เฉลย แบบฝึกหัด สังคม ป.4 พ ว

***สรุปเนื้อหาประจำบทเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4***




  • สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
    • บทที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในชุมชน
    • บทที่ 2 การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
    • บทที่ 3 สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับทางกฎหมาย
    • บทที่ 4 ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
    • บทที่ 5 การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
    • บทที่ 6 อำนาจอธิปไตย และความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย
    • บทที่ 7 บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง
    • บทที่ 8 ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
  • สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
    • บทที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของสาระเศรษฐศาสตร์
    • บทที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภค หรือการเลือกซื้อสินค้า และบริการ
    • บทที่ 3 สิทธิพื้นฐาน และรักษาผลประโยชน์ของตนในฐานะผู้บริโภค
    • บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียง และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
    • บทที่ 5 ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน
    • บทที่ 6 หน้าที่เบื้องต้นของเงิน
  • สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
    • บทที่ 1 ลักษณะทางกายภาพที่สำคัญของจังหวัด
    • บทที่ 3 การใช้แผนที่ เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ในจังหวัด
    • บทที่ 4 สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด
    • บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและผลที่เกิดขึ้นในจังหวัด
    • บทที่ 6 การอนุรักษณ์สิ่งแวดล้อมในจังหวัด




***สรุปเนื้อหา - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4***
  • บทที่ 1 การนับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ
  • บทที่ 2 ยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติ
  • บทที่ 3 ประเภท และหลักานที่ใช้ศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น
  • บทที่ 4 การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์
  • บทที่ 5 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในท้องถิ่น
  • บทที่ 6 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย
  • บทที่ 7 ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย
  • บทที่ 8 ภูมิปัญญาไทยที่สำคัญสมัยสุโขทัย




***รวมแบบทดสอบ แบบฝึกหัด ใบงาน - วิชาสังคมศึกษา ป.4***

  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4(ปลายภาค) - วิชาสังคมศึกษา
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 - วิชาสังคมศึกษา
  • ใบงานทบทวนเนื้อหา - วิชาสังคมศึกษา ป.4(ชุดที่ 1)
  • แบบทดสอบท้ายบทเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 1)
  • แบบทดสอบท้ายบทเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 2)
  • แบบทดสอบท้ายบทเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 3)
  • แบบทดสอบท้ายบทเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 4)
  • แบบทดสอบปลายภาคเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 1)
  • แบบทดสอบปลายภาคเรียน - วิชาสังคมศึกษา ป.4 (ชุดที่ 2)



    เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้

    ตั้งค่าคุกกี้ ยอมรับทั้งหมด

    ชื่อหนังสือ : คู่มือครู แบบฝึกหัด สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.4
    ชื่อผู้แต่ง :
    สำนักพิมพ์ : บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด
    ขนาดรูปเล่ม :
    จำนวนหน้า :              หน้า
    ราคา/ชุด :    –   บาท
    รหัสสินค้า : 978-616-05-4182-9

    จุดเด่น/เนื้อหา
    1. เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักการ Brain-based Learning (BBL)
    2. เสริมสร้างกระบวนการคิดและทักษะทางคณิตศาสตร์ผ่านกิจกรรมคณิตคิดสนุก
    3. เฉลยคำตอบละเอียดทุกข้อ ตรงกับแบบฝึกหัดหน้าต่อหน้า
    4. แสดงตัวชี้วัดชัดเจนทุกแบบฝึกหัด ครบถ้วนตามหลักสูตร
    5. แสดงหลักการ วิธีคิด เหตุผล ในการวิเคราะห์ข้อสอบ ชัดเจนทุกข้อ
    6. มีแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใช้เกณฑ์การประเมินผลตามหลักสูตร

    ตอนท่ี ๒ วชิ าประวตั ศิ าสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๓๙ ตอนที่ ๒ วิชาประวตั ศิ าสตร์

    ๘๔๐ คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) คำช้ีแจง รายวิชาประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑. แนวคดิ หลัก หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดสาระการเรยี นรู้ จำนวน ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนำความรู้ด้านเน้ือหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ ดงั น้ี สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สารเป็นความสามารถในการรับสารและสอื่ สารมวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ ใช้ในการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเอง สังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนำ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขดั แยง้ ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือ การพัฒนาตนเอง สงั คมในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ดงั นี้ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒) ซื่อสัตย์ สจุ รติ ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรยี นรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพยี ง ๖) มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

    คำชี้แจง รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๔๑ ๗) รักความเป็นไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มคี วามเชือ่ ม สมั พันธก์ ัน และมคี วามแตกต่างอยา่ งหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรบั ตนเองกบั บริบทสภาพแวดลอ้ ม เป็น พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม เป็นวชิ าที่ประกอบด้วยหลาย แขนงสาระ ทำให้มีลักษณะเป็นสหวทิ ยาการ เป็นการนำวิชาตา่ ง ๆ ในสาขาวิชาสงั คมศาสตรเ์ ขา้ ดว้ ยกัน ได้แก่ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมประกอบดว้ ย ๒ รายวิชา คอื วชิ าสงั คมศกึ ษาและวิชาประวตั ศิ าสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ เป็นส่วนหน่ึงในกลุ่มสหวิทยาการของสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ ร่วมกันในสังคม เข้าใจการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามยุคตามสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจ ในตนเองและผู้อืน่ มีความรักภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีความอดทน อดกลัน้ ยอมรับในความแตกตา่ งและมี คุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก ให้เพื่อ เกิดค่านิยมที่เหมาะสม มุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามด้านความรู้ โดยการให้ความรู้แก่ผู้เรียนด้าน เนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอด และหลักการสำคัญ วิชาประวัติศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการเป็น พลเมืองของประเทศ เพ่ือเสริมสร้างสำนึกความเป็นไทยและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนการอนุรักษ์สืบสาน ศิลปวัฒนธรรมของคนในชาติให้คงอยู่สืบไป จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องปลุกจิตสำนึกให้เยาวชนชาติไทยมีความ เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญ ความเป็นมา ซึ่งนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดยเรียนรู้จากการนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะในก ารใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ใน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหาในการตัดสินใจบนพ้ืนฐานเหตุผลอย่างมีหลักการ เช่น การใช้ ประเด็นใกล้ตัวผู้เรียนได้เรียนรู้ และเข้าใจเรื่องใกล้ตัวของผู้เรียนในการสืบค้นชุมชนท้องถ่ินท่ีตนอาศัยอยู่ เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีจติ สำนกึ ในความรกั ความภาคภมู ิใจในถิน่ ฐานของตน หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการด้านคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่คำนึงถึง คณุ ลักษณะที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะการพัฒนาค่านิยมและเจตคติท่ีดีในการประพฤตปิ ฏิบัติตน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมหลังการเรียนรู้ สอดคล้องตามเป้าหมายของหน่วย การเรียนรู้ มีเจตคติท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเปน็ คนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิดสำคญั ของการจัดการศกึ ษา ที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี ปิดโอกาส ให้ผู้เรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตาม

    ๘๔๒ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) ศักยภาพ การประเมินการเรยี นรู้จึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างย่ิง ตอ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในห้องเรยี น เพราะสามารถทำใหผ้ ู้สอนประเมินระดบั พัฒนาการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ ให้ความสำคัญของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ของระดบั การศึกษา ได้ระบุให้ผทู้ ่เี กยี่ วขอ้ งดำเนนิ การ ดงั นี้ ๑) สถานศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนดั ของผู้เรยี น โดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝร่ ู้อย่างต่อเน่อื ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลกู ฝงั คณุ ธรรม ค่านิยมทีด่ ีงาม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ไว้ในทกุ วิชา (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอำนวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียน การสอน และแหล่ง วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกดิ ข้ึนได้ทกุ เวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรว่ มมือกับพ่อแม่ ผปู้ กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพอ่ื รว่ มกันพัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมการเรยี นรู้ (๑) จัดสภาพแวดลอ้ ม ห้องเรียน หรอื ภายนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อการเรยี นรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายต่อการนำมาใช้ มีป้ายนิเทศให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มรื่น และเหมาะกับกิจกรรม การเรียนรู้ ถกู สขุ ลกั ษณะ และปลอดภัย (๒) จัดสภาพแวดล้อม หรือหอ้ งใหผ้ ู้เรยี นได้ฝึกปฏิบตั ิการ (๓) จดั สอ่ื อุปกรณ์ ทเ่ี กี่ยวกบั การเรียนรอู้ ยา่ งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารทที่ นั สมัยปัจจุบันอยูเ่ สมอ

