Microsoft office excel 2007 ม หน าท อะไร

Microsoft Excel 2007 โปรแกรมตารางงานยอดนิยม 1. ความรูพ้นื ฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม Excel โปรแกรมตารางงาน หรือโปรแกรมสเปรทชีต (Spread Sheet) หรือตารางคํานวณ อิเล็กทรอนิกส เปน โปรแกรมที่อาํ นวยความสะดวกในการทํางานเกี่ยวกับการคํานวณขอมูล แสดง ขอมูลในลักษณะเปนคอลัมน หรือเปนชองตาราง ซึ่งเราสามารถบันทึกขอมูลตาง ๆ โดยสวนมาก มักจะเปนตัวเลขลงในตารางสี่เหลี่ยมที่แบง ออกเปนชองเล็ก ๆ มากมาย เรียกวา เซลล (Cell) พรอม ทั้งสามารถใสสตู รลงในเซลลบางเซลลเพื่อใหโปรแกรม ทําการคํานวณหาผลลัพธจากขอมูลที่ โปรแกรม Excel ชวยใหเราคํานวณตัวเลขในตารางไดงา ย ๆ ตั้งแตคณิตศาสตรขั้น พื้นฐานไปจนถึง สูตรทางการเงินที่ซบั ซอน และเรายังสามารถใช Excel ในการจัดกลุมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรางรายงาน และ สรางแผนภูมไิ ดอกี ดวย โปรแกรม Excel มีประโยชนกับผูคนแทบทุกสาขาอาชีพ ไมวาจะเปนบัญชี ซึ่ง สามารถนํา Excel มา ชวยคํานวณรายรับรายจายและงบการเงินได นักวิเคราะหการตลาด ที่จะนํา Excel มาชวยในการสรุปขอมูล แบบสอบถามจํานวนมาก ๆ วิศวกรที่สามารถนําขอมูลจากการ ทดลองมาให Excel สรางเปนแผนภูมลิ งใน รายงานของตนเองไดงา ย ๆ นักวางแผนสามารถทดลอง ไดวาจะเกิดเหตุการณอะไรถาตัวแปรบางตัวเปลี่ยนไป แมกระทั่งครูอาจารยก็ยังสามารถคํานวณ เกรดของนักศึกษาไดดวย และนอกจากที่กลาวแลว Excel ก็ยังสามารถ ประยุกตใชกับงานอื่น ๆ ได อีกมากมาย คุณสมบัติของโปรแกรม Excel โปรแกรม Excel มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. สรางและแสดงรายงานของขอมูล ตัวอักษร และตัวเลข โดยมีความสามารถในการ จัดรูปแบบให สวยงามนาอาน เชน การกําหนดสีพื้น การใสแรเงา การกําหนดลักษณะและสีของ เสนตาราง การจัดวาง ตําแหนงของตัวอักษร การกําหนดรูปแบบและสีตัวอักษร เปนตน 2. อํานวยความสะดวกในดานการคํานวณตาง ๆ เชน การบวก ลบ คูณ หารตัวเลข และยังมีฟง กช่นั ที่ใชใน การคํานวณอีกมากมาย เขน การหาผลรวมของตัวเลขจํานวนมาก การหา คาทางสถิติและการเงิน การหาผลลัพธ ของโจทยทางคณิตศาสตร เปนตน 3. สรางแผนภูมิ (Chart) ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใชในการแสดงและการเปรียบเทียบ ขอมูลไดหลายรูปแบบ เชน แผนภูมคิ อลัมน (Column Chart หรือBar Chart) แผนภูมเิ สน (Line Chart) แผนภูมวิ งกลม (Pie Chart) ฯลฯ

