจจุบันคือธนาคารไทยพาณิชย์
         

สมัยรัชกาลที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๔ - ๒๔๖๘) มีการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้า

  1. การจัดตั้งธนาคารออมสิน ในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์
  2. การจัดตั้งกรมอากาศยาน สนามบินดอนเมือง
  3. การขยายเส้นทางรถไฟ มีการสร้างทางรถไฟเพิ่มขึ้น ทั้งสายเหนือ สายใต้ สายตะวันออก และสายตะวันออกเฉียงเหนือ
  4. การส่งเสริมการเกษตร จัดตั้งสถานีทดลองพันธุ์ข้าว จัดตั้งสหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้ จังหวัดพิษณุโลก
  5. การจัดการด้านการชลประทาน เช่น สร้างเขื่อนพระรามหก จังหวัดอยุธยา เป็นเขื่อนแรกแห่งประเทศไทย
         

ความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ ๖

  1. เกิดอุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ทำให้ผลผลิตข้าวเสียหาย
  2. เกิดภาวะฝนแล้งอย่างรุนแรงในปี พ.ศ. ๒๔๖๗
  3. รัฐบาลยกเลิกหวย ก.ข. และการพนันบ่อนเบี้ย ทำให้รัฐบาลสูญเสียรายได้จากเงินค่าอากรปีหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนมาก

          ความตกต่ำทางเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ ๗
          รัชกาลที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๗) รัฐบาลต้องประสบปัญหาทางเศรษฐกิจหนักยิ่งขึ้นกว่าเดิม ฐานะการคลังของประเทศขาดความมั่นคง มีรายจ่ายสูงมากกว่ารายรับ เกิดจากสาเหตุดังนี้คือ

  1. ความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจที่สะสมมาตั้งแต่ในรัชกาลก่อน
  2. ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก เป็นผลมาจากสงครามโลกครั้งที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๕๗ - ๒๔๖๑) ไทยได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก

          การแก้ไขปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ ๗

  1. ตัดทอนรายจ่ายของประเทศ ลดค่าใช้จ่ายในพระราชสำนักและค่าใช้จ่ายส่วนพระองค์ตัดทอนรายจ่ายของกระทรวง ทบวง กรม ลดเงินเดือนข้าราชการ และปรับดุลข้าราชการออกไปจำนวนหนึ่ง
  2. การเพิ่มอัตราภาษีศุลากากร และเก็บเงินค่าธรรมเนียมคนเข้าเมือง

เศรษฐกิจไทยยุคทุนนิยมโดยรัฐ
          สมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๑ - ๒๔๘๗ มีนโยบายพัฒนาประเทศดังนี้

  • นโยบายส่งเสริมลัทธิชาตินิยมทางเศรษฐกิจ ภายใต้คำขวัญ "ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ"
  • ด้านพาณิชยกรรม รัฐบาลต้องการสนับสนุนให้คนไทยประกอบอาชีพค้าขาย
  • ด้านอุตสาหกรรม รัฐบาลจะลงทุนดำเนินการผลิตในอุตสาหกรรมที่เอกชนไม่มีทุน หรือขาดความชำนาญ

สภาพเศรษฐกิจไทยภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
          ภายหลังที่จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์ ได้ทำการปฏิวัติเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ แล้วได้นำเอาความคิดเกี่ยวกับการวางแผนเศรษฐกิจมาใช้ โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ การยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชนให้ดีขึ้น ดังนั้นรัฐบาลจึงได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๙ มีระยะเวลา ๖ ปี จนมาถึงปัจจุบันประเทศไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๐

ปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน

  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๔ ขาดดุลการค้ามากขึ้น
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๑๘ การขึ้นราคาน้ำมันเป็นผลให้สินค้ามีราคาแพง
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ เกิดปัญหาเงินเฟ้ออย่างรุนแรง
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๗ ดุลการชำระเงินขาดดุลและขาดแคลนเงินตราต่างประเทศทำให้รัฐบาลต้องประกาศ "ลดค่าเงินบาท"
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๔ เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว รัฐบาลพลเอกชาติชาย  ชุณหะวัณ ประกาศนโยบาย "เปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า"
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๐ เกิดปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงิน
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ เกิดปัญหาทุนสำรองระหว่างประเทศตกต่ำและปัญหาการขาดความเชื่อมั่นต่อค่าเงินบาท
  • ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นมารัฐบาลต้องดำเนินนโยบายอย่างประหยัด เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินและการคลัง และมีมาตราการใหม่ ๆ ออกมาใช้

ที่มา : กฤษณา  วิเชียรเพชร : "ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์" หน้า ๔๗ -๔๙

ข้อใดคือรูปแบบเศรษฐกิจในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในสมัยแรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ยังคงอยู่ ในรูปแบบของเศรษฐกิจพอยังชีพ กล่าวคือยังไม่มีการแบ่งงานกันทำแต่ละครอบครัวต้องผลิตของที่จำเป็นทุกอย่างขึ้นมาใช้เอง ที่ดินก็ยังว่างเปล่าอยู่มาก ในขณะที่แรงงานเพื่อ ประกอบการผลิตยังมีอยู่น้อย เพราะสภาพสังคมขณะนั้นแรงงานคนส่วนใหญ่ต้องอุทิศให้กับ การ ...

เศรษฐกิจไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นอย่างไร

สภาพทางเศรษฐกิจในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1.ผลิตผลทางการเกษตร ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญของไทย ได้แก่ ข้าว อ้อย และพริกไทย พื้นที่ที่ใช้ปลูกข้าวกว้างใหญ่ที่มีน้ำท่วมถึงลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเป็นบริเวณที่มีดินอุดมสมบูรณ์มาก สามารถปลูกข้าวได้ผลิตผลสูง รวมไปถึงพืช ผัก ผลไม้อื่นๆ ด้วย

สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญด้านเศรษฐกิจในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นคืออะไร

เมื่อสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นใหม่ๆนั้นการค้ากับต่างประเทศมียังไม่มากเพราะมีปัญหาภายในและต้องทำสงครามกับพม่า ภายหลังไทยสามารถเอาชนะพม่าได้อย่างเด็ดขาดในสงครามท่าดินแดง(พ.ศ.2329)ทำให้มีหลายประเทศเข้ามาทำการค้าด้วย เศรษฐกิจไทยเริ่มดีขึ้น สิ่งที่แสดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจการค้าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เจริญรุ่งเรือง คือ การ ...

รายได้ของรัฐในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีอะไรบ้าง

รายได้ในสมัยรัตนโกสินทร์.
ส่วย คือ เงินหรือสิ่งของที่ไพร่เอามาเสียภาษีแทนแรงงานถ้า ไม่ต้องการชำระ ... .
ฤชา คือ การเสียค่าธรรมเนียมที่ประชาชนจ่ายเป็นค่าตอบแทนการบริการ ... .
อากร คือ เงินที่พ่อค้าเสียให้แก่รัฐบาลในการขอผูกขาดสัมปทาน เช่น การจับ ... .
ภาษีอากรและจังกอบภาษีอากรหมายถึงการเก็บภาษีจากสินค้าเข้าและสินค้า.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้