เปลี่ยน ผ้า เบรค ร้าน ไหน ดี

การนำรถเข้าตรวจหรือเช็กผ้าเบรกนั้นจำเป็น ซึ่งควรเข้าเช็กทุกๆ 20,000 กม. หรืออย่างน้อยปีละครั้ง ช่างผู้เชี่ยวชาญ ที่ FIT Auto จะตรวจสอบระบบเบรกเบื้องต้นว่ายังสามารถทำงานได้ดี ตรวจหาว่ามีการสึกหรอหรือไม่ รวมทั้งตรวจสอบ ปัญหาต่างๆ และสามารถให้คำแนะนำที่อิงจากคำแนะนำของโรงงานผู้ผลิตรถยนต์แต่ละยี่ห้อ รวมทั้งตรวจสอบ ส่วนประกอบของชุดผ้าเบรกที่ส่งผลต่อการประสิทธิภาพการทำงานของการเบรก

ผ้าเบรกเป็นชิ้นส่วนที่เมื่อคุณมีรถสักคัน ใช้ไปสักระยะหนึ่งคุณต้องหันมาให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะอาการ เบรกลึก เบรกไม่อยู่ เป็นสัญญานเตือนว่าคุณจำเป็นต้องเปลี่ยนผ้าเบรกแล้ว เมื่อถึงเวลาที่เราจะต้องเปลี่ยนผ้าเบรกมักเกิดเป็นคำถามขึ้นอยู่ในหัวตลอด เลือกยี่ห้อไหน เกรดอะไรดี บางครั้งเราซื้อแพงสุดไม่ใช้ว่าจะดีจะคุ้มค่าเสมอไปนะครับ วันนี้Lenso wheel จะพาทุกท่านไปรู้ลึกถึงความแตกต่างของเบรกชนิดต่างๆ

หลายๆครั้งที่เราไปร้านอะไหร่หรืออู่เพื่อที่จะเปลี่ยนผ้าเบรก จะเจอทางร้านเชียร์ผ้าเบรกยี่ห้องนั้นยี่ห้อนี้ ส่วนใหญ่ก็จะขึ้นอยู่กับว่าร้านนั้นเป็นตัวแทนจำหน่ายผ้าเบรกยี่ห้ออะไร แต่ประเด็นสำคัญคือการเลือกเกรดของผ้าเบรก สิ่งที่เจอเป็นประจำคือ เราขับรถ CITY Car แต่ทางร้านชอบเชียร์ผ้าเบรคเกรดระดับ Super car ให้เราซึ่งตอบได้คำเดียวว่าเกินความจำเป็นเพราะอะไรเราไปดูกันครับ

ยางรถยนต์

รถจะเบรกได้ดี อยู่ไม่อยู่ ทนทานแค่ไหนอยู่ที่เนื้อผ้าเบรกโดยตรง ประสิทธิภาพ ของการเบรก ฟิวลิ่งความรู้สึกเบรคที่แตกต่างกันเลือกยังไงให้ครบทั้ง ความปลอดภัย ใช้งานคุมค่า ราคาเหมาะสม