1

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. มีระบบขอความชวยเหลือ (Help) ที่จะคอยชวยใหคําแนะนํา ชวยใหผใู ชสามารถ ทํางานไดอยางสะดวก และรวดเร็ว เชน หากเกิดปญหาเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรม หรือสงสัย เกี่ยวกับวิธกี ารใชงาน แทนที่จะตอง เปดหาในหนังสือคูมอื การใชงานของโปรแกรม ก็สามารถขอ ความชวยเหลือจากโปรแกรมไดทนั ที 5. มีความสามารถในการคนหาและแทนที่ขอมูล โดยโปรแกรมจะตองมี ความสามารถในการคนหาและ แทนที่ขอมูล เพื่อทําการแกไขหรือทําการแทนที่ขอมูลไดสะดวก และรวดเร็ว 6. มีความสามารถในการจัดเรียงลําดับขอมูล โดยเรียงแบบตามลําดับ จาก A ไป Z หรือจาก 1 ไป 100 และ เรียงยอนกลับจาก Z ไปหา A หรือจาก 100 ไปหา 1 7. มีความสามารถในการจัดการขอมูลและฐานขอมูล ซึ่งเปนกลุมของขอมูลขาวสาร ที่ถกู รวบรวมเขาไว ดวยกันในตารางที่อยูใน Worksheet ลักษณะของการเก็บขอมูลเพื่อใชเปน ฐานขอมูลมนโปรแกรมตารางงานจะ เก็บขอมูลในรูปแบบของตาราง โดยแตละแถวของรายการจะ เปนระเบียนหรือเรคอรด (Record) และคอลัมนจะ เปนฟลด (Field) สวนติดตอผูใ ชที่ปรับปรุงใหมของ Excel 2007 Excel 2007 ใชสว นติดตอผูใชท่อี อกแบบมาใหม เพื่อชวยใหสามารถทํางานไดเร็วขึ้น มี ประสิทธิผล มากขึ้น สามารถเรียนรูไดเร็วขึ้นและคนหาไดเร็วขึ้น สวนติดตอใหมนี้ ไดแก แมแบบ ใหม ใชเริ่มตนทํางาน อยางรวดเร็ว และการใชพนื้ ที่มาตรฐานซึ่งเรียกวา Ribbon แทนเลเยอร (Layers) ของเมนูและแถบเครื่องมือที่พบ ในรุนกอนหนานี้ ทําใหสามารถหากลุมของคําสั่งที่ เกี่ยวของกันไดเร็วขึ้น เนื่องจากแท็บที่ใชในนั้น จะวางคําสั่ง ตาง ๆ ไวในสวนหนาโดยที่ไมไดเรียง ซอนลงในเมนูเหมือนกอน ทําใหไมตองเสียเวลาคนหา และสามารถจดจํา ตําแหนงคําสั่งไดดขี ึ้น องคประกอบที่สาํ คัญของสวนติดตอใหมใน Excel 2007 ประกอบดวย แมแบบใหม แมแบบใหมจากเมนู Start New Office Document จะเปดหนาตาง Start New Office Document หรือ ใชแมแบบ Microsoft Office Online จากปุม Office ที่รายการสราง แลวไปที่ ติดตั้ง แมแบบของฉัน แมแบบ Microsoft Office Online ซึ่งมีหวั ขอตาง ๆ ไดแก เดน งบประมาณ ปฏิทนิ รายงานคาใชจาย ใบแจงหนี้ รายการ แผน แพลนเนอร กําหนดการ ประกาศ สเตชันเนอรี ใบ บันทึกเวลา ฯลฯ หรือจะไปที่เว็บไซตของ Microsoft Office แลวดาวนโหลดมาเก็บไวในเครื่องก็ได แมแบบแตละแบบ ไดถกู ออกแบบใหสามารถใชงานไดทนั ทีท่เี ลือก เพื่อใหสามารถ เริ่มตนและทํางาน ไดอยางรวดเร็ว ถาการออกแบบแมแบบนั้นตรงกับความตองการของผูใช หรือจะ นํามาปรับปรุงประยุกตใชให ตรงกับความตองการที่เฉพาะเจาะจงของผูใ ชก็ได

2

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 1-1 การเปดแมแบบ Excel 2007 จากปุมStart \New Office Document

