ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ ภาษีซื้อ

  (3) �����������ӹҨ���������ҵ�� 65 ��� (20) ��觻�������ɮҡ� ���ա�õ�Ҿ���Ҫ��ɮա�� �͡�������㹻�������ɮҡ� ��Ҵ�����¨��·��������������¨���㹡�äӹdz�����ط�� (��Ѻ��� 315) �.�.2540 ������ռ���ѧ�Ѻ��͹��ѧ������ѹ��� 29 ����Ҥ� 2539 �繵�� ��˹��������������ѷ������ҧ�����ǹ�ԵԺؤ�Ź���Ť�ҵ鹷ع�ͧ��Ѿ���Թ������ö¹�������ö¹������÷���շ��������Թ 10 �� ੾����ǹ����Թ�ѹ��˹����ҹ�ҷ ��Ф����ҷ�Ѿ���Թ������ö¹�������ö¹������÷���շ��������Թ 10 �� ੾����ǹ����Թ�ѹ�� 36,000 �ҷ�����͹㹡óշ������������͹������»� ���ͤ�������ǹ����Թ�ѹ�� 1,200 �ҷ����ѹ㹡óշ�����������ѹ ��ɢͧ��͹���Դ���ѹ �ҡ������֧ 1 �ѹ���ӹdz�����ҵ����ǹ�ͧ�������ҷ����� ��駹�� �����������Ť���������� 件������¨���㹡�äӹdz�����ط�� ���������֧�óպ���ѷ������ҧ�����ǹ�ԵԺؤ�ū�觻�Сͺ��áԨ���͢�� ���������ҫ���ö¹��������ѧ���������������Թ��� ���ͻ�Сͺ��áԨ������ö¹����ö¹��������ѧ�����������͡�������� ੾����Ť�ҵ鹷ع��ǹ����������ѧ�ҡ�ѡ����֡�����Ф���������Ҥҵ���ҵ�� 65 ��� (2) ��觻�������ɮҡ� 

กิจการซื้อรถกระบะ 4 ประตู สามารถเคลมภาษีซื้อได้แล้ว เนื่องจากรถกระบะ 4 ประตูได้เปลี่ยนพิกัดจากรถยนต์นั่ง เป็นพิกัดรถยนต์กระบะที่ออกแบบให้มีน้ำหนักรวมน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 4,000 กิโลกรัม จึงไม่ถือเป็นรถยนต์นั่ง ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัตอัตราภาษีสรรพสามิต ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560


ภาษีอากรกับรถยนต์กระบะ 4 ประตูที่ได้มาตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560

1. ภาษีซื้อ สำหรับรถยนต์กระบะ 4 ประตู และภาษีซื้อสำหรับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับรถยนต์กระบะ 4 ประตู

  • ไม่ถือเป็นภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (6) แห่งประมวลรัษฎากร และข้อ 2 (1) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)

  • สามารถนำภาษีซื้อไปเดรดิตหักภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้

2. ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา รถยนต์กระบะ 4 ประตู

  • สามารถคำนวณหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามมาตรา 65 ทวิ (2) แห่งประมวลรัษฎากรที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้มาโดยการซื้อหรือเช่าซื้อ ได้โดยไม่จำกัดมูลค่าต้นทุนที่จำนวนไม่เกิน 1,000,000 บาท

3. มูลค่าต้นทุน รถยนต์กระบะ 4 ประตู

  • ส่วนที่เกิน 1,000,000 บาท ไม่เป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (20) แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับมาตรา 4 (1) แห่งพระราขกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 315) พ.ศ. 2540

4. ค่าเช่า รถยนต์กระบะ 4 ประตู

  • ไม่จำกัดจำนวนที่ 36,000 บาทต่อคันต่อเดือน หรือ 1,200 บาทต่อคันต่อวัน ตามมาตรา 65 ตรี (20) แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับมาตรา 4 (2) แห่งพระราขกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 315) พ.ศ. 2540