สำหรับผ้าเบรกที่มีขายอยู่ในตลาดบ้านเรา ปัจจุบันมีอยู่ 4 ประเภท ดังนี้


1. 1.ผ้าเบรกในกลุ่มที่ เนื้อผ้าเบรก มี ส่วนผสมของสาร Asbestos (กลุ่มผ้าเบรก Standart)
เป็นผ้าเบรกที่ใช้งานตามาตรฐานทั่วไป ใช้งานได้ง่ายสะดวก เหมาะกับการใช้งานในรถยนต์ที่ไม่ค่อยได้ใช้ความเร็วสูงมากนัก ผ้าเบรกในกลุ่มนี้ราคาอาจไม่สูงมาก และสามารถทำงานได้ดีในช่วงตั้งแต่ความเร็วต่ำ เบรกจับได้แน่นและค่อนข้างนุ่มนวลและไม่กินหรือทำให้จานเบรกเป็นรอยมากนัก.. แต่ข้อเสียคือ อาจมีฝุ่นผงของเศษผ้าเบรกเป็นละอองออกมาปะปนในอากาศ หรือสร้างคราบสกปรกติดที่ล้อรถได้ ?ซึ่งผ้าเบรกในกลุ่มนี้ไม่เหมาะกับการใช้งานในลักษณะของการเบรกหนักๆ ในความเร็วที่สูงต่อเนื่องบ่อยๆ ?เพราะผ้าเบรกในกลุ่มนี้ เมื่อมีความร้อนสะสมมากๆ ?ประสิทธิภาพจะลดลง หรือ หากความร้อนสะสมในตัวผ้าเบรกมีมากจนไม่สามารถคลายตัวได้ในช่วงเวลานั้น ?อาจส่งผลให้เกิดอาการเบรก Fade ในระบบเบรกได้ (อาการเบรก Fade คือ อาการที่เบรกหาย หรือ การที่เหยียบเบรกไปแล้วไม่มีแรงดันในระบบเบรก ..จึงไม่สามารถหยุดรถได้..หากเกินอาการนี้เมื่อไหร่ ท่องไว้ครับ สติๆๆ ..พยายามลดความเร็วด้วยเกียร์ / ค่อยๆ ดึงสลับปล่อยเบรกมือ / ประคับประคองทิศทางรถให้ดีครับ ที่เหลือก็อาศัยประสบการณ์ความสามารถพิเศษที่ผู้ขับขี่มีติดตัวมาครับ)

2.ผ้าเบรกในกลุ่มที่ เนื้อผ้าเบรก ไม่มี สวนผสมของสาร ?Asbestos (กลุ่มผ้าเบรก Semi-metallic)
ผ้าเบรกในกลุ่มนี้อาจดูแล้ว มีความพิเศษกว่าในกลุ่มแรก แต่ก็แน่นอนราคาค่าตัวอาจจะสูงกว่าตามลำดับ ซึ่งผ้าเบรกในกลุ่มนี้ ตัวเนื้อผ้าเบรกจะไม่มีการผสมสาร Asbestos แต่จะผสมสารต่างๆ ในกลุ่ม metallic ลงไปในเนื้อผ้าเบรก ..ซึ่งผ้าเบรกในกลุ่มนี้เหมาะที่เรานำมาใช้กับรถที่เน้นในเรื่องของความเร็วสูงๆ และต้องใช้เบรกบ่อยๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ?เพราะตัวผ้าเบรกสามารถรองรับงานหนักและสามารถทนความร้อนได้สูงวกว่าแบบแรก .. แต่นอกจากข้อดีที่สามารถมองเห็นได้ในความแตกต่างแล้ว ?ผ้าเบรกในกลุ่มนี้ก็ยังมีข้อเสียในตัวมันเองด้วย เช่น ผ้าเบรกในกลุ่มนี้ ในช่วงเวลาที่เบรกเย็นตัวอาจจะไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่เบรกอาจมีลื่นหรือไหลบ้างต้องรอเวลาหรือได้รับการ Warm หรือ มีความร้อนสะสมสักนิดความสามารถในปการเบรกก็จะสูงขึ้น ?จากนั้นขอเสียอีกอย่างหนึ่งที่แตกต่างก็คือ ตัวผ้าเบรกจะมีความทนทานสูงแต่อาจส่งผลเสียกับจานเบรกที่จะทำให้จากเบรกสึกหรอไปได้อย่างรวดเร็ว หรือ มักสร้างรอยต่างๆ ให้เกิดขึ้นบนจานดิสก์เบรกได้

3. Metallic แบบอัดขึ้นบล็อคด้วยผงเหล็ก มีประสิทธิภาพการใช้งานสูง สามารถทนความร้อนได้ดี มีความไวเมื่อเหยียบเบรกแบบกระทันหัน แต่อาจมีเสียงดังเมื่อใช้งาน และทำให้จานเบรกสึกไวกว่าปกติ