รูปที่ 1-2 การดาวนโหลดแมแบบ Excel 2007 จากเว็บไซตของ Microsoft Office

3

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปุม Office ปุม Office คือ ปุมที่ใชควบคุมคําสั่งหลักเกี่ยวกับการสรางแฟม การเปดแฟม การ บันทึก การ บันทึกเปน การพิมพ การสง การจัดเตรียม การประกาศ การปด เอกสารลาสุด และ ตัวเลือกของ Excel

รูปที่ 1-3 ปุม Office ที่ใชควบคุมคําสั่งหลัก แถบเครื่องมือใหมที่ใชควบคุมคําสั่งในโปรแกรม 1. Ribbon Ribbon คือ แถบเครื่องมือชุดคําสั่งที่แบงเปนแท็บ ๆ อยูสว นบนของหนาตาง รองจากแถบ ชื่อ (Title bar) ซึ่งมาแทนแถบเมนูในโปรแกรมเกา

รูปที่ 1-4 Ribbon แถบเครื่องมือชุดคําสั่ง

2. ปุมคําสั่ง ปุมคําสั่ง เปนปุมไอคอนที่ใชส่งั งาน ซึ่งอยูในกลุมชุดคําสั่ง บนแท็บคําสั่ง 3. แท็บคําสั่ง แท็บคําสั่ง คําสั่งตาง ๆ จะแสดงและรวมอยูดวยกัน เพื่อใหสามารถหาปุมคําสั่ง ที่ตองการ ใชไดตามตองการ เริ่มตนมีอยู 7 แท็บ คือ หนาแรก แทรก เคาโครงหนากระดาษ สูตร ขอมูล ตรวจทาน และมุมมอง ที่แท็บชุดคําสั่งใด ๆ มีจุดมุมทางดานลางขวามือ จะเปนที่เปดกลอง โตตอบของชุดคําสั่ง นั้น ๆ

4

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 1-5 แท็บชุดคําสั่งคําสั่ง และจุดมุมทางดานลางขวามือที่เปดกลองโตตอบ 4. แท็บคําสั่งตามบริบท แท็บคําสั่งตามบริบท เปนแท็บคําสั่งที่จะปรากฏตามบริบทของงาน คือวัตถุท่ี กําลังทํางาน ดวยหรืองานที่กําลังทําอยู แท็บนี้จะมีสสี นั และมีคําสั่งที่เหมาะสําหรับนําไปใชกับสิ่งที่ เรากําลังทํางาน อยูมากที่สดุ

รูปที่ 1-6 แท็บคําสั่งตามบริบท ที่ปรากฏตามบริบทของงาน

5

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. แถบเครื่องมือดวน แถบเครื่องมือดวน เปนแถบเครื่องมือมาตรฐานเดียวที่ปรากฏใน Ribbon เพื่อใหเขาถึงคําสั่ง ที่จําเปนมากที่สดุ อยางทันใจในคลิกเดียว เชน บันทึก เลิกทํา ฯลฯ โดยสามารถ เพิ่มเติมคําสั่งได จาก รายการคําสั่งเพิ่มเติม... และการเพิ่มโดยคลิกขวาที่ปมุ คําสั่งของ Ribbon

รูปที่ 1-7 แถบเครื่องมือดวนที่ใชไดอยางรวดเร็ว และการเพิ่มคําสั่งในแถบเครื่องมือดวน 6. แกลเลอรี แกลเลอรี เปนตัวควบคุมใหมท่จี ะแสดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เพื่อใหเรา สามารถเห็น ผลลัพธท่เี ราจะไดรับ แกลเลอรีจะถูกใชท่วั ไปในสวนติดตอของ 2007 Microsoft Office system แกล เลอรีทาํ ใหเราสามารถเลือกผลลัพธไดโดยไมตองกังวลวาจะตองทําอยางไรถึง จะไดผลลัพธนั้น

รูปที่ 1-8 แกลเลอรี ตัวควบคุมใหมท่แี สดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เมื่อนําเมาสเลื่อนผานไป