    หากผู้ประกอบการเลือกที่จะซื้อรถยนต์ในนามกิจการ เพื่อนำมาใช้ในกิจการ ข้อพิจารณาทางภาษีเรื่องแรกที่ต้องนึกถึงก่อนคือ รถยนต์ที่ซื้อนั้นเป็นรถประเภทไหน เข้าข่ายอยู่ในรถยนต์ที่นั่งไม่เกิน 10 คน หรือมากกว่า 10 คน เป็นรถยนต์นั่ง รถกระบะ หรือรถยนต์โดยสาร เป็นต้น แล้วจึงนำไปจำแนกการนำไปใช้ประโยชน์ทางภาษี ซึ่งแบ่งได้ดังนี้

    - ค่าใช้จ่าย เมื่อซื้อรถยนต์ในนามกิจการ สามารถนำค่าใช้จ่ายและต้นทุนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการซื้อรถยนต์นั่งทั่วไป มาเป็นรายจ่ายหรือต้นทุนของสินทรัพย์ ในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีได้ แต่ห้ามนำมูลค่าต้นทุนในส่วนที่เกินหนึ่งล้านมาคำนวณกำไรสุทธิ 

    - ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากกิจการซื้อรถยนต์ที่นั่งเกิน 10 คน หรือรถกระบะที่เข้าเกณฑ์ จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษีได้(เคลมภาษีซื้อได้) แต่ถ้าไม่เข้าตามเกณฑ์นี้ ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อรถยนต์นั่ง และการเช่า หรือค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ค่ายางรถยนต์ ค่าน้ำมันรถ ค่าอะไหล่ ค่าบำรุงรักษาซ่อมแซม จะถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม 

    - ค่าเสื่อมราคา สำหรับค่าเสื่อมราคาของรถยนต์ ตามกฎหมายสามารถหักค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาทเท่านั้น โดยหักค่าเสื่อมราคาต่อปีสูงสุดได้ปีละ 200,000 บาท โดยจะต้องแบ่งหักเป็นค่าใช้จ่ายไม่น้อยกว่า 5 ปี

    ทั้งนี้ รถยนต์ที่ซื้อเป็นเงินสดราคาเกิน 1 ล้านบาท ในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท จะต้องนำมาบวกกลับในการคำนวณภาษีนิติบุคคลประจำปีของกิจการเนื่องจากไม่สามารถบันทึกค่าใช้จ่ายส่วนเกินได้ 

    • เช่าซื้อ VS ลีสซิ่ง ซื้อรถยนต์แบบไหนลดหย่อนภาษีได้มากกว่า

    หลังจากที่กิจการตัดสินใจซื้อรถยนต์ในนามกิจการ เป็นรถยนต์นั่ง ซึ่งปกติมักจะเป็นรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 ที่นั่งรูปแบบการซื้อก็มีผลต่อการนำมาคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีด้วยเช่นกัน โดยส่วนใหญ่นอกเหนือจากซื้อ “เงินสด” แล้ว การซื้อด้วยเงินผ่อน ซึ่งมีให้เลือกอยู่ 2 แบบ ก็มีความแตกต่างกัน และนำมาลดหย่อนภาษีได้ไม่เหมือนกันคือ

    1.เช่าซื้อ คือ สัญญาเช่าซื้อ สินทรัพย์ลักษณะนี้แม้จะยังไม่เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ แต่ถือเป็นสินทรัพย์ของธุรกิจตั้งแต่เริ่ม เมื่อผ่อนชำระหนี้ครบตามที่กำหนด ผู้ให้เช่าจะโอนกรรมสิทธิ์มาให้ผู้เช่าซื้อโดยอัตโนมัติ 

    สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษีในส่วนของค่าเสื่อมราคาได้ตั้งแต่เริ่มผ่อนชำระ โดยกิจการบันทึกเป็นค่าเสื่อมค่าใช้จ่ายสำหรับการเช่าซื้อ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องจึงเป็นค่าเสื่อมราคาต่อปีรวมดอกเบี้ย เมื่อคำนวณแล้วจะต้องไม่เกินราคาที่จะต้องผ่อนชำระในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น

    หรือให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอัตราไม่เกินร้อยละ 20 ของมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท (ค่าเสื่อมสูงสุด 200,000 บาทต่อปี)

    วิธีการนี้จะนำไปลดหย่อนภาษีจะได้น้อยกว่าแบบลิสซิ่ง คือได้น้อยกว่าค่าเช่ารายเดือน จึงเหมาะสำหรับธุรกิจ SME รายเล็กที่ยังมีภาระหนี้และภาระภาษีไม่มากนัก  

    2.ลีสซิ่ง คือ สัญญาเช่า จึงไม่ถือเป็นสินทรัพย์ของกิจการ (เป็นลักษณะการเช่า) เมื่อจ่ายค่าเช่าครบตามที่กำหนดในสัญญา กิจการมีสิทธิเลือกว่าจะซื้อหรือส่งคืนผู้ให้เช่า ทำให้การนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษีจะอยู่ในลักษณะค่าเช่ารายเดือน ซึ่งนำไปลดหย่อนภาษีได้มากกว่าแบบเช่าซื้อ แต่ก็มีกำหนดเพดาน โดยค่าเช่าต้องไม่เกิน 36,000 บาทต่อเดือน หรือ 432,000 บาทต่อปี 

    และเนื่องจากลีสซิ่งถือเป็นการเช่า เมื่อจ่ายเงินค่าเช่าจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 5% แต่เมื่อกิจการตัดสินใจซื้อรถยนต์ ก็สามารถคิดค่าเสื่อมได้อีก        

    รวมถึงค่าเช่ารายเดือนถือเป็นค่าใช้จ่าย 100% สามารถนำไปหักภาษีได้เต็มจำนวน ซึ่งเหมาะกับธุรกิจที่มีกำไรสูงและต้องการลดกำไรเพื่อให้เสียภาษีน้อยลงจำนวนมาก

    ในกรณีที่กิจการตัดสินใจเลือกใช้วิธีเช่ารถยนต์เพื่อใช้ในกิจการแทนการซื้อ การนำค่าใช้จ่ายจากการเช่ารถยนต์มาใช้ประโยชน์ทางภาษีนั้น สามารถทำได้หลายรูปแบบ และใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ต่างกันดังนี้ 

    - ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ค่าใช้จ่าย) กิจการผู้เช่ารถยนต์สามารถนำค่าเช่ารถยนต์มาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของกิจการ เพื่อเสียภาษีนิติบุคคลได้ โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 

    1) ค่าเช่าประเภทรถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารที่นั่งไม่เกิน 10 คน สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 36,000 บาท/เดือน

    2) ค่าเช่าประเภทรถยนต์เชิงพาณิชย์ คือรถยนต์ที่ใช้เพื่อดำเนินการทางการค้า เช่น การขนส่งสินค้า การขนส่งวัสดุ วัตถุดิบ และอื่นๆ ที่ใช้ในการผลิต จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เป็นรถยนต์ที่ใช้เพื่อการเช่า หรือใช้เพื่องานรับจ้าง ทั้งรับจ้างรับส่งผู้โดยสาร และรับจ้างอื่นๆ สามารถนำค่าเช่ารถยนต์นี้มาหักเป็นรายจ่ายได้ไม่จำกัดจำนวน

    - ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากเป็นรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน จะถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ไม่สามารถนำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ แต่ถ้าหากเป็นรถยนต์เชิงพาณิชย์ ไม่ถือเป็นภาษีต้องห้าม สามารถนำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้   

