ข้อสอบ การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

                             สิ่งที่ควรระวังในการใช้งานขั้นตอนวิธีแบบมีการแบบวนซ้ำคือ ต้องตรวจสอบว่าได้กำหนดเงื่อนไขอย่างรัดกุมและถูกต้อง มิเช่นนั้นแล้วอาจเกิดกรณีแบบวนซ้ำไม่รู้จบ (infinite loop) หรือกรณีที่วนซ้ำไม่ได้ตามจำนวนรอบที่ต้องการ

1. การใช้กระบวนการแก้ปัญหามีประโยชน์อย่างไร 1. สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ 2. สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง 3. สามารถแก้ไขปัญหาได้ทุกอย่าง 4. สามารถสร้างเงื่อนไขในการแก้ปัญหาของตนเองได้ 2. กระบวนการแก้ปัญหาจะต้องเริ่มจากขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก 1. ดำเนินการแก้ไข 2. วางแผนการแก้ปัญหา 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. ข้อใดคือรูปแบบของการระบุข้อมูลออก 1. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา 2. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการหาคำตอบ 3. การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก 4. ไม่มีข้อใดถูก 4. ขั้นตอนต่อไปนี้ เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการอย่างระเอียดและต้องมีการวางแผนอย่างถูกวิธี 1. ดำเนินการแก้ปัญหา 2. เลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 5. จงเรียงลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาให้ถูกต้อง 1. วิเคราะห์  -->  ดำเนินการ  -->  ตรวจสอบ   -->  วางแผน 2. วิเคราะห์   -->  วางแผน  -->  ดำเนินการ  -->  ตรวจสอบ 3. วางแผน  -->  วิเคราะห์  -->  ตรวจสอบ  -->  ดำเนินการ 4. วางแผน  -->  วิเคราะห์  -->  ตรวจสอบ  -->  ปรับปรุง 6. ข้อใดคือปัจจัยหลักที่ทำให้การวางแผน ในการแก้ปัญหาของแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน 1. โชคชะตา 2. ความรู้และประสบการณ์ 3. อาชีพ 4. ตำแหน่งงาน 7. อัลกอริทึม (Algorithm) หมายถึงอะไร 1. การจำลองความคิดเพื่อวางแผนขั้นตอนในการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ 2. กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล 3. ลักษณะของปัญหา ความถนัดของผู้เขียนโปรแกรม 4. โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทำงานที่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง 8.     จากรูป คือ สัญลักษณ์ ที่มีความหมายว่าอย่างไร 1. การแสดงข้อมูล 2. การทำเอกสาร 3. การเตรียมการ 4. การปฏิบัติงาน

9 – 10 จากข้อความต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 9 – 10
“ หากนักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านกลับมา  นักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร”

9. จากประโยคข้างต้น  ข้อใดคือขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา

1. นักเรียนทำการบ้านและนำสมุดมาโรงเรียน 2. นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน 3. นักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านมา 4. นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 10. ข้อใดคือขั้นตอนของการวางแผน 1.นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 2.นักเรียนลงมือทำการบ้านที่โรงเรียน 3.นักเรียนโดนครูทำโทษ 4.นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน
1.ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน 1. 3 ขั้นตอน 2. 4 ขั้นตอน 3. 5 ขั้นตอน 4. 6 ขั้นตอน 2. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาได้ถูกต้อง 1. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 2. สิ่งที่ต้องการ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ =>รูปแบบผลลัพธ์ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 3. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => ข้อมูลนำเข้า => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 4. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ข้อมูลนำเข้า => ภาษาที่ใช้ 3. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. การแจ้งปัญหาให้ผู้ดูแลตรวจสอบปรับปรุงระบบ 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. ข้อใดไม่ได้อยู่ในหลักเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา 1. รูปแบบผลลัพธ์ 2. ข้อมูลนำเข้า 3. ข้อมูลนำออก 4. ตัวแปรที่ใช้ 5. การเขียน Flowchart มีความหมายตรงกับข้อใด 1.  การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 2. การดำเนินการแก้ปัญหาโดยคำพูด 3.  การแสดงการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. การใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย 6. ข้อใดคือการจำลองขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาในรูปของคำบรรยาย 1. Flowchart 2. Algorithm 3. Pseudocode 4. Refinement 7. สัญลักษณ์ที่นิยมในการเขียน Flowchat แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม 1. 3  กลุ่ม 2. 4 กลุ่ม 3. 6 กลุ่ม 4. 7 กลุ่ม 8. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 9. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 10. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด

1. แสดงการเก็บข้อมูล

2. การรับ – ส่งข้อมูลโดยใช้แถบแม่เหล็ก

3. แสดงการหน่วงเวลาการประมวลผล

4. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ

11. สัญลักษณ์ใดคือการเริ่มเขียน Flowchart 1. 2. 3. 4. 12. คำสั่ง if, if…else, switch, case อยู่ในลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ

2. โครงสร้างแบบทางเลือก

3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข

4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ

13. จากภาพคือลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ 2. โครงสร้างแบบทางเลือก 3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข 4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ 14. การระบุข้อมูลเข้าข้อมูลออกอยู่ในกระบวนการใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 15. หากนักเรียนต้องการหาคะแนนเฉลี่ยวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน 30 คน ข้อมูลนำเข้าคือข้อใด 1. คะแนนของนักเรียนแต่ละคน
2. สูตรหาค่าเฉลี่ย 3. ผลลัพธ์ที่ได้
4. วิชาคอมพิวเตอร์