6

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

7. แถบเครื่องมือขนาดเล็ก แถบเครื่องมือขนาดเล็ก มีองคประกอบคลายกับแถบเครื่องมือ โดยจะปรากฏ เปนแบบ โปรงใสอยูเหนือขอความที่เราเลือก เมื่อเลื่อนเมาสไปที่แถบเครื่องมือ จะแสดงใหเห็นชัด ขึ้น เพื่อใหเรา สามารถใชการจัดรูปแบบไดอยางงายดาย เชน ตัวหนาหรือตัวเอียง หรือเปลี่ยนแบบ อักษร

รูปที่ 1-9 แถบเครื่องมือขนาดเล็กโปรงใสอยูเหนือขอความที่เลือก 8. แทรกแผนงาน แทรกแผนงาน ซึ่งแผนงานเปนพื้นที่การพิมพงาน ที่ใหมาเริ่มตน 3 แผนงาน แตสามารถเพิ่ม แผนงานไดโดยงาย เมื่อคลิกแผนงานแทรกแผนงานที่ไดใหมาใหม

รูปที่ 1-10 แทรกแผนงานไดโดยงาย 9. แถบสถานะ แถบสถานะ คือ แถบที่อยูดานลางสุดของหนาตาง ซึ่งจะแสดงขอมูลสถานะ ทั้ง ยังมีปมุ ตาง ๆ ของมุมมองทางดานขวามือที่ใชสลับมุมมอง และมุมมองยอ/ขยายได รูปที่ 1-11 แถบสถานะและมุมมอง คุณลักษณะใหมของ Microsoft Excel 2007 สวนติดตอผูใ ชที่มงุ เนนที่ผลลัพธ สวนติดตอผูใ ชใหมท่มี งุ เนนที่ผลลัพธจะชวยใหเราทํางานใน Microsoft Excel ได อยางงายดาย คําสั่ง และคุณลักษณะตางๆ ที่มกั จะถูกฝงอยูในเมนูและแถบเครื่องมือที่ซบั ซอน ตอไปนี้จะคนหาไดงายขึ้นบนแท็บที่ มุงเนนที่งานซึ่งมีกลุมของคําสั่งและคุณลักษณะแบงตาม ตรรกะ หลาย ๆ กลองโตตอบจะถูกแทนที่ดว ยแกลเลอ

