สถาบันคุ้มครองเงินฝาก logo

Skip to content

ข้อมูลทั่วไป

  • ชื่อหน่วยงาน : สถาบันคุ้มครองเงินฝาก
  • สังกัด : กระทรวงการคลัง
  • ประเภท : องค์กรอิสระ

ระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก

ภาพรวมความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จัดอยู่ใน กลุ่ม High

  • ตัววัดที่ 1 : ด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies / Practices)
  • ตัววัดที่ 2 : ด้านศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล (Digital Capabilities)
  • ตัววัดที่ 3 : ด้านบริการภาครัฐ (Public Services)
  • ตัววัดที่ 4 : ด้านการบริหารจัดการรูปแบบดิจิทัล (Smart Back Office)
  • ตัววัดที่ 5 : ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Secure and Efficient Infrastructure)
  • ตัววัดที่ 6 : ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและการนำไปใช้ (Digital Technology Practices)

  • ผลคะแนนการสำรวจความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (Digital Govenment Readiness Framework)
  • ระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (Digital Govenment Maturity Model) (จากทั้งหมด 5 ระดับ)

ข้อมูลสำคัญ

ด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies / Practices)

  • การจัดทำแผนเพื่อรองรับการก้าวไปสู่รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย: มีการจัดทำ
  • จำนวนชุดข้อมูล (Dataset) ทั้งที่เป็นดิจิทัลและไม่เป็นดิจิทัล: 31 ชุดข้อมูล
  • จำนวนชุดข้อมูลที่เป็นดิจิทัล: ทราบ
  • การดำเนินการใช้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance): 1 ข้อ จาก 10 ข้อ
  • จำนวนชุดข้อมูลทั้งที่เป็นดิจิทัล และไม่เป็นดิจิทัล ที่สามารถเปิดเผยต่อสาธารณะได้ (เช่น ไม่ใช่ข้อมูลลับ ไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ใช่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง): ทราบ
  • จำนวนการเปิดเผยในรูปแบบข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government Data) ตามมาตรฐาน และหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐ ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะแล้ว จากชุดข้อมูลที่สามารถเปิดเผยต่อสาธารณะได้: ทราบ
  • การดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ (data.go.th)
    • มีการเตรียมความพร้อม: 1 ข้อ จาก 3 ข้อ
    • มีการเผยแพร่และควบคุมคุณภาพของชุดข้อมูล: 1 ข้อ จาก 5 ข้อ
  • การดำเนินการด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: มี
  • อุปสรรคด้านกฎระเบียบหรือข้อบังคับที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานภายในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายหรือแผนในการพัฒนาด้านดิจิทัล: ไม่มี
  • งบประมาณทั้งหมด: 1,751,682,000 บาท
  • งบประมาณด้าน IT: 1,599,218,500 บาท
  • โครงการสำคัญ:
    1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย (Government Secure Infrastructure)
    2. โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการให้บริการแก่ภาคประชาชน และภาคธุรกิจ (Citizen and Business Service Platform)
    3. โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการบริหารจัดการภาครัฐ (Government Service Platform)
    4. โครงการพัฒนาศูนย์บริการข้อมูลเปิดและการวิเคราะห์ข้อมูลภาครัฐ (Government Data and Analytics Service Center)
    5. โครงการจัดทำแนวทางมาตรฐานและข้อเสนอแนะการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (Digital Government Transformation)

ด้านศักยภาพเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล (Digital Capabilities)

  • จำนวนบุคลากร: 320 คน
  • จำนวนบุคลากรด้าน IT: 184 คน
    • จำนวนบุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น: 19 คน
    • จำนวนเจ้าหน้าที่สายงานอื่นที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ยกเว้นเจ้าหน้าที่งานบันทึกข้อมูล: 150 คน
  • อบรมหลักสูตรสำหรับผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ: เคย ได้แก่ หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล(Digital Transformation Program : DTP)
  • CIO ได้มีการผลักดันโครงการที่เกี่ยวกับด้านดิจิทัลจนประสบความสำเร็จ: มี