4. Semi-metallic ส่วนผสมส่วนใหญ่เป็นโลหะ แม้จะทำมาจากโลหะเป็นส่วนใหญ่ แต่มันสามารถระบายความร้อนได้เร็วมาก แต่ก็ยังทนความร้อนได้ไม่ดีเท่าแบบที่ 3 แถมยังมีเสียงดังขณะเหยียบเบรกอีกด้วย

การเลือกผ้าเบรกให้เหมาะสมกับการใช้งานกับรถของคุณถือเป็นเรื่องที่สำคัญ อย่างยิ่ง เพราะหากรถของคุณแค่ขับใช้งานธรรมดา ก็ให้เลือกผ้าเบรกชนิดที่เป็นแบบเดียวกันกับของเดิมโรงงาน เพราะมันได้ถูกคำนวณเรื่องการใช้งานมาแล้ว แต่ถ้ารถของคุณแต่งซิ่ง มีกำลังเครื่องยนต์มากขึ้น ก็ควรที่จะเลือกใช้ผ้าเบรกที่มีคุณภาพสูงไปเลย เนื่องจากเบรกธรรมดาอาจเอาไม่อยู่ เมื่อคุณขับขี่ด้วยความเร็วสูง แต่ทางที่ดี ขับขี่ปลอดภัย ใช้ความเร็วตามที่กฎหมายกำหนดจะดีที่สุดครับ

– รถบ้าน ใช้งานเดินทางในเมืองหลวง / ไปทำงาน / ช้อปปิ้ง / ออกต่างจังหวัด นานๆ ครั้ง ..ในสไตล์นี้ ใช้ผ้าเบรก ในเกรด Standart ที่ไม่มีส่วนผสมของโลหะ ก็เพียงพอแล้วครับ ใช้งานง่ายสะดวก ไม่ต้องรออุณหภูมิที่สูงมาก เบรกก็เริ่มทำงานได้ดีในช่วงต้นๆ แล้วครับ

-รถแต่งซิ่ง อัพสเต็ป / หรือ คนรักความเร็ว / เดินทางต่างจังหวัดใช้ความเร็วสูงๆ ยาวๆ บ่อยๆ .. ในการใช้รถสไตล์นี้ ขยับมาใช้ผ้าเบรกใน กลุ่มผ้าเบรก Semi-metallic ก็ได้ครับ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความมั่นใจ ความทดทานของการสึกหรอของระยะผ้าเบรกได้อีกระดับหนึ่ง .. เนื่องจากอาจต้องใช้เบรกเยอะ ความร้อนสะสมเยอะเวลาใช้งาน จะได้ไม่เกิดอาการเบรก Fade แต่ช่วงเริ่มการใช้งานในตอนเบรกยังเย็นตัว? ควรรอให้อุณหภูมิสะสมในผ้าเบรกสูงสักนิดนะครับ เพราะ ในช่วงเริ่มการใช้งานใหม่ๆ? ความร้อนในเบรกยังไม่สูงมาก ลักษณะการเบรกอาจจะมีอาการไหลๆ ลื่นๆ อยู่บ้าง ก็ตามสไตล์ผ้าเบรกใน เกรดนี้

-รถตู้ / รถโดยสาร / รถกระบะที่ขนของหนักๆ ลุยทางไกล ขึ้นเขาลงห้วยเป็นประจำ .. สำหรับรถกลุ่มนี้บอกเลยว่า จัดเต็มเลยครับเรื่องผ้าเบรก ใช้เกรดดีหน่อย มองใน กลุ่มผ้าเบรก Semi-metallic เลยครับ เพราะใช้งานคุ้มแน่นอน ที่สำคัญรถในกลุ่มนี้ต้องใช้งานเบรกบ่อย..เจอความร้อนที่สะสมสูงๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทางยาวๆ? รถหนัก ขึ้นเขาลงเขาบรรทุกสิ่งของต่อเนื่องยาว ๆ งานนี้ เรื่องเบรกต้องสำคัญ จัดเต็มเลยอย่าได้ประหยัดตรงจุดนี้ การใช้งานรถในกลุ่มนี้ต้องตรวจสอบระบบเบรกและส่วนควบทั้งระบบ ทุกระบบเป็นประจำ ครับ เพราะรถใช้งานหนักต่อเนื่องความสึกหรอย่อมเกิดได้มากและเร็วกว่าการใช้งานในรูปแบบอื่นๆ