7

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รีแบบหลนลงที่แสดงตัวเลือกที่พรอมใชงาน และคําแนะนําเครื่องมือแบบอธิบายหรือการแสดงตัวอยางก็จะมี จัดเตรียมไวใหเพื่อชวยใหเราเลือก ตัวเลือกไดอยางถูกตอง ไมวาเราจะทํากิจกรรมใดในสวนติดตอผูใชใหม ไมวาจะเปนการจัดรูปแบบหรือการ วิเคราะหขอมูล Excel จะแสดงเครื่องมือที่มปี ระโยชนท่สี ดุ ที่จะทําใหงานนั้นเสร็จสมบูรณ แถวและคอลัมนเพิ่มเติมและขอจํากัดใหมอื่นๆ เพื่อจะทําใหเราสามารถสํารวจปริมาณขอมูลจํานวนมากในแผนงาน Excel 2007 สนับสนุนแถวถึง 1 ลานแถว และคอลัมนถงึ 16,000 คอลัมนตอแผนงาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เสน ตาราง Excel 2007 คือ 1,048,576 แถวกับ 16,384 คอลัมน ซึ่งใหเรามีแถวมากกวาที่มใี น Excel 2003 ถึง 1,500 เปอรเซ็นตและคอลัมนมากกวาถึง 6,300 เปอรเซ็นต และสําหรับเราที่กําลังนึกสงสัย คอลัมนจะสิ้นสุดที่ XFD แทนที่จะเปน IV แทนที่จะเปนการจัดรูปแบบ 4,000 ชนิด ขณะนี้เราสามารถใชไดไมจํากัดจํานวนใน สมุดงานเดียวกัน และจํานวนการอางอิงเซลลตอเซลลก็เพิ่มขึ้นจาก 8,000 เปนจํานวนจํากัดตาม หนวยความจําที่มอี ยู เมื่อตองการปรับปรุงประสิทธิภาพของ Excel การจัดการหนวยความจําไดเพิ่มขึ้นจาก หนวยความจํา 1 กิกะไบต ใน Excel 2003 เปน 2 กิกะไบตใน Excel 2007 นอกจากนี้ เรายังจะพบวาการคํานวณแผนงานที่มสี ตู รมากมายทําไดอยางรวดเร็วขึน้ เนื่องจาก Excel 2007 สนับสนุนตัวประมวลผลแบบคูและชิปเซตแบบหลายเธรด Excel 2007 ยังสนับสนุนสีถงึ 16 ลานสีอกี ดวย ชุดรูปแบบของ Office และลักษณะของ Excel 2007 ใน Excel 2007 เราสามารถจัดรูปแบบขอมูลในแผนงานของเราไดอยางรวดเร็วดวย การนําชุดรูปแบบ ไปใช และโดยใชลกั ษณะที่เฉพาะเจาะจง ชุดรูปแบบตางๆ สามารถใชรวมกันได ตามโปรแกรม 2007 Office release อื่น ๆ เชน Microsoft Office Word และ Microsoft Office PowerPoint เปนตน ในขณะที่ลกั ษณะตาง ๆ ไดรับการออกแบบขึ้นเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ การนําชุดรูปแบบไปใช ชุดรูปแบบคือชุดของสี แบบอักษร เสน และการเติมลักษณะ พิเศษที่กําหนดไว ลวงหนา ซึ่งสามารถนําไปใชกับทั้งสมุดงานของเราหรือกับรายการที่ เฉพาะเจาะจงได เชน แผนภูมหิ รือตาราง เปนตน ชุดรูปแบบสามารถชวยใหเราสามารถสราง เอกสารที่มรี ูปลักษณสวยงาม โดยบริษัทของเราอาจมีชดุ รูปแบบขององคกรซึ่งเราสามารถใชได หรือเราสามารถเลือกจากชุดรูปแบบที่กําหนดไวลว งหนาที่มอี ยูใน Excel ได นอกจากนี้ การสราง ชุดรูปแบบของเราเองสําหรับรูปลักษณแบบเดียวกันและมีลกั ษณะเปนมืออาชีพที่ สามารถนําไปใช กับสมุดงาน Excel ของเราทั้งหมดและเอกสาร 2007 Office release อื่นๆ ยังสามารถทําได