    คำช้แี จง รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๔๓ ๓) ครูผสู้ อน การจดั การเรียนรตู้ ามแนวดังกล่าว จำเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของผูเ้ รียน และผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัด กิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นที่บทบาทของผู้เรียนต้ังแต่เริ่ม คือ ร่วมวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และต้องคำนึงว่ากิจกรรมการเรียนนั้น เน้นการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมลู ดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรหู้ ลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน การสร้างคำอธิบายเก่ียวกับข้อมูลท่ีสืบค้นได้ เพ่ือ นำไปสู่คำตอบของปัญหาหรือคำถามต่าง ๆ และสร้างองค์ความรู้ ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้ต้องพัฒนา ผ้เู รียนใหม้ ีพฒั นาการเหมาะสมตามวัย ทงั้ ทางรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา เปา้ หมายของการจดั การเรียนรูป้ ระวัติศาสตร์ ๑. เพอื่ ให้ผ้เู รยี นรจู้ ักคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ รู้จกั ใช้เหตุผลในการวเิ คราะหแ์ ละตัดสนิ ใจ ๒. เพื่อจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความคิดโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจอย่าง คนคดิ เป็น มคี วามรู้ และมีทกั ษะในการใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์เพื่อใหเ้ ขา้ ถงึ ความจริง ๓. เพื่อให้เข้าใจถึงความเป็นเหตุเป็นผลในสังคมมนุษย์ว่าเหตุการณ์ในอดีตย่อมมีอิทธิพลต่อ ภาวะความเปน็ อยขู่ องสงั คมในปัจจบุ นั และสิง่ ทีเ่ ปน็ อย่ใู นปจั จุบันก็มีอทิ ธิพลต่ออนาคต ๔. ชว่ ยให้ผู้เรยี นเข้าใจความเปน็ มาของชาติบ้านเมอื ง เห็นความเสียสละ ความมานะบากบั่น ความพยายาม และความสามารถ อันก่อใหเ้ กิดความรู้สกึ รักชาตบิ า้ นเมืองของตนเอง ๕. ช่วยให้ผู้เรียนมีความคุ้นเคยกับส่ิงที่เป็นความรู้ทางประวัติศาสตร์ และเกิดความ สนุกสนานสนใจในการสืบค้นเร่ืองราวในอดีต การจัดกระบวนการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตรจ์ ะชว่ ยให้ผู้เรียนไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ รวมท้ังได้ฝึกฝนทักษะการคิดและพัฒนาเจตคติท่ีถูกต้องโดยการเชื่อมโยงเร่ืองราวทาง ประวัติศาสตร์กับการคิดวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นข้อมูลที่เป็นจริงในอดีต คิดวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และคิดตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ จากการโยงเข้าหากับปัญหาในปัจจุบัน ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้ความสำคัญกับการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ประวัติความเป็นมา ในท้องถิ่น เพื่อให้นักเรียนเป็นส่วนหน่ึงของเร่ืองราวซ่ึงจะสร้างแรงบันดาลใจและความเข้าใจให้กับผู้เรียน ได้มากยิ่งข้ึน ครูผู้สอนสามารถนำมาจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์มีหลากหลายวิธีท่ีน่าสนใจ เช่น การจัดค่ายประวัติศาสตร์ โครงงานประวัติศาสตร์ การทัศน ศกึ ษา การแสดงบทบาทสมมุติ การเรียนรู้วิชาประวัตศิ าสตร์ทแ่ี ทจ้ รงิ และมปี ระสทิ ธิภาพ คือ การปลูกฝังความรู้ ความเข้าใจ และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสและลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างหลากหลาย เป็นการเรียนรู้ที่มีกระบวนการเพราะ การเรียนจะเริ่มต้นต้ังแต่การวางแผนการเรียน การดำเนินการตามแผนท่ีกำหนด การนำข้อมูลมาวิเคราะห์ การสรปุ และการเรียบเรียงโดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ ซึ่งผู้เรียนจะต้องลงมือสังเกต ปฏิบตั ิ ศึกษา ค้นคว้า และถกเถียงในสิ่งท่ีพบเห็น ท้ังน้ีครูต้องดำเนินการจัดกิจกรรมในลักษณะท่ีผู้เรียนสามารถทำได้ในระบบกลุ่ม

    ๘๔๔ ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) หรือรายบุคคล ส่งเสริมการปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลาเรียน ซึ่งจะทำให้เกิดความหลากหลายในกระบวนการ เรียนรู้ และเกิดความรู้ใหม่ท่ีได้จากประสบการณ์ตรง เป็นความรู้ท่ีทันสมัยและใกล้ตัวซ่ึงสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตจริง เพ่ือสร้างสำนึกความเป็นไทยและรักมาตุภูมิถิ่นฐานของตนเอง ตลอดจนการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของ ประเทศ การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วชิ าประวัติศาสตร์จะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติเพื่อใช้ในการปลูกฝังและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดังน้ัน การจัดการเรียนรู้ต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายอันเป็นพ้ืนฐานของ การเสรมิ สร้างความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และปลกู ฝงั เจตคตทิ ่ดี ใี นสังคมอยา่ งมีคณุ ภาพ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานที่ การเรียนรู้จาก ห้องสมดุ แหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน งานวเิ คราะหจ์ ากการศึกษาภาคสนาม พเิ คราะห์ แหล่งข้อมูล การสอนแบบให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยอิสระจากศูนย์การเรียนรู้และการเรียนรู้ตามความสนใจ การสอนวิชาประวัติศาสตร์ไม่ควรจำเจอย่ใู นหอ้ งเรยี นอยา่ งเดียว การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ได้แก่ เกม การศึกษาสถานการณ์จำลอง กรณีตัวอย่าง บทบาท สมมุติ โครงงาน การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภิปรายกลุ่มย่อย การแก้ปัญหา กลมุ่ สืบคน้ ความรู้ กลุม่ สัมพันธ์ การเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การแก้สถานการณ์ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบ ยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใช้ทักษะกระบวนการ การสอนโดยกระบวนการวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ การสอนโดยใช้วิธีการต้ังประเด็นคำถามผู้เรียน การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอนกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐ มิติ การคิด เปรียบเทียบ การคิดสังเคราะห์ การคิดประยุกต์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การคิดกลยุทธ์ การคิด บูรณาการ การคิดมโนทศั น์ การคิดอนาคต การคดิ วิพากษ์ การเรียนรู้ผ่านส่ือเทคโนโลยี ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป ชุดการสอน ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการ สอนสำหรับการเรียนเป็นกลุ่มย่อย ชุดการสอนประกอบคำบรรยายของครู คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการ นำเสนอโดยวีดิทัศน์ นอกจากน้ัน ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหวา่ งครกู ับผู้เรยี น ผู้เรียนกับผเู้ รยี น ครตู ้องลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ช้แี นะ กระตุน้ ให้ ผ้เู รียนกระตอื รือร้นท่ีจะเรียนรู้ และปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ มากข้ึนและอย่างหลากหลาย ดงั น้ี ๑) ควรให้นักเรยี นทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ตลอดเวลาดว้ ย การกระต้นุ ให้นักเรียนลงมือ ปฏบิ ัตแิ ละอภิปรายผล เชน่ แบ่งกลุ่มให้อภิปราย แสดงบทบาทสมมตุ ิ จัดนิทรรศการด้วยตนเอง โดยใช้เทคนิค ต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนำเข้าสู่บทเรียน การใช้คำถาม การเสริมพลังมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ท่ีจะทำให้ การเรียนการสอนน่าสนใจและมชี ีวติ ชีวา

    คำชี้แจง รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๔๕ ๒) ครูควรมีการวางแผนการใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนและลง ข้อสรุปได้โดยที่ไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คำถามท่ีมีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถของ นักเรยี น ๓) เม่ือนักเรียนถาม อย่าบอกคำตอบทันที ควรให้คำแนะนำท่ีจะช่วยให้นักเรียนหาคำตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจต่อคำถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคำถามนั้นอาจจะไม่เก่ียวกับเร่ืองที่กำลังเรียนอยู่ ก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงใหท้ ราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลบั มาสู่เรอื่ งท่ีกำลังอภิปรายอยู่ สำหรบั ปัญหา ทีน่ กั เรยี นถามมานนั้ ควรจะไดห้ ยบิ ยกมาอภิปรายในภายหลัง ๔) การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นส่ิงจำเป็นเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังน้ัน ในการจัดการเรียนรู้ ครคู วรยำ้ ใหน้ กั เรียนได้สำรวจตรวจสอบซ้ำเพือ่ นำไปสขู่ ้อสรุปที่ถกู ต้องและเชือ่ ถอื ได้ ครูควรเลือกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงหรือกำลังเกิดข้ึนกับสังคมมาเป็นตัวอย่างในการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ นักเรียนจะได้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงเหตุการณ์ของคนท่ัวไปมาเกริ่นนำเพื่อโยงสัมพันธ์กับเร่ืองที่ สอน หรือนำเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นมาอภิปราย ร่วมกันกำหนดหัวข้อให้ครอบคลุมเรื่องท่ีสอน นักเรียนได้ปฏิบัติ จริงหรือสรา้ งสถานการณจ์ ำลองใหท้ ดลองปฏิบัติ ๓. สื่อการจดั การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้ ส่ือการจัดการเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้รับ ความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาส้ันและช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็ว สอื่ ทปี่ รากฏในแผนการจัดการเรยี นรู้มีดังนี้ ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนำเสนอขอ้ มูล ๒) บตั รภาพ ๓) เกม/เพลง/นทิ าน ๔) คลปิ /วีดทิ ัศน/์ ภาพข่าวสถานการณป์ ัจจบุ นั ๕) สถานการณ์สมมตุ ิ ๖) สื่อบคุ คล แหลง่ เรียนรู้ เป็นเครอื่ งมือสรา้ งคุณลักษณะการใฝเ่ รียนรทู้ ท่ี ุกคนต้องใฝร่ ู้ตลอดชีวิต ดังนี้ ๑) แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง หอ้ งสมดุ ประชาชน หอ้ งสมดุ แหง่ ชาติ สถานท่ีสำคญั ทางประวัติศาสตร์ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสำคัญและเป็นหัวใจสำคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียน ควรจัดห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคล่ือนท่ี รถเคล่ือนที่ ห้องสมุด ประชาชนล้วนเป็นแหล่งเรียนรู้จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการส่งเสริมนิสัยรัก การอ่าน