ด้านบริการภาครัฐ (Public Services)

  • จำนวนบริการทั้งหมด: 36 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับประชาชน: 9 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับประชาชนในรูปแบบดิจิทัล: 8 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับภาคธุรกิจ: 1 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับภาคธุรกิจ ในรูปแบบดิจิทัล: 1 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับภาครัฐ: 25 บริการ
  • จำนวนบริการให้กับภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล: 18 บริการ
  • บริการดิจิทัลที่สำคัญ:
    1. GNews
    2. Kiosk
    3. Citizeninfo
    4. Data.go.th
    5. Govchannel
    6. GAC
    7. EGOV
    8. Bizportal
    9. GovSpending
    10. info.go.th
  • แพลตฟอร์มดิจิทัลที่เปิดให้หน่วยงานอื่นสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการภาคประชาชน ภาคธุรกิจ หรือภาครัฐ (ถ้ามี):
    1. แพลตฟอร์มเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลทะเบียนราษฎร์ และข้อมูลนิติบุคคล
    2. แพลตฟอร์มสนับสนุนการเชื่อมโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐ(Electronic Correspondence Management Services : e-CMS)
    3. แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางเพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ
  • การให้บริการโดยไม่เรียก สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน และสำเนาเอกสารอื่นๆ ที่ออกโดยราชการจากประชาชน สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านสำเนาเอกสารอื่นๆ ที่ออกโดยราชการ
    ได้ยกเลิกการเรียกสำเนาจากประชาชน ในทุกบริการ ในทุกจุดบริการทั่วประเทศแล้ว ไม่ใช่ ไม่ใช่
    สามารถให้บริการได้โดยไม่ต้องเรียกสำเนา จากประชาชน ในทุกบริการ ในทุกจุดบริการทั่วประเทศ มาตั้งแต่ก่อนมีมติคณะรัฐมนตรี ยืนยัน ยืนยัน

ด้านการบริหารจัดการรูปแบบดิจิทัล (Smart Back Office)

  • ระบบบริหารงานดิจิทัลภายในหน่วยงาน: ระบบดำเนินการเองใช้ระบบกลางของภาครัฐชื่อระบบเชื่อมโยงกับระบบกลางของภาครัฐชื่อระบบ
    1. งานบริหารทรัพยากรบุคคล
    2. การเงินการบัญชี
    3. งานสารบรรณ
    4. งานเลขานุการ
    5. งานอาคารสถานที่ และยานพาหนะ เช่นจองห้่องประชุม รถตู้
    6. งานบริหารจัดการพัสดุ
    7. งานจัดซื้อจัดจ้าง
    8. งานติดตามและประเมินผล
    9. งานติดต่อสื่อสาร
  • การเชื่อมโยงข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลกับหน่วยงานภายนอก:
    1. มีการดำเนินการเชื่อมโยงกับระบบ/ศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลางภาครัฐ คือ ระบบบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ (Linkage Center) ศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลางภาครัฐ (Government Data Exchange: GDX)
    2. มีความต้องการที่จะดำเนินการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นในอนาคต: ไม่มี (ถ้าหน่วยงานไหนมี จะขึ้นว่า ชื่อหน่วยงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม เชื่อมต่อกับข้อมูล ฐานข้อมูลด้านการจัดการกากของเสียและสารอันตราย)
  • มีเทคโนโลยีรองรับการทำงานจากที่บ้าน:
    1. มีการทำงานผ่านช่องทาง/ระบบ MS teams
    2. มีการรายงานตัวเริ่มทำงาน และเลิกงาน (Check-in/Check-out)
  • มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลด้านกระบวนการอัตโนมัติ (Process Automation) มาช่วยลดขั้นตอนการทำงาน หรือทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ:
    1. ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
    2. ด้านการประชาสัมพันธ์
    3. ด้านอื่นๆ ได้แก่ งานบริการ IT
  • การส่งเอกสารติดต่อราชการกับหน่วยงานอื่นๆ อย่างเป็นทางการ:
    1. รูปแบบเอกสารส่งทางไปรษณีย์ / โทรสาร / พนักงานส่งเอกสาร
    2. รูปแบบดิจิทัล ได้แก่ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Saraban) ข้ามหน่วยงาน
  • การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร:
    1. การสื่อสารภายในองค์กร: มี ได้แก่ E-mail Line Microsoft Team
    2. การสื่อสารภายนอกองค์กร: มี ได้แก่ ระบบกลางของภาครัฐ Mailgothai E-mail ช่องทางที่เป็นดิจิทัลอื่นๆ facebook youtube
    3. การจัดประชุม: มี ได้แก่ Microsoft Team
  • แพลตฟอร์มในการทำงานร่วมกัน (Collaboration) ภายในองค์กร:
    • มีแพลตฟอร์มที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน

ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Secure and Efficient Infrastructure)

  • โครงสร้างพื้นฐานทางด้านฮาร์ดแวร์ อาทิ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค อุปกรณ์ Conference: เพียงพอ
  • โครงสร้างพื้นฐานทางด้านซอฟต์แวร์: เพียงพอ และทันสมัย เหมาะสมกับการใช้งานจริง
  • โครงสร้างพื้นฐานทางด้านเซิฟเวอร์และเน็ตเวิร์ค: เพียงพอ
  • โครงสร้างพื้นฐานกลางภาครัฐที่นำมาปรับใช้ในหน่วยงาน:
    • ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Network: GIN)
  • มาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์:
    1. ด้านการรักษาความลับของข้อมูล (Confidentiality): มี
    2. ความแท้จริงของข้อมูล (Integrity): ไม่มี
    3. การใช้งานได้ของระบบ (Availability): มี

ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและการนำไปใช้ (Digital Technology Practices)

    • มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในการสร้างเชื่อมต่อและการสื่อสาร (Connectivity):
      1. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารผ่านอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อสื่อสาร ได้แก่ โครงการ แผนงาน A4 การส่งเสริมการออมเป็นรายบุคคล (Personalization of Services) ปี 2563 โดยตั้งศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงินส่วนบุคคล ขยายขอบเขตจากการให้บริการข้อมูลการเงิน เป็นการวางแผนทางการเงิน โดยจัดทำระบบเพื่อการนัดหมายบริการข้อมูลการเงิน
      2. เทคโนโลยีอื่น ๆ ควบคู่กับเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารผ่านอุปกรณ์ ได้แก่ โครงการ แผนงาน A4 การส่งเสริมการออมเป็นรายบุคคล (Personalization of Services) ปี 2563 โดยพัฒนา Personalized Chatbot ขยายขอบเขตการทำงานของโปรแกรมการตอบข้อมูลสมาชิกแบบอัตโนมัติ (Chatbot)
      3. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ API ในการเชื่อมต่อและการสื่อสาร ได้แก่ โครงการ แผนงาน การให้บริการ End-to-End Service on Mobile Platform ปี 2562 และการพัฒนาต่อยอดบริการบน My GPF Mobile Application ในปี 2563 ซึ่งมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ API ในการเชื่อมต่อและการสื่อสาร
    • มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลและการตัดสินใจ (Data-driven decision making) :
      1. วิเคราะห์ผ่านการใช้โปรแกรมพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ โครงการ กบข. มีการใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวกับ Security Incident ในแผนงานจัดทำแผงควบคุมการเฝ้าระวังและตอบสนองต่อภัยคุกคามด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Security Monitoring & Responding Dashboard) จาการใช้งานและให้บริการผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตขององค์กร
      2. วิเคราะห์ผ่านการใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาสำหรับการวิเคราะห์เชิงสถิติโดยเฉพาะ ได้แก่ โครงการ แผนงาน การใช้ Data Analytics เพื่อการวิเคราะห์และให้บริการสมาชิก ปี 2562 ซึ่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลสมาชิกเพื่อการวิเคราะห์ (Big Data & Data Analytics) โดยวิเคราะห์ผ่านการใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาสำหรับการวิเคราะห์เชิงสถิติ SPSS เพื่อรองรับการวิเคราะห์ข้อมูลในปริมาณที่มากกว่าโปรแกรมพื้นฐาน