16. ข้อใด ไม่ใช่ สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

1. ข้อมูลที่ต้องนำเข้า
2. รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาคำตอบ 4. ขั้นตอนหรือวิธีการที่ต้องใช้ในการหาคำตอบ 17. นิลินต้องการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 3 จำนวน 2 7 9 สิ่งแรกที่ควรทำคือข้อใด 1. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การตรวจสอบและปรับปรุง 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 18. โปรแกรมสำเร็จรูปหรือภาษาคอมพิวเตอร์มักถูกนำมาช่วยในขั้นตอนใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 19. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ เรียกว่าอะไร 1. การระบุข้อมูลเข้า    2. การระบุข้อมูลออก 3. การกำหนดวิธีการประมวลผล 4. การขจัด 20. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา คือข้อใด 1. การระบุข้อมูลออก 2. การกำหนดวิธีการประมวลผล 3. การระบุข้อมูลเข้า 4. การขจัด 21. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ อยู่ในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม 1. การสร้างปัญหา 2. การเขียนอัลกอริทึม 3. การเขียนโปรแกรม 4. การทดสอบโปรแกรม 22. ข้อใดต่อไปนี้ ถือเป็นกระบวนการทำซ้ำ  1. ตื่นนอน ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้ำ ไปโรงเรียน 2. เรียนหนังสือ ง่วงนอน แอบหลับ 3. อ่านหนังสือจนเวลาเที่ยงแล้วจึงไปทานข้าวกลางวัน 3. ถ้าหิวจะทานข้าวก่อนแล้วค่อยนอน 23. ข้อใดต่อไปนี้ "มิใช่" อัลกอริทึม 1. หลักการคำนวณสูตรคูณแม่ 12 2. จงหาผลรวมของเลขคู่ 3. คำนวณค่าล่วงเวลาของพนักงานทั้งหมด 4. ทุกข้อล้วนเป็นอัลริทึม 24. ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม สามารถวัดจากข้อใดต่อไปนี้ 1. ต้องใช้หน่วยความจำมาก 2. ใช้เวลาพัฒนานาน เพื่อความรอบคอบ 3. ต้องง่ายต่อการทำความเข้าใจ 4. ถูกทุกข้อ 25. ตัวแปรชนิดใดเหมาะสมที่สุดสำหรับเก็บชื่อและนามสกุลของนักเรียน 1. จำนวนเต็ม (int) 2. ข้อความ (char) 3. จำนวนทศนิยม (float) 4. จำนวนทศนิยม (double) 26. เมื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมจะต้องทำสิ่งใดก่อน 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. เขียน Flowchar 3. เขียนโปรแกรม 4. เลือกภาษาที่ต้องใช้เขียน 27. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ถูกต้อง 1. เขียนโปรแกรม > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา 2. เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด 3. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร 4. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนโปรแกรม > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร 28. ข้อใดคือข้อแตกต่างระหว่างซูโดโค้ดกับผังงาน 1. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน 2. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม 3. ผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ซูโดโค้ดเป็นแผนภาพของโปรแกรม 4. ซูโดโค้ดเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม

29. การจำลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน

ก. การเขียน Dictionary ข. การเขียน Applications ค. การเขียน Flowchart ง. การเขียน Software 30. ข้อใดต่อไปนี้ คือคำสั่งที่ต้องใช้หยุดการทำซ้ำและออกจากลูปของโปรแกรมได้ 1. continue 2. break 3. while 4. for 31. กิจกรรมใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์น้อยที่สุด 1. แก้ปัญหา 2. ประดิษฐ์คิดค้น 3. ค้นคว้าหาความรู้ 4. ฝึกทักษะพิมพ์โดยใช้คอมพิวเตอร์ 32. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ตรงกับข้อใด 1. เป็นการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 2. เป็นการตรวจสอบและปรับปรุง 3. เป็นการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกข้อมูลออกมา 4. เป็นการลงมือดำเนินการแก้ปัญหา 33. ความหมายของอัลกอริทึม ตรงกับข้อใด 1. เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาระบบ 2. เป็นการวางแผนงาน การแก้ปัญหา 3. เป็นการจำลองความคิดเป็นข้อความหรือคำบรรยาย 4. ถูกทุกข้อ 34. จุดประสงค์การเขียนอัลกอริทึม คือข้อใด 1. เพื่อจัดลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหาของโปรแกรม 2. เพื่อให้ทุกคนได้มีตัวเลือกในการใช้โปรแกรม 3. เพื่อเป็นตัวเลือกของการตัดสินใจของผู้บริหาร 4. เพื่อให้ป้องกันการ Copy โปรแกรม 35. ผังงาน (Flowchart) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ มีดังนี้ 1. ผังงานระบบ , ผังงานโปรแกรม 2. ผังงานระบบ , ผังงานแสดงผล 3. ผังงานโปรแกรม , ผังงานแสดงผล 4. ผังงานแสดงผล , ผังงานโปรแกรม 36. การเขียนผังงาน (Flowchart) ไม่เหมาะกับลักษณะงานแบบใด 1. งานที่ไม่มีความซับซ้อน 2. งานที่มีความซับซ้อน 3. งานที่มีความยากง่ายปะปนกัน 4. ผิดทุกข้อ 37. การเขียนผังงาน (Flowchart) ที่ดี ตรงกับข้อใด 1. มีความซับซ้อน 2. มีความเป็นเชื่อมโยงที่หลากหลาย 3. การนำข้อความต่อเรียงกันให้เกิดความซับซ้อน 4. มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเข้าใจง่าย 38. Flowchart มีบทบาทต่อขั้นตอนใด 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม 39. ข้อใดคือขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาโปรแกรม 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม 40. ขั้นตอนใดที่สามารถตรวจสอบได้ว่าโปรแกรมมีข้อผิดพลาด 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. การทดสอบโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้