    ๘๔๖ คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ๓) แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์ - สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน - สำนกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์สำคัญของการประเมินการเรียนรู้คือการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ที่ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาที่พบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจำนวนมาก ยังให้ความสำคัญการเรียนรู้แบบท่องจำเพื่อสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผิน มากกว่า การประเมินการเรยี นรรู้ ะหว่างเรียนการเรียนร้เู พือ่ พัฒนาตนเองซง่ึ ผลลัพธข์ องการเรยี นรูจ้ ะย่ังยืนกวา่ (กุศลนิ มุสิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ดิ์, เพ็ญจนั ทร์ และวรรณทพิ า รอดแรงค้า, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนน้ันจำเป็นต้องมีการประเมินการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เร่ิมต้นระหว่างและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบที่ หลากหลายสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ รูปแบบการประเมินการเรียนรู้ ได้แก่ การประเมิน การเรียนรู้ระหว่างเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้และการประเมินตามสภาพจรงิ น้ัน ผู้สอนจำเป็นต้องสะท้อนการประเมิน ให้ผู้เรียนรับทราบ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอนต้องนำผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรู้เพ่ือให้สามารถดำเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิด การเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดต้ ามแตล่ ะจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้หรือเป้าหมายของตวั ชีว้ ดั ต่าง ๆ (กศุ ลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐาน ๒ ประการ คือ การประเมิน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบ ความสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินการเรียนรู้ในทุกระดับ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสำคัญของการประเมิน พฤติกรรมการปฏิบัติ ดังนี้ ๑) วิธกี ารประเมนิ (๑) การวัดและประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรยี นรู้ขั้นนำ)

    คำชี้แจง รายวิชาประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๔๗ (๒) การวัดและประเมนิ ระหว่างเรยี น ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดย วิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนำเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรมการ เรียนรขู้ ้นั สอน) จดุ มุ่งหมายของการประเมินระหวา่ งเรยี น มดี งั น้ี (๒.๑) เพ่ือค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา มีทักษะความชำนาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัด กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้อย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นได้อยา่ งเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ป้อนกลบั ใหก้ ับผู้เรยี นวา่ มีผลการเรยี นร้อู ยา่ งไร (๒.๓) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้าน การเรียนร้ขู องผู้เรยี นแตล่ ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสำเร็จตามจุดประสงค์รายแผน เป็น การพัฒนาในจุดท่ีผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และ เพื่อตัดสินผล การจดั การเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผเู้ รียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทน้ี ใช้ประกอบการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือตัดสินใจว่าผู้เรียนคนใดควรจะได้รับระดับคะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเมื่อสิ้นสุดหน่วยการเรียนรู้ ดำเนนิ การ ดงั น้ี การประเมินโดยครูผู้สอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการ เรียนรู้ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ หรือไม่ เช่น การทำโครงงาน การนำความรู้ ไปใชเ้ พอ่ื พัฒนาสังคมในรูปแบบตา่ ง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยการทำแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดส่ิงท่ีเรียนรู้ทั้งที่ทำได้ดีและยังต้อง พัฒนา (ตัวอย่างแบบบันทึกการเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการ เรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้รวมในช่วงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครู สามารถเลือกใช้ชุดคำถามและจำนวนข้อให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ช่วงเวลาและธรรมชาติของแต่ละ วิชา ทั้งน้ีในคร้ังแรกครูควรทำร่วมกับนักเรียนเพ่ือแนะนำวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านส่ิงที่ นักเรียนบันทึกพร้อมให้ข้อมูลย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลใน แบบบนั ทกึ เพื่อพฒั นาการสอนของตวั เองและชว่ ยเหลือนกั เรยี นเป็นรายบคุ คลต่อไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพ่ือนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และ ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ๕. คำแนะนำบทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรียนรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกำกับดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุก ขนั้ ตอนการสอน ดังน้ี ๑) ขน้ั เตรียมตวั ก่อนสอน

    ๘๔๘ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) (๑) ศึกษาทำความเขา้ ใจคำชีแ้ จงและทำความเขา้ ใจเชื่อมโยง ทั้งเป้าหมาย กจิ กรรม และ การวดั ผลและประเมนิ ผลระหวา่ งหนว่ ยการเรียนรู้กบั แผนการจัดการเรยี นรู้รายชัว่ โมง (๒) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ที่เชื่อถือได้ รวมท้ังเทคนคิ การจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาความสามารถของผ้เู รยี นอย่างรอบดา้ น (๓) ปรับ/ประยุกต์หรือเพ่ิมเป้าหมาย ท้ังเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีเป็นจุดเน้น และที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศกั ยภาพของผู้เรยี น และตามสภาพจริง (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัปโหลดล่วงหน้าเพื่อทำความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อต่าง ๆ ท่ีครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ทั้งด้านวิธีการ ส่ือที่ใช้ และช่วงเวลาของการทำแต่ละกิจกรรมเพื่อนำมาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ชว่ ยเหลือ ส่งเสริม/ อำนวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและเตม็ ตามศกั ยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ท่ีคัดเลือกสำหรับมอบหมายให้นักเรียนได้ทำตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทงั้ การเตรยี มอุปกรณต์ ามระบใุ นแผนฯ และ/หรอื ที่ปรากฏในคลิป (ในกรณีมีการปรับเปลีย่ นเพมิ่ เตมิ ) (๖) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกำหนดการสอนท่ีมี รายละเอียดของสือ่ การสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเว็บไซต์ www.dltv.ac.th ๒) ขัน้ การจดั การเรยี นรู้ (๑) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทำกิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคำถามของครูต้นทาง ฟังเฉลย และช่วยเสริม/อธิบาย/ในสิ่งที่นักเรียนยังไม่เข้าใจ ชมเชย/ให้กำลังใจหาก นกั เรยี นทำได้ดี (๒) ให้ความชว่ ยเหลอื นักเรียนที่ตามไม่ทัน เชน่ อธบิ ายเพ่ิมเตมิ เพ่ือใหน้ กั เรยี นสามารถเรียนรู้ ตอ่ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ (๓) กำกับดูแลให้มีวินัยในการเรียน เช่น ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคำส่ังในการทำ กิจกรรม ฯลฯ (๔) อำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เชน่ จัดเตรยี มสือ่ การเรียนรู้/อปุ กรณ์ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เช่น คุณลักษณะผู้เรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนำไว้ใน แผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนำข้อมูลไปพัฒนานักเรียนและให้ความช่วยเหลือนักเรียนทั้งช้ัน/กลุ่ม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ข้ันการปฏิบตั ิ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทำกิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนำ และตามข้อแนะนำการปฏิบัติที่ ระบใุ น PowerPoint ตรวจสอบความเข้าใจ และเตรียมนักเรยี นกอ่ นทำกิจกรรม (การแบ่งกลุ่ม ฯลฯ) (๒) กำกับใหก้ ารทำกจิ กรรมเป็นไปตามลำดบั เวลาตามแนวทางทร่ี ะบบุ น PowerPoint

    คำชีแ้ จง รายวชิ าประวัติศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๔๙ (๓) ใหค้ วามช่วยเหลือนักเรียนในระหว่างการทำกิจกรรม (๔) เตรียมพร้อมนักเรียนสำหรับกิจกรรมในขั้นตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผล ปฏบิ ัติงานเพ่อื เทียบเคยี งกับผลงานทนี่ กั เรียนต้นทางจะนำเสนอ เป็นต้น ๔) ขนั้ สรปุ (๑) กำกับนักเรยี นให้มสี ว่ นร่วมในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทำกจิ กรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสำคัญท่ีมีการสรุปท้ายช่ัวโมง และงาน/ใบงานท่ีครูต้นทางมอบหมายให้ ทำเปน็ การบา้ น/หรอื ใบงานทค่ี รปู ลายทางได้เลือกมาใช้กบั ชัน้ เรยี นของตน (๓) จัดให้นักเรียนได้ทำแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลังจบแตล่ ะหน่วยการเรยี นร้แู ละคร่งึ /ปลายภาคเรียน) ๕) การบนั ทึกผลหลังสอน (๑) บันทึกการจดั การเรียนรขู้ องตนเอง โดยใช้ข้อมลู จากแบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียนระหวา่ ง เรียน และแบบประเมนิ ตนเอง บันทึกการเรียนร้ขู องนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์เทคนิคหรือวธิ ีการใด ที่ทำให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม มคี วามรู้ มที ักษะ และคุณลกั ษณะตามจุดประสงค์ (๒) บันทึกสาเหตุของความสำเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจำกัดท่ีเกิดข้ึน เช่น เทคนิค หรือ วิธีการใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ท่ีทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คำถามท่ีให้ไว้ใน “คำถามบันทึกผลหลังสอนสำหรับ ครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เป็นแนวทางในการย้อนคิด ไตร่ตรองสิง่ ท่ีเกิดข้ึนและนำไปบันทึกผลหลังสอน ของช่วั โมงนัน้ ๆ (๓) วิเคราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปัญหา/ความสำเร็จที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทางการ ปรับปรุง เพ่ือนำมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในคร้ังต่อไป รวมท้งั นำไปใชเ้ ป็นขอ้ มูลเพอื่ พัฒนาเปน็ งานวิจยั ในช้ันเรียนตอ่ ไป