8

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

อยาง งายดายอีกดวย เมื่อเราสรางชุดรูปแบบ สี แบบอักษร และการเติมลักษณะพิเศษสามารถ เปลี่ยนแปลงแบบ แยกกันตางหากไดเพื่อใหเราสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเลือกเหลานี้ตัวใดตัวหนึ่ง หรือตัวเลือกทั้งหมดได การใชลกั ษณะ ลักษณะ คือรูปแบบที่ยึดตามชุดรูปแบบที่กาํ หนดไวลว งหนาที่เรา สามารถนําไปใช เปลี่ยนแปลงลักษณะหนาตาของตาราง แผนภูมิ PivotTables รูปราง หรือ ไดอะแกรมของ Excel ได ถาลักษณะที่ กําหนดไวลว งหนาที่มอี ยูแลวภายในไมตรงกับความตองการ ของเรา เราสามารถกําหนดลักษณะเองได สําหรับ แผนภูมติ าง ๆ เราสามารถเลือกจากลักษณะที่ กําหนดไวลว งหนาที่มอี ยูเปนจํานวนมาก แตเราจะไมสามารถ สรางลักษณะแผนภูมขิ องเราเองได แบบเดียวกับใน Excel 2003 ลักษณะเซลลถกู ใชเพื่อจัดรูปแบบเซลลท่เี ลือก แตขณะนี้ เราสามารถนํา ลักษณะเซลลท่กี ําหนดไวลว งหนาไปใชไดอยางรวดเร็ว โดยลักษณะเซลลสว นใหญ ไมไดยึดตามชุดรูปแบบที่ นําไปใชกับสมุดงานของเรา และเราสามารถสรางลักษณะเซลลของเราเอง ไดอยางงายดาย การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขเพิ่มเติม ใน 2007 Office release เราสามารถใชการจัดรูปแบบตามเงื่อนไขเพื่อใสคําอธิบาย ประกอบแบบ มองเห็นไดใหกับขอมูลของเราเพื่อวัตถุประสงคท้งั ในการวิเคราะหและการนําเสนอ เมื่อตองการคนหา ขอยกเวนและกําหนดตําแหนงแนวโนมที่สาํ คัญในขอมูลของเราอยางงายดาย เรา สามารถใชและจัดการกับกฎ การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขตางๆ ซึ่งนําการจัดรูปแบบที่มองเห็นได แบบเพิ่มเติมมาใชกับขอมูลที่ตรงกับกฎนัน้ ๆ ในรูปแบบของการไลระดับสี แถบขอมูล และชุดไอ คอนได นอกจากนี้ การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขยังงายตอ การนําไปใชอกี ดวย เพียงการคลิกเพียงไมกี่ ครั้ง เราก็สามารถมองเห็นความสัมพันธในขอมูลของเราซึ่งเรา สามารถใชเพื่อทําการวิเคราะหได การเขียนสูตรอยางงาย การปรับปรุงดังตอไปนี้ทาํ ใหการเขียนสูตรใน Office Excel 2007 งายยิ่งขึ้น แถบสูตรแบบปรับขนาดได แถบสูตรจะปรับขนาดใหรองรับสูตรที่ยาวและซับซอน ไดโดยอัตโนมัติ ซึ่งปองกันไมใหสตู รครอบคลุมขอมูลอื่นในแผนงานของเรา เรายังสามารถเขียน สูตรไดยาวขึน้ โดยมีระดับที่ ซอนกันมากกวาที่เราสามารถทําไดใน Excel รุนกอนหนา ฟงกชนั การทําใหสมบูรณอตั โนมัติ ดวยฟงกชนั การทําใหสมบูรณอตั โนมัติ เราจึง สามารถเขียน ไวยากรณของสูตรที่เหมาะสมไดอยางรวดเร็ว จากการตรวจพบฟงกชนั ที่เราตองการ ใชเพื่อชวยทําให อารกิวเมนตของสูตรสมบูรณอยางงายๆ ทําใหเราไดสตู รที่เหมาะสมตั้งแตแรกและ ในทุกครั้ง การอางอิงที่มแี บบแผน นอกจากการอางอิงเซลล เชน A1 และ R1C1 แลว Office Excel 2007 ยังมีการ อางอิงที่มแี บบแผนที่อา งถึงชวงและตารางที่มชี ่อื ในสูตรเชนกัน

