การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย 5 ข้อ

               4.2 ชมการแสดงนาฏศิลป์     จะเห็นได้ว่าในปัจจุบัน กระแสยุคโลกาภิวัฒน์และโครงข่ายข้อมูลโซเซียลเน็ตเวิร์กได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตคนเราอย่างมาก  ผู้คนมีทางเลือกในการที่จะชมสิ่งต่างๆ มากกว่าสมัยก่อน  จนหลงลืมศิลปะการแสดงแบบไทยที่มีมาแต่โบราณ  เช่น โขน   ละคร  ฟ้อนรำ  จึงทำให้การแสดงนาฏศิลป์ค่อยๆ เลือนหายไป ดังนั้นควรส่งเสริมให้นักเรียนได้ตระหนักพร้อมกับสร้างแรงจูงใจให้เห็นความสำคัญของนาฏศิลป์ไทย และแนะนำวิธีการชมที่ถูกต้อง  เพื่อให้เยาวชนเข้าถึงการแสดงนาฏศิลป์อย่างจริงจัง เพื่อสนองแนวพระราชดำริของพระองค์ท่านและให้เยาวชนรุ่นหลังเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยอย่างแท้จริง

ใบความรู้เรื่อง

การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย

ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตประจำวัน

นาฎศิลป์และการละครมีความสำคัญกับชีวิตประจำวันของมนุษย์มาโดยตลอดตั้งแต่
เกิดจนตาย จะเห็นได้จากเวลาคนเราเกิดมาในสมัยก่อนจะมีพิธีทำขวัญเดือน โกนผม
ไฟ ซึ่งถือเป็นพิธีมงคล เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวก็จะมีพิธี โกนจุกเพื่อแสดงว่าเข้าสู่วัยหนุ่ม
สาวแล้ว ชีวิตในช่วงต่างๆของคนไทย เช่น การอุปสมบท พิธีทำขวัญนาค การแต่งงาน
ขึ้นบ้านใหม่ และพิธีอื่นๆอีกมากมาขล้วนมีนาฎศิลป์และการละครเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ

1. ความสำคัญของนาฎศิลป์และการละคร

นาฎศิลป์และการละครมีความสำคัญดังนี้
1.1 แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ เพราะศิลปะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อจิตใจของมนุษย์
เป็นเครื่องโน้มน้าวอารมณ์ โดยเฉพาะการแสดงละครเป็นสิ่งที่ช่วยในการกล่อมเกลา
จิตใจ ให้แง่คิดและให้กำลังใจในการที่จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองในชาติสืบต่อไป

1.2 เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงต่างๆ เพราะศิลปะทุกแขนงนั้นมีความเชื่อมโยงเกี่ยว
เนื่องกันทั้งสิ้น ได้แก่

- วรรณกรรม คือ การแต่งบทละคร บทร้อง

- จิตรกรรม คือ การเขียนฉากละคร การแต่งหน้าตัวละคร

- ประติมากรรม คือ การปั้น การหล่อ การสลักรูป เช่น ประดิษฐ์

- สถาปัตยกรรม คือ การสร้างเวที การสร้างฉาก

- ดุริยางคศิลป์ คือ การบรรเลงคนตรี ขับร้อง
ศิราภรณ์ต่างๆ การแสดงหุ่นละครหลวงเป็นการแสดงที่รวมศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่
วรรณกรรมจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และคุริยางคศิลป์ เป็นการแสดงที่
มีความสวยงามมาก

2. บทบาทของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตประจำวัน

นาฎศิลป์และการละครเป็นกิจกรรมที่ปรากฏอยู่ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กับ
ชีวิตประจำวันของเรา เช่น

2.1 ) การเล่านิทาน เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะของการละครผสมอยู่เพราะเป็นเรื่องราว
ที่เล่าต่อๆกันมาหรือเป็นเรื่องของนิทานพื้นบ้าน ซึ่งบางครั้งอาจมีการแสดงท่าทาง
ประกอบซึ่งอาจจะเปรียบได้ว่าผู้เล่าเป็นผู้แสดงที่สื่อสารเรื่องราวให้กับผู้ฟัง

2.2 ) การเลียนแบบ สามารถพบเห็นได้จากการสมมุติตนเองในการเล่นของเด็กๆ
เช่น เล่นขายของ สมมุติดนเองเป็นพ่อค้า ลูกค้าที่มีการต่อรองราคาในการซื้อขาย
สินค้ากันการละเล่นงูกินหาง สมมุติตนเองเป็นพ่องู แม่งู และลูกงู เป็นต้น ซึ่งการเล่น
หรือการสร้างสถานการณ์เช่นนี้มีลักษณะเหมือนกับการแสดงละคร ที่นักแสดงต้อง
เลียนแบบตัวละครแล้วแสดงออกมาให้ผู้ชมได้รับรู้