    ๘๕๐ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๒ วิชาประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ของ มนุษยชาติประเภทหลักฐานท่ีใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น การต้ังหลักแหล่งและพัฒนาการของ มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์ ตัวอยา่ งหลักฐานทางท่ีพบในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของ มนุษยชาติพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย ภูมิปัญญาไทยท่ี สำคญั สมยั สุโขทัยทน่ี ่าภาคภูมิใจและคู่ควรแก่การอนุรกั ษ์ โดยการอธิบาย บอก เปรียบเทียบ วิเคราะห์แสดง ฝึกปฏิบัติใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ แกป้ ญั หาการคดิ ทกั ษะการนำไปใช้อภิปราย ศึกษาค้นคว้าโดยใชว้ ิธีการทางประวตั ิศาสตร์ สรุปขอ้ มูล เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ทักษะกระบวนการ สมรรถนะท่ีสำคัญ และเกิดการตระหนัก เห็นคุณค่า มี ศรัทธา รักชาติศาสน์กษัตริย์ รกั ความเปน็ ไทย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ มีวินยั รหสั ตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ รวมทั้งหมด ๘ ตัวชี้วดั

    มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด รายวชิ าประวัติศาสตร์ รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รวมเวลา ๒๐ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใชว้ ิธีการ ทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชีว้ ดั ป.๔/๑ นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ป.๔/๒ อธบิ ายยุคสมัยในการศึกษาประวตั ิของมนุษย์ชาติโดยสงั เขป ป.๔/๓ แยกแยะประเภทหลกั ฐานท่ใี ช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ในด้านความสมั พันธ์และการ เปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสำคญั และสามารถวเิ คราะห์ ผลกระทบท่ีเกิดขึน้ ตวั ชวี้ ัด ป.๔/๑ อธบิ ายการต้งั หลกั แหล่งและพฒั นาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์และยคุ ประวตั ศิ าสตร์ โดยสังเขป ป.๔/๒ ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีพบในทอ้ งถนิ่ ทแ่ี สดงพัฒนาการของมนุษยชาติใน ดนิ แดนไทย

    ๘๕๒ คูม่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) โครงสร้างรายวิชาประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ รายวิชาประวัติศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ รวมเวลา ๑๘ ช่ัวโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั การเรียนรู้ เรียนร้/ู ตัวชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ยอ้ นรอย ส.๔.๑ : ป.๔/๑ การนบั และเทียบศักราช การนบั ๘ ๒๒ ไทย ป.๔/๒ ช่วงเวลาโดยใช้ ทศวรรษ ศตวรรษ และ ป.๔/๓ สหัสวรรษ เปน็ การนบั ชว่ งเวลาโดยแบง่ เปน็ ๑๐ ปี, ๑๐๐ ป,ี ๑,๐๐๐ ปี เพื่อให้เกิดความ สะดวกในการนบั ชว่ งเวลา สามารถนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั และบันทึกข้อมูลโดยใช้ วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ หาข้อมลู จาก หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่ยงั หลงเหลืออยู่ ในท้องถิน่ มเี กณฑ์การแบ่งยุคสมยั ทาง ประวตั ศิ าสตร์ ท้งั สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ และสมยั ประวตั ิศาสตร์ ๒ ภูมิใจใน ส.๔.๒ : ป.๔/๑ การต้ังถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของ ๑๐ ๒๘ ท้องถน่ิ ป.๔/๒ มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในยุคแรกจะมี ชีวิตแบบเร่ร่อน เคล่ือนย้ายท่ีอยู่ไปตามแหล่ง อาหาร อาศัยอยู่ตามถ้ำเพิงผา หลักฐานที่พบ ในยุคน้ีจะเป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีทำจากหิน ต่อมาพัฒนาเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ที่ทำจาก โลหะ โดยพบร่องรอยการตั้งถ่ินฐานได้ทั่วทุก ภาคของประเทศไทย ส่วนการต้ังถิ่นฐานของ มนุษย์ในสมัยประวัติศาสตร์ เร่ิมอยู่รวมกัน เป็นชุมนุม พัฒนาจากชุมนุมเป็นเมือง แคว้น และอาณาจักรของไทย ในเวลาต่อมาซ่ึงมี ความเจริญก้าวหน้าเป็นรากฐานของวัฒนธรรม ไทย รวมตลอดภาคเรียน ๑๘ ๕๐

    หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๕๓ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ยอ้ นรอยไทย

    ๘๕๔ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ย้อนรอยไทย รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๘ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชวี้ ดั ป.๔/๑ นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ป.๔/๒ อธิบายยคุ สมยั ในการศึกษาประวัตขิ องมนุษยช์ าตโิ ดยสงั เขป ป.๔/๓ แยกแยะประเภทหลักฐานท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาความเปน็ มาของทอ้ งถนิ่ ๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การนับและเทียบศักราช การนับช่วงเวลาโดยใช้ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เป็นการนับ ช่วงเวลาโดยแบ่งเปน็ ๑๐ ปี, ๑๐๐ ปี, ๑,๐๐๐ ปี เพื่อให้เกิดความสะดวกในการนับช่วงเวลา สามารถนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั และบันทกึ ข้อมลู โดยใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ หาข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ี ยังหลงเหลืออยู่ในท้องถิ่น มีเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ทั้งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัย ประวัติศาสตร์ ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. ความหมายและการใช้ชว่ งเวลา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๒. การแบ่งยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ของในอดีตและปจั จุบัน ๓. แหลง่ ขอ้ มูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ทักษะ/กระบวนการ ๑. นำความรู้เรื่องการนับชว่ งเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษเพือ่ ทำความเขา้ ใจ เอกสาร สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ๓. การสืบค้นขอ้ มูลโดยใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์

    หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๘๕๕ เจตคติ ๑. เห็นความสำคัญของการนับชว่ งเวลาและเทียบเวลา ศักราช ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ ๒. เห็นความสำคัญของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ โดยใชห้ ลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์และ การสบื ค้นการดำรงชีวิตของคนในอดีตและปัจจบุ ันไดอ้ ย่างถกู ต้องและมเี หตผุ ล ๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. มวี ินัย ๓. ใฝเ่ รียนรู้ ๔. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. รักความเปน็ ไทย ๖. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง การนบั และการเทียบศักราช ๒. ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๓. ใบงานที่ ๓ เรอ่ื ง การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ ๔. ใบงานท่ี ๔ เรื่อง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ไทย ๕. ใบงานท่ี ๕ เรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ๖. ใบงานท่ี ๖ เรื่อง ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ๗. ใบงานที่ ๗ เรอื่ ง หลักฐานทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาความเปน็ มาของท้องถิ่น ๘. ใบงานท่ี ๘ เรื่อง การสืบค้นเร่ืองราวในท้องถิ่นโดยใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์