      3. วิเคราะห์ผ่านการเขียนโปรแกรมโดยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น Python Stark เพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมาก (Big data) หรือการวิเคราะห์ที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เช่น Machine Learning AI ได้แก่ โครงการ แผนงาน การใช้ Data Analytics เพื่อการวิเคราะห์และให้บริการสมาชิก ปี 2562 ซึ่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลสมาชิกเพื่อการวิเคราะห์ (Big Data & Data Analytics) โดยมีการวิเคราะห์ผ่านการเขียนโปรแกรมโดยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น Python Stark เพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมาก
    • มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างความปลอดภัย และความน่าเชื่อถือในการทำงานต่างๆ เช่น การทำธุรกรรม การแลกเปลี่ยนข้อมูล :
      1. มีการใส่ Password ให้กับไฟล์เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ได้แก่ โครงการ โครงการนำส่งใบแจ้งยอดประจำปีให้กับสมาชิก กบข.
      2. มีการใช้ Security control รูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ โครงการ แผนงาน การให้บริการ End-to-End Service on Mobile Platform โดยมีการการยืนยันตัวตนผ่านสองขั้นตอน และการกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล
      3. มีการใช้ระบบการดูแลความปลอดภัยแบบเบ็ดเสร็จ (Security Platform) ได้แก่ โครงการ กบข. มีการใช้ระบบ Carbon Balck Cloud เพื่อการดูแลความปลอดภัยข้อมูลแบบเบ็ดเสร็จ (Security Platform) โดยติดตั้งใช้งานระบบ Cabon Black บนเครื่องแม่ข่ายฯและเครื่องลูกข่ายฯ และอุปกรณ์ Mobile ขององค์กร และบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยผ่านระบบ Cloud โดยบริหารความปลอดภัยของข้อมูล, ป้องกันและจัดการกับ Virus / Malware ได้ทุกรูปแบบ เช่น Zero-Day Attack Exploits และ APTs รวมถึง Non-Malware และป้องกันการรั่วไหลและการขโมยข้อมูล (Data Leakage) ด้วย

รายละเอียดเพิ่มเติม

ด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies / Practices)

  1. การดำเนินการใช้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance): 0 ข้อ จาก 10 ข้อ ได้แก่ ไม่มี
  2. การดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ (data.go.th)
    • มีการเตรียมความพร้อม: 1 ข้อ จาก 3 ข้อ ได้แก่
      • มีการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ Administrator ให้สามารถดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานตามขั้นตอนการทำงานของศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ (data.go.th) ได้ เช่นการเข้าร่วมอบรม Open Data Workshop หรือการศึกษาคู่มือการใช้งานระบบศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ
    • มีการเผยแพร่และควบคุมคุณภาพของชุดข้อมูล: 5 ข้อ จาก 5 ข้อ ได้แก่
      • มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ
      • มีการจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) ที่มีความสมบูรณ์สำหรับชุดข้อมูลที่มีการเผยแพร่ผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ
      • มีการปรับปรุงข้อมูลที่มีการเผยแพร่ผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
      • มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบ 3 ดาวขึ้นไป ยกตัวอย่างเช่น CSV, XML, JSON, RDF (URIs) หรือ RDF (Linked data)
      • มีการเชื่อมโยงข้อมูลเปิดของหน่วยงานมายังศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบ API

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้