สำหรับสิงค้าที่เราจะมาแนะนำวันนี้ ผ้าเบรกชื่อดังในยุค 2020 สำหรับคนรักรถหรือสายซิ่ง ชั่วโมงนี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก NEXZTER หลายๆคนอาจจะคิดว่าเป็นแบรนใหม่ แต่ที่ไหนได้เป็นผ้าเบรกที่ต่อยอดมาจาก nsport ซึ่งเป็นผ้าเบรกที่มีชื่อเสียงในไทยอยู่แล้ว และผลิตภายใต้เทคโนโลยีจากแบรนดัจากประเทศญี่ปุ่นอย่า project Mu

NEXZTER ได้แบ่งแยกเกรดของเบรกไว้ 4 เกรดด้วยกัน ซึ่งชื่อเกรดของเบรคจะระบุเจาะจงเลยว่าควรใช้กับรถประเภษไหนอย่างชัดเจน เราไปดูคุณสมบัติ รายละเอียดของเบรกแต่ละเกรดกันครับ

ในรุ่นแรก NEXT SPEC

Normal Street Brake System

เหมาะสำหรับรถยนต์ส่วนบุคคล ที่ใช้งานในชีวิตประจำวัน หรือ เรียกอีกอย่างว่ารถบ้านนั้นเอง

  • โดดเด่นด้วยวัตถุดิบ Carbon Plus และการผสมผสานของเส้นใยชนิดต่างๆ ที่มีฟังก์ชั่นการทำงานเฉพาะทางอย่างลงตัว ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพการเบรคและเพิ่มความมั่นใจในการควบคุมตั้งแต่เริ่มแรก
  • คุณสมบัติให้หน้าสัมผัสระหว่างจานเบรคและผ้าเบรคมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • ทนความร้อนสูงถึง 400 องศาเซลเซียส
  • ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานอยู่ที่ 0.35-0.42

รุ่นที่สอง มาในชื่อ MU SPEC

Street Sport Brake System

เหมาะสำหรับรถยนต์นั่ง ขนาดเล็ก – ขนาดใหญ่ และเหมาะกับคนที่รักความสนุกในการขับขี่รถยนต์ ใช้ความเร็วสูงบ้างบางช่วงเวลา

  • โดดเด่นด้วยเทคโนโลยี Aerospace ที่ใช้ในอากาศยานที่มีจุดเด่นในการทนความร้อนสูง และแข็งแรงทนทานสูง คงทนต่อการกระแทกได้ดี และยังใช้เป็นส่วนประกอบของชุดกันไฟหมวกกันไฟ สำหรับนักแข่งรถยนต์สูตร 1 และนักผจญเพลิง
  • คุณสมบัติให้ระยะเบรคที่สั้นกว่าเดิม ยืดอายุจานเบรค และสารเคลือบจานเงา
  • ทนความร้อนสูง 500 องศาเซลเซียส
  • ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Friction Coefficient) อยู่ที่ 0.40-0.45 

สำหรับตัวนี้เป็นเบรกเกรดสูงมาในชื่อ PRO SPEC

High Performance Brake System

สำหรับรถยนต์นั่งขนาดกลาง - ใหญ่ , รถปิคอัพ , รถแวน , รถขับเคลื่อน 4 ล้อ และรถแต่งที่ชอบความเร็ว