    ๘๕๖ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑ์การประเมนิ ผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. การบรรยาย บรรยายเกย่ี วกบั บรรยายเกย่ี วกับ บรรยายเกย่ี วกับ บรรยายเกยี่ วกบั จุดประสงค์ จุดประสงค์ใน จดุ ประสงค์ใน จุดประสงคใ์ น จดุ ประสงค์ใน การสร้างสรรคผ์ ลงาน การสรา้ งสรรค์ผลงาน การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรค์ผลงาน ได้ถูกต้องชดั เจน ไดถ้ กู ตอ้ งเปน็ สว่ น ผลงานได้ถกู ต้อง ไดถ้ กู ต้องเพียงส่วน ใหญ่ เปน็ บางส่วน น้อย ๒. ความครอบคลุม การนำเสนอเป็นไป การนำเสนอเปน็ ไป การนำเสนอเปน็ ไป การนำเสนอเปน็ ไป ของเน้ือหา ตามลำดับข้นั ตอน ตามลำดับขน้ั ตอน ตามลำดับข้นั ตอน ตามลำดับข้ันตอน ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ เนอ้ื หา ร้อยละ ๑๐๐ เนอ้ื หา ร้อยละ ๘๐ เนื้อหา ร้อยละ ๗๐ เน้ือหา ร้อยละ ๕๐ ๓. ความสวยงาม ใชเ้ ครอ่ื งหมาย ใชเ้ ครอ่ื งหมาย ใช้เคร่ืองหมาย ใช้เคร่อื งหมาย การตกแต่งช้ินงาน รปู ภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ รูปภาพ สมการ สัญลกั ษณแ์ ทนกฎ สัญลกั ษณ์แทนกฎ สัญลกั ษณแ์ ทนกฎ สญั ลกั ษณแ์ ทนกฎ ทฤษฎี หลักการ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลักการ นิยามต่าง ๆ ได้ นยิ ามต่าง ๆ ได้ นยิ ามตา่ ง ๆ ได้ นิยามตา่ ง ๆ ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้อง ถูกต้อง ๔. ความถูกต้อง ใชส้ ที ี่ชว่ ยจดจำ เพลิน ใชส้ ีท่ชี ่วยจดจำ ใชส้ ที ่ีชว่ ยจดจำ ไมใ่ ช้สีทีช่ ว่ ยจดจำ ตาสเี ดียวตลอด แตล่ ะ เพลนิ ตา สีเดียว เพลนิ ตา สเี ดียวตลอด เพลินตา สเี ดยี ว สีไม่ซ้ำกัน ตลอด แตล่ ะสซี ้ำกัน แตล่ ะสีซำ้ กนั ตลอด ๕. ความตรงตอ่ สง่ งานครบถว้ นตรง ส่งงานครบถว้ นตรง สง่ งานครบถว้ นตรง สง่ งานครบถว้ นแต่ เวลา ตามเวลาทก่ี ำหนด ตามเวลาทกี่ ำหนด ตามเวลาที่กำหนด ช้ากว่ากำหนด ๕ วัน ๑-๒ วัน ๓-๔ วนั ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน ๑๖–๒๐ หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๑๒–๑๕ หมายถงึ ดี คะแนน ๑๐–๑๑ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๐–๙ หมายถึง ปรบั ปรุง เกณฑ์การผา่ น ตัง้ แต่ระดบั ๑๐ คะแนน ขึ้นไป

    หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๘๕๗ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง การนับและการเทียบศกั ราช หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ตัวช้วี ดั ส ๔/๑ ป.๔/๑ นับช่วง เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การนบั และเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทยทำใหส้ ามารถศกึ ษาและเรยี งลำดับเหตุการณต์ ่าง ๆ ใน ประวตั ศิ าสตร์ได้ รวมท้งั มีความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงจากอดตี สู่ปจั จุบันและคาดการณ์ในอนาคตเข้าด้วยกนั ได้ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - บอกวิธกี ารนับและเทยี บศักราชได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - คดิ เทียบศักราชได้ถูกตอ้ ง ๓.๓ ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - เห็นความสำคญั ของการนับและการเทียบศักราช ๔. สาระการเรยี นรู้ การนับและการเทยี บศกั ราช ๕. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการคดิ ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มีวินยั ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมัน่ ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้

    ๘๕๘ คูม่ อื ครแู ละแ การจดั กิจกรรมการเรยี น แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่อื รายวิชาประวัติศาสตร ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจัด เวลา ๑. การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กจิ กรรม ขั้นนำ ๑๐ ๑. ครูตัง้ ประเด็น นาที เกยี่ วกับวัน เดอื น ศักราชเพื่อกระต เดิมของนกั เรียน นกั เรยี นดูภาพปฏ ภาพ “การดับขนั ปรนิ ิพพานของ พระพทุ ธเจา้ ” แล “การประสตู ิของ ๒. ครตู ัง้ คำถามใ ร่วมกนั ตอบ ๑) ปฏทิ นิ บอกข อะไรให้กับนักเรีย

    แผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) นรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ อง การนบั และการเทยี บศกั ราช การเรียนรู้ ร์ จำนวน ๑ ช่วั โมง - Power Point - คำถาม - การประเมิน แนวการจดั การเรียนรู้ - แบบสงั เกต คำตอบ มครู กิจกรรมนกั เรยี น พฤติกรรม - การสงั เกต นคำถาม ๑. นกั เรยี นดูภาพจาก น ปี และ Power Point ตุ้นความรู้ - ปฏิทิน โดยครูให้ - การดบั ขนั ธป์ รินิพพาน ฏทิ นิ และ ของพระพทุ ธเจ้า นธ์ - การประสตู ิของพระเยซู ละภาพ งพระเยซู” ให้นักเรยี น ๒. นักเรียนตอบคำถาม (แนวคำตอบ) ข้อมลู ๑) ปฏิทนิ บอกข้อมลู วนั ยนบา้ ง เดือน ปี วันสำคญั ขา้ งขึ้น ข้างแรม เป็นตน้

    หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรม การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ ๒) การเรมิ่ นบั ป ของ พ.ศ., ค.ศ. ม แตกต่างกันอย่าง ๒. ๑. บอกวธิ กี าร ข้ันสอน ๑๕ ๑. ครใู หน้ กั เรียน นบั และเทยี บ นาที Point เรอ่ื งการน ศกั ราชได้ เทยี บศกั ราช (พ. จ.ศ. ม.ศ. ร.ศ. ฮ ๒. ครแู ละนักเรีย อภิปรายหลักการ การเทยี บศักราช ค.ศ. จ.ศ ม.ศ ร.ศ ฮ.ศ. โดยมีหลกั ก ดงั น้ี

    ๘๕๙ แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ มครู กิจกรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ปศี ักราช ๒) พทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) เรม่ิ - Power Point มีความ นบั พ.ศ. ๑ ได้น้ันจะต้องนับ เรอื่ ง การนับ - การสงั เกต งไร หลงั จากทพ่ี ระพทุ ธเจ้า และการเทียบ - การประเมิน ศกั ราช ปรนิ ิพพานไปแล้ว ๑ ปี จะ - แบบสังเกต นับเป็น พ.ศ. ๑ -แบบประเมิน ครสิ ตศ์ กั ราช (ค.ศ.) เร่ิมนับ ค.ศ. ๑ ได้นั้นจะต้องนบั วันท่พี ระเยซูประสตู ิจะ นบั เปน็ ค.ศ. ๑ นดู Power ๑. นักเรียนดู Power Point นับและการ เรื่อง การนับและการเทียบ .ศ. ค.ศ. ศกั ราช ฮ.ศ.) ยนร่วมกัน ๒. นกั เรียนร่วมกนั อภิปราย รนบั และ สรุปหลกั การเก่ยี วกบั การ ช ของ พ.ศ. นับและการเทยี บศักราช ศ. และ ของ พ.ศ. ค.ศ. จ.ศ. ม.ศ. การเทียบ ร.ศ. และ ฮ.ศ.

    ๘๖๐ ค่มู อื ครูและแ ลำดับท่ี จุดประสงค์ ขนั้ ตอนการจดั เวลา กจิ กรรม การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๑) การเทียบมหา กบั พทุ ธศกั ราช พ.ศ. – ๖๒๑ = ๒) การเทียบจุลศ พุทธศกั ราช คือ พ.ศ. – ๑๑๘๑ ๓) การเทียบรตั น ศกกับพทุ ธศักรา พ.ศ. – ๒๓๒๔ = ๔) การเทยี บครสิ กบั พทุ ธศักราช พ.ศ. – ๕๔๓ = ๕) การเทยี บ ฮจิ เราะห์ศักราชก พุทธศักราช คือ พ.ศ. – ๑๑๒๒ ๒. บอกวิธีการ ๓. ยกตัวอย่างกา นบั และเทยี บ ศกั ราชใหน้ ักเรยี น ศักราชได้ ฝึกปฏิบตั ิ ๒–๓ ต

    แผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ มครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ าศักราช คือ = ม.ศ. ศักราชกบั อ = จ.ศ. นโกสินทร์ าช คือ = ร.ศ. สต์ศักราช คือ ค.ศ. กบั ๓. นกั เรียนฝกึ เทยี บศักราช ตวั อย่างการ ตรวจผลงาน อ = ฮ.ศ. ตามจำนวนขอ้ ที่ครู เทียบศกั ราช ารเทยี บ นทดลอง กำหนดให้ ตัวอยา่ ง

    หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๓. คดิ เทยี บ จาก พ.ศ. เปน็ ค ศกั ราชได้ ค.ศ. เปน็ พ.ศ. ถูกต้อง ตัวอย่าง ** พ.ศ. ๒๕๕๓ – ค.ศ. ๒๐๑๐ ** ค.ศ. ๒๐๑๐ + พ.ศ. ๒๕๕๓ (ครสู ามารถปรบั ตามความเหมาะ ๓. ข้ันปฏิบตั ิ ๑๕ ครใู หน้ ักเรียนจับ นาที และเทยี บศักราช ที่ครูกำหนดให้ ใ เร่ือง การนบั และ ศกั ราช ๔. ขนั้ สรปุ ๑๐ ๑. ครสู ุ่มใหน้ กั เร นาที นำเสนอผลงานห เรียน ๒-๓ คู่