2.3) กิจกรรมเพื่อความบันเทิง เป็นการแสดงเพื่อผ่อนคลายความเครียด ความ
เหนื่อยล้ำจากการทำงาน หรือเป็นการแสดงที่ใช้แสดงในงานเทศกาลต่างๆหรืองาน
บุญของไทยตั้งแต่อดีตเพื่อสร้างความบันเทิง ประชาชนนิยมเล่นการละเล่นพื้นบ้านที่
เป็นการแสดงพื้นบ้าน ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับนาฎศิลป์และ
การละครทั้งสิ้น

3.การอนุรักษ์นาฎศิลป์และการละคร

นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาติ มีคุณค่าต่อสังคม
ไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการแสดงต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วิถีการดำเนิน
ชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้เป็นมรดกของชาติ

การอนุรักนาฎศิลป์ไทยนั้นถือว่าเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่จะต้องตระหนักถึง
คุณค่าของงานนาฎศิลป์ที่บรรพบุรุษได้สร้าวิสรรค์ขึ้นมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อีกทั้ง
ยังมีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการช่วยส่งเสริมและอนุรักษ์นาฎศิลป์ไทย เช่น
วิทยาลัยนาศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร
เป็นต้น

คนไทยสามารถมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอดนาฎศิลป์ไทยได้ดังนี้

- ปลูกฝั่งให้คนไทยทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์และส่งเสริมนาฎศิลป์เป็น

- ศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยปละนาฎศิลป์พื้นเมืองในท้องถิ่น
ของตนเอง

- ตระหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อสังคมไทยและประเทศชาติ

-ให้ความร่วมมือในการสนับสนุน เผยแพร่ อนุรักษ์ และให้ความร่วมมือในการเข้าร่วม
ชมและจัดกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทยรูปแบบการแสดง

ได้_______คะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ใบงานที่ 3

เรื่อง สรุปความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์

ชื่อ-นามสกุล____________________เลขที่________ชั้น________

วันที่_ _______เดือน_________________________พ.ศ________

คำชี้แจง ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1.นาฏศิลป์ไทยมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
2.ละครมีบทบาทต่อคนในสังคมอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
3.เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่านาฏศิลป์เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
..............................................................................................................................
4.ละครไทยแสดงถึงภูมิปัญญาด้านใด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
5.นาฏศิลป์และละครไทยมีบทบาทต่อสังคมอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................

6.การอนุรักษ์นาฏศิลป์มีประโยชน์อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................
7.การอนุรักษ์นาฏศิลป์มีวิธีการอนุรักษ์อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................
8.การอนุรักษ์นาฏศิลป์ควรตระหนักถึงสิ่งใด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................

ได้_______คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน

ชื่อ-นามสกุล_______________________เลขที่________ชั้น___________

วันที่___________เดือน_________________________พ.ศ___________

คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้
1.ผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไรหลังจากที่เรียนหน่วยการเรียนรู้นี้แล้ว
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
2.ผู้เรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง จากหน่วยการเรียนรู้นี้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
3.ผู้เรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใดอีกบ้างที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ซึ่งต้องการให้ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
4.ผู้เรียนจะสามารถนำความรู้ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
5.ให้ผู้เรียนบอกแนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยพร้อมทั้งบอกผล
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ ให้ผู้สอนทำสำเนาแบบบันทึกนี้เพื่อให้นักเรียนบันทึกทุกหน่วยการเรียนรู้


แนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยมีอะไรบ้าง

การค้นคว้าวิจัย ควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของไทยในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค.
การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและ ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น.

การแสดงแนวอนุรักษ์ มีอะไรบ้าง

//www.buuticket.com/lachat.
ชุดที่ ๑ เบิกโรงกิ่งไม้เงินทอง.
ชุดที่ ๒ ฉุยฉายเบญกาย.
ชุดที่ ๓ รจนาเสี่ยงพวงมาลัย.
ชุดที่ ๔ เมขลานั่งวิมาน.
ชุดที่ ๕ เมขลารามสูร.
ชุดที่ ๖ พราหมณ์เกศสุริยงรบกุมภณฑ์.
ชุดที่ ๗ ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง.
ชุดที่ ๘ สมิงพระรามเกี้ยวพระราชธิดา.

หน่วยงานใดมีส่วนสำคัญในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย

กรมศิลปากร มีภารกิจเกี่ยวกับการคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาติ มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศิลป ...

การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยเป็นหน้าที่ของใคร

แนวทางการสืบสาน และอนุรักษ์นาฏศิลป์และการละคร และการละคร เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่จะต้อง ตระหนักถึงคุณค่าของงานนาฏศิลป์ มีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการช่วยส่งเสริม และอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เช่น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้