    ส่วนค่าใช้จ่ายเครดิตภาษีซื้อ เช่น ค่าน้ำมัน ค่าซ่อมบำรุงดูแลรถ ค่าเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง ค่าเบี้ยประกันภัยรถ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษี ได้เฉพาะกับรถกระบะเชิงพาณิชย์ จักรยานยนต์ หรือรถยนต์ที่นั่งเกิน 10 คนเท่านั้น  ซึ่งต้องนำมาใช้กับรถของกิจการหรือรถที่ได้ทำสัญญาเช่าใช้หรือยินยอมให้ใช้ และบันทึกเลขทะเบียนรถในใบกำกับภาษีด้วย 

    บทสรุป “รายจ่ายรถยนต์” ที่ใช้ในกิจการ แบบไหนหักภาษีได้

    - รถยนต์นั่งไม่เกิน 10 คน เช่น รถเก๋ง หากซื้อเงินสดในนามกิจการ สามารถหักค่าเสื่อมราคาได้ในส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท หากผ่อนชำระสำหรับรถยนต์ราคาไม่เกิน 1 ล้านบาทควรเลือกเช่าซื้อ แต่ถ้ารถยนต์ราคาเกิน 1 ล้านบาทควรเลือกลีสซิ่ง เนื่องจากกรณีเช่าสามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 36,000 บาท/เดือน  

    รถยนต์ที่นั่งเกิน 10 คน เช่น รถกระบะ รถตู้ รถแบคโฮ หากซื้อในนามกิจการ สามารถหักค่าเสื่อมได้เต็มจำนวนตามมูลค่าสินทรัพย์ กรณีเช่าสามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 36,000 บาท/เดือน

    ภาษีซื้อรถ คืออะไร

    เมื่อผู้ประกอบการซื้อรถยนต์มาใช้ในการประกอบกิจการก็จะถูกผู้ขายเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อ) ตามกฎหมายไม่ว่ารถยนต์นั้นจะเป็นรถกระบะราคาไม่แพงมากหรือรถเก๋งราคาแพงหลายล้านบาท และนอกจากนั้น ต่อมามีการจ่ายค่าอะไหล่ ค่าอุปกรณ์ ค่าซ่อมรถยนต์นั้นๆ ผู้ประกอบการก็จะถูกเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อ) เช่นกัน ซึ่ง ...

    ซื้อรถ ต้องเสียภาษีอะไรบ้าง

    1 –(1.1x30%) 3. ภาษีมหาดไทย ชื่อภาษีมีที่มาจากภาษีที่เก็บได้นี้ถูกนำไปบริหารประเทศโดยกระทรวงมหาดไทย ซึ่งภาษีมหาดไทยจะคิดที่อัตรา 10% ของภาษีสรรพสามิต เพื่อส่งให้กระทรวงมหาดไทย 4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ในอัตรา 7% ของราคา CIF + อากรขาเข้า + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีมหาดไทย

    ซื้อรถยื่นภาษีได้ไหม

    - ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากกิจการซื้อรถยนต์ที่นั่งเกิน 10 คน หรือรถกระบะที่เข้าเกณฑ์ จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษีได้(เคลมภาษีซื้อได้) แต่ถ้าไม่เข้าตามเกณฑ์นี้ ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อรถยนต์นั่ง และการเช่า หรือค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ค่ายางรถยนต์ ค่าน้ำมันรถ ค่าอะไหล่ ค่าบำรุงรักษาซ่อมแซม จะถือเป็นภาษี ...

    รถกระบะ ใช้ภาษีซื้อได้ไหม

    รถยนต์กระบะ 4 ประตู (Double Cab) ตามรูปข้างต้น ไม่สามารถนำภาษีซื้อมาใช้เเป็นเครดิตหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ เนื่องจากส่วนท้ายเป็นกระบะมีหลังคา ไม่ได้เปิดโล่งจนถึงท้ายรถ ตามคุณลักษณะของรถยนต์กระบะ 4 ประตู ตามข้อ 2 ของประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และคุณลักษณะของรถยนต์กระบะสี่ประตู ( ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้