    ๘๖๑ แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ มครู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ ค.ศ หรือ – ๕๔๓ = + ๕๔๓ = เปล่ยี นได้ ะสม) บคูฝ่ ึกนบั นักเรยี นจับคู่ทำใบงาน เร่ือง - ใบงานท่ี ๑ - ตรวจใบงาน เรอื่ ง การนบั ชตามโจทย์ การนบั และเทียบศักราช เรือ่ ง การนบั และการเทียบ ศักราช ในใบงาน และการเทียบ - การประเมิน - การสังเกต ะการเทยี บ ศกั ราช พฤติกรรม - แบบประเมนิ - แบบสังเกต รียน ๑. ตวั แทนนักเรียน ๒-๓ คู่ หน้าชน้ั นำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น

    ๘๖๒ คมู่ อื ครูและแ ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขนั้ ตอนการจดั เวลา กจิ กรรม การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ ๒. ครูและนักเรยี ตรวจสอบความถ ผลงาน ๓. ครูและนักเรยี สรุปความรูเ้ กย่ี ว และการเทยี บศัก ๔. เห็นความ ๔. ครตู ัง้ ประเด็น สำคัญของ - การนบั เวลาแ การนบั และ ศักราชมีความสำ การเทียบศกั ราช ชวี ิตประจำวันอย

    แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ มครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ ยนรว่ มกัน ๒. นักเรยี นรว่ มกนั การประเมนิ ถูกต้องของ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ ประเมนิ คำตอบ ผลงาน ยนรว่ มกนั ๓. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ องค์ แบบประเมนิ กบั การนบั ความรู้การนับและการเทยี บ กราช ศักราช ศกั ราชเปน็ การบอกปี การนับและการเทยี บศักราช พ.ศ./ค.ศ./ฮ.ศ. มีหลกั การ คดิ เทียบจากความแตกตา่ ง ของทม่ี า นคำถาม ๔. นกั เรยี นตอบคำถาม คำถาม และเทียบ - การเทยี บศักราชทำให้เกิด ำคญั ใน ความเข้าใจเร่ืองราวและ ย่างไร เหตุการณ์ ได้ชดั เจนยงิ่ ขึน้ และเรยี งลำดับเหตุการณ์ ก่อนหลงั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง

    หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๘๖๓ ๘. สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. สื่อภาพ PowerPoint ๒. PowerPoint เร่อื ง การนับและการเทยี บศักราช ๙. การประเมินผลรวบยอด ชน้ิ งานหรือภาระงาน ใบงานท่ี ๑ เรื่อง การนับและการเทียบศักราช การวัดและประเมนิ ผล ประเด็นการวัด วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน และประเมินผล ดา้ นความรู้ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ใบงานท่ี ๑ เรื่อง การนบั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การนบั และการเทยี บ และการเทียบศักราช ร้อยละ ๖๐ ศักราช - คำถาม - การประเมนิ การตอบ คำถาม ด้านทกั ษะ กระบวนการ ตรวจใบงาน เร่ือง ใบงานท่ี ๑ เร่ือง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน การนบั และการเทยี บ การนับและการเทยี บ รอ้ ยละ ๖๐ ศักราช ศักราช ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ - สงั เกต - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ - ประเมนิ การตอบคำถาม - คำถาม คณุ ภาพพอใชข้ ้นึ ไป ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมิน มวี นิ ัย แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑป์ ระเมินระดบั ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมนั่ ใน อันพึงประสงค์ คณุ ภาพพอใช้ขนึ้ ไป การทำงาน สมรรถนะสำคญั ประเมินความสามารถใน แบบประเมนิ สมรรถนะ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั ของผ้เู รียน การคิด ความสามารถ สำคญั ของผเู้ รียน คุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ

    ๘๖๔ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อจำกดั การใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชอื่ ……………………………………………………….ผสู้ อน (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผ้ทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………………….ผตู้ รวจ (…...........………………………………………….) วนั ท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ………………

    หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๘๖๕ ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การนบั และการเทยี บศกั ราช หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การนบั และการเทียบศักราช รายวชิ าสังคมศกึ ษา รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กิจกรรมที่ ๑ คำส่งั ใหน้ ักเรยี นนำคำท่ีกำหนดใหด้ า้ นบนไปเตมิ ลงในช่องว่างท้ายข้อความด้านลา่ ง ศรสิ ตศ์ กั ราช พุทธศกั ราช ฮจิ เราะห์ศักราช จุลศกั ราช มหาศกั ราช ช รัตนโกสินทรศ์ ก ๑. ศักราชท่ีต้ังข้นึ โดยพระเจ้ากนิษกะแห่งอินเดีย …………………………. ๒. นยิ มใชใ้ นหลกั ฐานประเภทศลิ าจารึกและพงศาวดาร …………………………. สมยั สุโขทยั อยธุ ยา ธนบุรี และรตั นโกสินทรต์ อนตน้ …………………………. ๓. เรม่ิ นบั ศกั ราชตั้งแต่ปที พี่ ระเยซปู ระสูติ ๔. เร่ิมนับศักราชตั้งแตป่ ที พี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก …………………………. มหาราช ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี …………………………. ๕. ศักราชท่ตี งั้ ข้ึนในสมัยของกษตั รยิ พ์ ม่าทรงมีพระนามวา่ …………………………. …………………………. บปุ ผะอรหนั ต์ ๖. ศักราชที่ใชก้ นั มากในประเทศทน่ี ับถือศาสนาอิสลาม …………………………. ๗. เริม่ นบั เม่ือพระพุทธเจ้าเสดจ็ ดับขนั ธ์ปรินพิ พานไปแลว้ ๑ ปี …………………………. ๘. เรมิ่ นับศกั ราชตัง้ แต่ปที ท่ี า่ นนบมี ูฮัมมดั ได้อพยพจากเมืองเมกกะ …………………………. ไปยงั เมืองเมดนิ ะ ๙. ศกั ราชที่นิยมใช้ในหนงั สอื ประวตั ศิ าสตร์ของชาติตะวนั ตก ๑๐. ศักราชทีใ่ ชก้ นั อยา่ งเปน็ ทางการในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั เป็นตน้ มาจนถึงปัจจุบัน

    ๘๖๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) กิจกรรมท่ี ๒ คำส่งั ใหน้ ักเรียนระบหุ ลกั เกณฑ์การเทยี บศกั ราชใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. ม.ศ. ๑๓๒๐ = พ.ศ. ........................ ๒. ฮ.ศ. ๔๗๗ = พ.ศ. ........................ ๓. ม.ศ. ๑๓๔๕ = พ.ศ. ........................ ๔. จ.ศ. ๑๒๕๓ = พ.ศ. ........................ ๕. ค.ศ. ๑๕๒๐ = พ.ศ. ........................ ๖. ร.ศ. ๑๒๐ = พ.ศ. ........................ ๗. พ.ศ. ๒๓๑๐ = ม.ศ. ........................ ๘. พ.ศ. ๑๘๐๐ = จ.ศ. ........................ ๙. พ.ศ. ๒๕๓๐ = ฮ.ศ. ........................ ๑๐. พ.ศ. ๒๔๔๓ = ร.ศ. ........................ ช่อื -นามสกุล…………………………………………………………………………………..ชั้น…………………..เลขที…่ …………..

    หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๖๗ เฉลยใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การนับและการเทียบศกั ราช หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง การนบั และการเทียบศกั ราช รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ กจิ กรรมที่ ๑ คำสงั่ ให้นกั เรียนนำคำท่ีกำหนดใหด้ ้านบนไปเตมิ ลงในช่องว่างท้ายข้อความด้านล่าง ศริสต์ศกั ราช พุทธศกั ราช ฮิจเราะห์ศักราช จุลศกั ราช มหาศกั ราช ช รตั นโกสินทร์ศก ๑. ศกั ราชที่ต้งั ขึน้ โดยพระเจา้ กนิษกะแห่งอนิ เดยี มหาศกั ราช ๒. นยิ มใชใ้ นหลักฐานประเภทศลิ าจารกึ และพงศาวดาร จุลศกั ราช สมัยสุโขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น คริสตศ์ ักราช ๓. เรมิ่ นบั ศกั ราชต้ังแต่ปีทพ่ี ระเยซปู ระสตู ิ ๔. เร่มิ นับศกั ราชต้งั แต่ปีทพ่ี ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก รัตนโกสินทรศ์ ก มหาราช ทรงสถาปนากรงุ เทพมหานครเปน็ ราชธานี จลุ ศกั ราช ๕. ศกั ราชท่ตี ้งั ขึ้นในสมยั ของกษัตรยิ พ์ ม่าทรงมีพระนามวา่ ฮจิ เราะหศ์ กั ราช พุทธศักราช บุปผะอรหนั ต์ ๖. ศักราชที่ใช้กนั มากในประเทศทน่ี บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม ฮิจเราะห์ศักราช ๗. เร่ิมนับเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดบั ขนั ธ์ปรินิพพานไปแลว้ ๑ ปี คริสตศ์ ักราช ๘. เร่มิ นบั ศักราชตง้ั แตป่ ที ที่ า่ นนบีมูฮัมมดั ได้อพยพจากเมืองเมกกะ พทุ ธศกั ราช ไปยงั เมอื งเมดนิ ะ ๙. ศักราชทน่ี ิยมใช้ในหนังสอื ประวัติศาสตร์ของชาติตะวันตก ๑๐. ศกั ราชท่ีใชก้ นั อย่างเป็นทางการในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั เปน็ ตน้ มาจนถึงปัจจุบัน