ไปจนถึงรถที่ออกแบบเป็น performance car ตั้งแต่ต้นกำเนิด

  • โดดเด่นด้วยเทคโนโลยี Hollow Structure ที่นำวัสดุวิศวกรรมที่ถูกสร้างขึ้นโดยวัตกรรมทางเทคโนโลยีเฉพาะทางสำหรับยานยนต์ให้มีความแข็งแรงพร้อมกับ มีโครงสร้างที่เหนือกว่าโครงสร้างผ้าเบรคทั่วไป จึงทำให้มีการถ่ายเทความร้อนได้ดี ช่วยให้ประสิทธิภาพการเบรคเสถียรในทุกช่วงการใช้งานถึงประดับอุณหภูมิที่ 600 องศา
  • คุณสมบัติ ทนความร้อนสูง ระยะเบรคดี ทำงานเต็มที่ทุกช่วงอุณหภูมิ และช่วยการควบคุมการขับขี่ในช่วงความเร็วสูงได้ดี
  • ทนความร้อนสูงถึง 600 องศาเซลเซียส
  • ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Friction Coefficient) อยู่ที่ 0.43-0.48

และในรุ่นเกรดสุดท้ายมาในชื่อ RACE SPEC

Racing Brake System

ชื่อรุ่นบอกอย่างตรงตัว สำหรับรถแต่งเครื่องเปลี่ยนเครื่องที่แรงกว่าเดิม ไปจนถึงที่ถูกออกแบบมาแข่งในสนามโดยเฉพาะ

ผ้าเบรคยี่ห้อไหนดีที่สุด

2. ผ้าเบรกเมทัลลิก คือผ้าเบรกที่ทนทานมากที่สุด เพราะผลิตจากโลหะที่ทนต่ออุณหภูมิที่สูงหรือแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี และมีอายุการใช้งานได้เป็นเวลานาน นั่นจึงทำให้ผ้าเบรกชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมาก แต่ผ้าเบรกเมทัลลิกนี้เมื่อใช้ไปสักระยะนึงก็จะมีเสียงดังรบกวนเช่นกัน และอาจทำให้จานเบรกสึกหรอก่อนเวลาอันควรได้

เปลี่ยนผ้าเบรครถยนต์ ราคาเท่าไร

เปลี่ยนผ้าเบรก ฟรีค่าแรง รับประกัน 6 เดือน หรือ 10,000 กม. รถเก๋ง เริ่มต้น 1,000 บาท รถกระบะ เริ่มต้น 1,400 บาท รถตู้ SUV เริ่มต้น1,450 บาท

จะรู้ได้ไงว่าผ้าเบรคหมด

3 สัญญาณเตือน!.
1. มีอาการเบรกต่ำ คือ เมื่อเหยียบเบรกแล้วรู้สึกว่าต่ำกว่าปกติ หรือถ้าเป็นเบรกหลัง (ในบางรุ่น) จะรู้สึกว่าต้องดึงเบรกมือสูงกว่าปกติ นั่นแสดงว่าผ้าเบรกสึกหรอมากแล้ว.
2. มีไฟเตือนโชว์ (ไฟเบรกมือ) ที่ตัวเรือนไมล์ ติดค้างเป็นสีแดง ... .
3. มีเสียงดังเหมือนเหล็กสีกัน ขณะเหยียบเบรก.

ผ้าเบรค ต้องเปลี่ยนบ่อยแค่ไหน

โดยปกติแล้วผ้าเบรคนั้นจะมีอายุการใช้งานเฉลี่ยที่ประมาณ 50,000 - 60,000 กิโลเมตร ซึ่งถือว่าใช้งานได้ค่อนข้างนานเลยทีเดียว ซึ่งระยะเวลาที่นานนี่แหละที่อาจทำให้หลาย ๆ คนมักจะลืมตรวจสอบกันว่ารถยนต์ของตัวเองใช้งานผ้าเบรคมานานขนาดไหนแล้ว

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้