    ๘๖๘ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) กจิ กรรมท่ี ๒ คำส่งั ใหน้ กั เรยี นระบหุ ลกั เกณฑ์การเทยี บศักราชใหถ้ กู ต้อง ๑. ม.ศ. ๑๓๒๐ = พ.ศ. .......๑...๙..๔..๑.......... ๒. ฮ.ศ. ๔๗๗ = พ.ศ. .........๑..๕..๙...๙........ ๓. ม.ศ. ๑๓๔๕ = พ.ศ. .......๑...๙..๖..๖.......... ๔. จ.ศ. ๑๒๕๓ = พ.ศ. ........๒..๔..๓..๔.......... ๕. ค.ศ. ๑๕๒๐ = พ.ศ. .......๒...๐..๖..๓.......... ๖. ร.ศ. ๑๒๐ = พ.ศ. .........๒...๔..๔..๔........ ๗. พ.ศ. ๒๓๑๐ = ม.ศ. ......๑..๖...๘..๙........... ๘. พ.ศ. ๑๘๐๐ = จ.ศ. ......๖..๑...๙............. ๙. พ.ศ. ๒๕๓๐ = ฮ.ศ. ......๑..๓...๐..๘........... ๑๐. พ.ศ. ๒๔๔๓ = ร.ศ. ....๑...๑..๙..............

    หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย ๘๖๙ แบบประเมนิ การนำเสนอหน้าชั้นเรยี น เกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๑. การถา่ ยทอด ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) เน้อื หา คล่องแคล่วไมต่ ิดขัด คลอ่ งแคลว่ ไม่ ไมค่ ล่องแคล่ว ติดขัด หยุดชะงัก ๒. บคุ ลิกภาพ ทำใหเ้ ข้าใจประเดน็ ได้ ตดิ ขดั ทำใหเ้ ข้าใจ มกี ารหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจังหวะ ง่ายและเร็ว การพูดมี ประเดน็ ได้งา่ ย บางครง้ั จงั หวะพูด พดู เร็วหรือช้า การเวน้ จังหวะและ การพดู มีการเวน้ ช้าจบั ประเด็นไม่ได้ เกนิ ไป เนน้ คำ เน้นสาระ จังหวะอยา่ ง สำคัญอย่างเหมาะสม เหมาะสม ความเร็ว เพอื่ ใหผ้ ฟู้ งั ตดิ ตาม ในการพูดอยู่ใน การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดบั เหมาะสม มคี วามม่นั ใจ สบสายตา สบสายตาผูฟ้ งั สบสายตาผูฟ้ ังน้อย ก้มหน้าไม่สบตา ผฟู้ งั ตลอดเวลาเพ่อื พอสมควร น้ำเสยี ง นำ้ เสยี งส่นั ขาด และนำ้ เสียงสัน่ ดงึ ดดู ให้ผู้ฟังสนใจใน สะท้อนถงึ ความ ความม่ันใจ เสียง และเบา เนอ้ื หาท่ีถ่ายทอด ม่นั ใจ เสียงดงั เบาและดงั สลบั ไป เสยี งดงั พอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เช่น ยก แสดงกริยาท่าทาง ใชภ้ าษากาย ไมใ่ ชภ้ าษากาย ส่ือสาร กายในการสื่อสาร มือ/ผายมอื แสดงกริยา ประกอบการนำเสนอ สื่อสารน้อยครัง้ ใช้เวลาใน ทา่ ทางประกอบ พอสมควร การนำเสนอเกิน เวลาทกี่ ำหนด การนำเสนอเพื่อดงึ ดูด มากกวา่ ๕ นาที ข้นึ ไป ความสนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใช้เวลาใน ใชเ้ วลาใน กบั เวลา เหมาะสม การนำเสนอเกนิ เวลา การนำเสนอเกนิ ทีก่ ำหนด ๑-๓ นาที เวลาที่กำหนด ๔-๕ นาที เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดีมาก ดี คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถงึ เกณฑก์ ารผา่ น ตัง้ แต่ ๕ คะแนน ข้นึ ไป

    ๘๗๐ คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ๑. การรว่ มกจิ กรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) ๒. การรบั ฟังความ คดิ เห็นของผู้อ่นื มีความกระตือรอื รน้ ใน มีความกระตือรือรน้ ใน ไมม่ ีความกระตือรือร้น ๓. ความรับผิดชอบ การรว่ มกิจกรรมอย่าง การรว่ มกิจกรรมใน ในการรว่ มกจิ กรรม ๔. ขยันหม่นั เพียร สม่ำเสมอ บางคร้งั ๕. ตรงตอ่ เวลา รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ รับฟงั ความคิดเห็นของ ไมร่ บั ฟังความคดิ เหน็ ผอู้ ่นื อย่างสม่ำเสมอ ผู้อ่นื เป็นบางครั้ง ของผู้อืน่ มคี วามรบั ผิดชอบในงาน มีความรับผิดชอบในงาน ไม่มีความรับผดิ ชอบใน ท่ีได้รบั มอบหมายอยา่ ง ท่ีไดร้ บั มอบหมายใน งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย สมำ่ เสมอ บางครั้ง มีความขยันหม่นั เพียร มีความขยันหมนั่ เพยี ร ไมม่ ีความขยนั หม่นั เพยี ร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเรจ็ พยายามทำงานให้สำเร็จ อยา่ งสมำ่ เสมอ เปน็ บางครัง้ สง่ ชิน้ งานภายในเวลาที่ สง่ ผลงานเสรจ็ ตรงเวลา สง่ ผลงานช้ากว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถงึ เกณฑ์การผา่ น ตั้งแต่ ๖ คะแนน ข้นึ ไป

    หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย ๘๗๑ แบบประเมินใบงาน คำชแี้ จง ใหค้ รูผูส้ อนประเมินใบงานของนกั เรยี นแล้วให้ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกุล การรว่ ม การรับฟัง ความ ขยันหมน่ั เพียร ตรงตอ่ เวลา รวม กิจกรรม ความคิดเห็น รับผดิ ชอบ ๒๐ ของผู้อน่ื คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑ ๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงชอ่ื ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ นักเรยี นทีไ่ ด้ระดับคุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป ถือวา่ ผา่ น ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรบั ปรงุ

    ๘๗๒ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วันท.ี่ ......................เดอื น.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การให้คะแนน ลำดบั ท่ี ชื่อ–สกลุ ความ ความสนใจ การ มสี ่วน รวม ระดับ ต้ังใจใน และการ ตอบ รว่ มใน (๑๖) คณุ ภาพ การเรยี น ซกั ถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ........................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ ในการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล ดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรยี นทไ่ี ดร้ ะดับคณุ ภาพพอใชข้ ้นึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรุง

    หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย ๘๗๓ เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบุคคล (Rubric) ประเด็นการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมิน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ต้องปรับปรุง (๑) ๑. ความต้งั ใจใน สนใจในการเรียนไม่ สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไมส่ นใจใน การเรยี น คุยหรอื เลน่ กัน คยุ กันเล็กน้อย คยุ กนั และเลน่ กนั การเรยี น คยุ ในขณะเรียน ในขณะเรียน ในขณะเรยี นเปน็ และเลน่ กัน บางครง้ั ในขณะเรียน ๒. ความสนใจและ มีการถามในหวั ข้อที่ มกี ารถามในหัวข้อ มกี ารถามในหัวข้อ ไม่ถามในหวั ข้อท่ี การซกั ถาม ตนไม่เข้าใจทุกเร่ือง ทตี่ นไมเ่ ข้าใจเปน็ ทีต่ นไม่เข้าใจเปน็ ตนไม่เข้าใจและ และกลา้ แสดงออก ส่วนมากและกลา้ บางครงั้ และไม่ค่อย ไม่กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก ๓. การตอบคำถาม รว่ มตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไม่ตอบคำถาม เร่อื งท่ีครูถามและ เรื่องท่ีครูถามและ เรอ่ื งที่ครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครั้งและตอบ สว่ นมากถกู คำถามถกู เป็น บางครั้ง ๔. มีส่วนร่วมใน รว่ มมอื และ ร่วมมอื และ ร่วมมือและ ไมม่ ีความร่วมมือ กิจกรรม ช่วยเหลือเพ่อื นใน ช่วยเหลือเพ่ือน ชว่ ยเหลอื เพือ่ นใน ในขณะทำ การทำกิจกรรม เป็นส่วนใหญใ่ น การทำกจิ กรรม กจิ กรรม การทำกิจกรรม เป็นบางครง้ั

    ๘๗๔ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ วันท.ี่ ......................เดือน......................................พ.ศ.............................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดบั ที่ ชอ่ื กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดบั ปฏสิ มั พนั ธ์ เรื่อง ติดต่อส่ือสาร การทำงาน (๑๖) คณุ ภาพ ๑ ๒ กนั ท่กี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ดังนี้ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นักเรยี นทไี่ ด้ระดบั คณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรงุ

    หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๗๕ เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายกลุม่ (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (๔) เกณฑ์การให้คะแนน ตอ้ งปรับปรุง (๑) ประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การ รว่ มมือและช่วยเหลือ รว่ มมอื และ รว่ มมือและ ไม่ให้ความรว่ มมือ ปฏิสัมพันธ์กนั เพอ่ื นในการทำ ในขณะทำ ชว่ ยเหลอื เพอื่ นเป็น ชว่ ยเหลอื เพือ่ นใน กิจกรรม กิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ สนทนาไมต่ รง ประเด็น กจิ กรรม บางคร้ัง ไมม่ ีการปรกึ ษาครู ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น และเพ่ือนกลุ่มอื่น ๆ เรือ่ งท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้ือหา ครอบคลุมเนื้อหา ไมม่ ีการวางแผน อยา่ งเป็นระบบ บางส่วน และไมม่ ีการแบ่ง หนา้ ทข่ี องสมาชกิ ๓. การ มีการปรึกษาครแู ละ มีการปรกึ ษาครูและ มีการปรกึ ษาครแู ละ ในกลุม่ ติดต่อส่ือสาร เพื่อนกลุ่มอน่ื ๆ เพือ่ นกลุม่ อืน่ ๆ เพอ่ื นกลมุ่ อื่น ๆ เป็นสว่ นใหญ่ เป็นบางครั้ง ๔. พฤติกรรม มีการวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอย่าง มกี ารวางแผนอย่าง การทำงาน เป็นระบบ และแบ่ง หนา้ ท่ขี องสมาชิก เปน็ ระบบ และแบ่ง เป็นระบบ และแบ่ง ในกลุ่ม หนา้ ทขี่ องสมาชกิ หนา้ ทีข่ องสมาชิก ในกล่มุ เป็นสว่ นใหญ่ ในกล่มุ เป็นบางครง้ั

    ๘๗๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำชแี้ จง ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว้ ขดี ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มวี นิ ยั ๑.๑ ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวติ ประจำวนั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๒.๑ ตงั้ ใจเรยี น ๒.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมีความเพยี รพยายามในการเรียน ๒.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ ่าง ๆ ๒.๔ ศึกษาค้นคว้า หาความร้จู ากหนังสือ เอกสาร สง่ิ พมิ พ์ ส่ือ เทคโนโลยตี ่าง ๆ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และ เลอื กใช้ส่ือได้อย่างเหมาะสม ๒.๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสง่ิ ท่เี รยี นรู้ สรปุ เป็นองค์ความรู้ ๒.๖ แลกเปลยี่ นความรู้ ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน ๓. มงุ่ มั่นใน ๓.๑ มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสำเร็จ ลงชื่อ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดีมาก นกั เรียนทไ่ี ดร้ ะดับคณุ ภาพผา่ นขึน้ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไมผ่ ่าน

    หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๘๗๗ แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คำช้แี จง ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก ระดบั การปฏิบตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรับ–สง่ สาร การส่ือสาร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ๒. ความสามารถใน ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม การคดิ ๒.๑ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓. ความสามารถใน ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ การใชท้ กั ษะชีวติ ๓.๑ สามารถทำงานกล่มุ ร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้ ๓.๒ นำความรทู้ ีไ่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน ลงชื่อ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้ัง เกณฑ์การให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ดงั นี้ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดเี ย่ยี ม นักเรียนท่ีไดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไม่ผ่าน

    ๘๗๘ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง ยอ้ นรอยไทย เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชีว้ ัด ป.๔/๑ นบั ชว่ ง เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การนบั ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เป็นการนับช่วงเวลาโดยแบง่ เป็น ๑๐ ปี ๑๐๐ ปี ๑,๐๐๐ ปี เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกในการนบั ช่วงเวลา ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกความหมายและชว่ งเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษได้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) เกดิ ทกั ษะการคิดเทยี บทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) เหน็ ความสำคญั ของการนับช่วงเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๔. สาระการเรียนรู้ ความหมายและช่วงเวลาของทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๕. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ๑. ความสามารถในการคิด ๒. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มวี ินยั ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ๗. กจิ กรรมการเรียนรู้

    หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง ท รายวิชาประวัตศิ าสตร ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ขนั้ ตอน เวลา ๑. การเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ ๒. ๑. บอกความหมายและ ช่วงเวลาเปน็ ทศวรรษ ขั้นนำ ๕ ๑. ครูให้นกั เร ศตวรรษ และสหัสวรรษ ได้ นาที เก่ยี วกับทศวร สหัสวรรษ ๒. ครูต้งั ประเ ๑) นักเรียนเ เหลา่ นม้ี าจาก ๒) นักเรียนค ศตวรรษ และ เก่ยี วข้องกบั ก ประวตั ิศาสตร ขั้นสอน ๒๕ ๑. ครใู ห้นักเรีย นาที ใบความรู้ เร่ือง ศตวรรษ และ ใช้เพ่ือแบ่งชว่ ง ๑๐๐ ปี, ๑,๐๐

    ๘๗๙ รู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ร์ จำนวน ๑ ชัว่ โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ จกรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น รยี นดขู อ้ ความ ๑. นักเรียนดูข้อความ -PowerPoint - การประเมนิ รรษ ศตวรรษ และ บน PowerPoint ขอ้ ความทศวรรษ - การสังเกต ศตวรรษ และ เดน็ คำถาม ๒. นกั เรยี นตอบคำถาม สหัสวรรษ เคยเหน็ หรือได้ยินคำ ๑) แนวคำตอบ จาก - แบบประเมนิ กท่ีใดบา้ ง หนังสอื พิมพ์ - แบบสงั เกต คิดว่า คำว่าทศวรรษ ๒) แนวคำตอบ มีความ ะสหสั วรรษ มคี วาม เก่ยี วขอ้ ง เพราะเปน็ คำ การศกึ ษา ท่ใี ช้แบง่ ช่วงเวลาใน ร์หรอื ไม่ อย่างไร การศึกษาประวตั ิศาสตร์ ยนแบง่ กลุ่มศึกษา ๑. นักเรียนแบ่งกลุม่ - ใบความรู้ท่ี ๑ - การประเมิน ง การใชท้ ศวรรษ กล่มุ ละ ๔ คน รว่ มกนั เรื่อง การใช้ - การสงั เกต ะสหสั วรรษ (เป็นคำที่ ศึกษาใบความรเู้ รื่อง ทศวรรษ งเวลาออกเป็น ๑๐ ปี, การใชท้ ศวรรษ ศตวรรษ ศตวรรษ และ ๐๐ ปี) และร่วมกนั และสหัสวรรษ อภิปราย สหสั วรรษ

    ๘๘๐ คู่มือคร ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขั้นตอน เวลา การเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กิจ อภิปรายสรุป ๒. ๒. ครูอธบิ ายเ เขา้ ใจยิ่งขึ้นพร ศึกษา Power วธิ ีการนับและ ทศวรรษ ศตว คอื ๑) ทศวรรษ ค ๑๐ ปี เริม่ นบั รว่ มระยะเวลา ศกั ราชเป็นคร ๒) ศตวรรษ ค ๑๐๐ ปี เริ่มน ซงึ่ ร่วมระยะเว

    รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ จกรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน - การประเมิน สรปุ ความรู้ ความเข้าใจ - แบบประเมิน - การสงั เกต เกยี่ วกับ ความหมาย - แบบสงั เกต และชว่ งเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหัสวรรษ เพิม่ เติมใหน้ ักเรียน ๒. นกั เรยี นดู - PowerPoint ร้อมกับให้นักเรียนด/ู PowerPointเกย่ี วกับ วธิ ีการนับและ rPoint เก่ียวกับ วธิ กี ารนบั และเทยี บเวลา เทยี บเวลาเปน็ ะเทยี บเวลาเป็น เป็นทศวรรษ ศตวรรษ ทศวรรษ วรรษ และสหสั วรรษ และสหสั วรรษ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ คือ ช่วงเวลาในรอบ - แบบประเมนิ บท่ี ๐ จบด้วย ๙ ซง่ึ - แบบสังเกต า ๑๐ ปี จะนยิ มบอก ริสตศ์ ักราช คอื ชว่ งเวลาในรอบ นบั ที่ ๑ จบดว้ ย ๑๐๐ วลา ๑๐๐ ปี จะบอก

    หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย ลำดบั ที่ จดุ ประสงค์ ขั้นตอน เวลา ๓. การเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจ ๑. เกิดทกั ษะการคิด เทยี บทศวรรษ ศตวรรษ ศกั ราชได้ทงั้ พ และสหัสวรรษได้ ครสิ ตศ์ กั ราช ๓) สหสั วรรษ ๑๐๐๐ ปี เริ่มน ๑๐๐๐ ซึ่งรว่ ม สหสั วรรษเพิง่ เ สหสั วรรษที่ ๒ เรมิ่ ใช้เมื่อพทุ ธ ครสิ ต์ศักราช ๒ ศกั ราชได้ท้ังพุท คริสตศ์ ักราช ขัน้ ปฏิบัติ ๑๐ ๑. ครูใหน้ ักเร นาที เร่ือง ทศวรรษ สหสั วรรษ

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้