9

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเขาถึงชวงที่มชี ่อื อยางงาย โดยใชตัวจัดการชื่อของ Office Excel 2007 เรา สามารถจัดระเบียบ ปรับปรุง และจัดการชวงที่มชี ่อื หลาย ๆ ชวงในตําแหนงที่ตั้งสวนกลาง ซึ่งชวย ใหบคุ คลใดก็ตามที่ตองการ ทํางานบนแผนงานของเราสามารถแปลสูตรและขอมูลของแผนงานได สูตร OLAP และฟงกชนั คิวบใหม เมื่อเราทํางานกับฐานขอมูลหลายมิติ (เชน บริการการวิเคราะห SQL Server) ใน Office Excel 2007 เรา สามารถใชสตู ร OLAP เพื่อสรางรายงานที่ถกู ผูกไวกับขอมูล OLAP โดยมี รูปแบบอิสระและซับซอนได ฟงกชนั คิวบใหมจะใชเพื่อแยกขอมูล OLAP (ชุดขอมูลและคา) จาก บริการการวิเคราะหและแสดงขอมูล OLAP ในเซลล สูตร OLAP อาจถูกสรางขึ้นเมื่อเราแปลงสูตร ใน PivotTable เปนสูตรในเซลล หรือเมื่อเราใชการทําให สมบูรณอตั โนมัติสาํ หรับอารกิวเมนตของ ฟงกชนั คิวบเมื่อเราพิมพสตู รตางๆ การเรียงลําดับและการกรองที่ปรับปรุงขึน้ ใน Office Excel 2007 เราสามารถจัดเรียงขอมูลในแผนงานของเราไดอยางรวดเร็ว เพื่อคนหาคําตอบที่ เราตองการโดยใชการกรองและการเรียงลําดับที่ไดปรับปรุงเพิ่มเติมแลว ตัวอยางเชน ขณะนี้เราสามารถ เรียงลําดับขอมูลตามสีและตามระดับมากกวา 3 (และมากถึง 64) ระดับ นอกจากนี้ เรายังสามารถกรองขอมูลตาม สีหรือตามวันที่ แสดงรายการมากกวา 1,000 รายการในรายการแบบหลนลงของตัวกรองอัตโนมัติ เลือกหลาย รายการเพื่อกรอง และกรองขอมูล ใน PivotTable ไดอกี ดวย การเพิ่มคุณสมบัติใหกับตารางของ Excel ใน Office Excel 2007 เราสามารถใชสว นติดตอผูใชใหมเพื่อสราง จัดรูปแบบ และ ขยายตาราง Excel (หรือคือรายการ Excel ใน Excel 2003) ไดอยางรวดเร็วเพื่อจัดระเบียบขอมูลใน แผนงานของเราเพื่อใหทาํ งาน ไดงา ยขึ้น หนาที่การใชงานใหมหรือที่ไดรับการปรับปรุงสําหรับ ตารางนั้นรวมถึงคุณลักษณะตอไปนี แถวสวนหัวของตาราง แถวสวนหัวของตารางสามารถเปดหรือปดได เมื่อสวนหัว ของตารางถูกแสดง สวนหัวของตารางยังคงมองเห็นไดพรอมกับขอมูลในคอลัมนของตารางดวย การแทนที่สว นหัวของแผนงาน เมื่อเราเลื่อนไปเรื่อยๆ ในตารางแบบยาว คอลัมนจากการคํานวณ คอลัมนจากการคํานวณจะใชสตู รเดียวที่จะปรับไปตามแถว แตละแถว และยัง ขยายโดยอัตโนมัติเพื่อรวมแถวเพิ่มเติม เพื่อใหสตู รถูกขยายไปยังแถวเหลานั้นได ทันที สิ่งที่เราตองทําทั้งหมด คือ ใสสตู รเพียงครั้งเดียว ซึ่งนั่นก็คือเราไมจําเปนตองใชคําสั่ง 'เติม' หรือ 'คัดลอก' การกรองอัตโนมัติแบบอัตโนมัติ ตัวกรองอัตโนมัติจะถูกเปดอยูตามคาเริ่มตนใน ตารางเพื่อเปดใชงาน การเรียงลําดับและการกรองขอมูลในตารางอยางมีประสิทธิภาพ

10

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การอางอิงที่มแี บบแผน การอางอิงชนิดนี้อนุญาตใหเราใชช่อื สวนหัวของคอลัมน ตารางในสูตรแทน การใชการอางอิงเซลล เชน A1 หรือ R1C1 แถวผลรวม ในแถวผลรวม ขณะนี้เราสามารถใชสตู รแบบกําหนดเองและรายการ ขอความได ลักษณะตาราง เราสามารถนําลักษณะตารางไปใชในการเพิ่มการจัดรูปแบบที่มี คุณภาพระดับนัก ออกแบบและเปนมืออาชีพไดอยางรวดเร็ว ถาลักษณะแถวแบบอื่นถูกเปดใชงาน ในตาราง Excel จะคงกฎ เกี่ยวกับลักษณะแบบอื่นนัน้ ตลอดการกระทําที่อาจทําลายเคาโครงนี้ได เชนการกรอง การซอนแถว หรือการ จัดเรียงแถวและคอลัมนใหมดวยตนเอง ลักษณะหนาตาใหมของแผนภูมิ ใน Excel 2007 เราสามารถใชเครื่องมือการสรางแผนภูมใิ หมเพื่อสรางแผนภูมทิ ่มี ี ลักษณะเปนมืออาชีพ ที่ส่อื สารขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพไดอยางงายดาย และโดยตามชุด รูปแบบที่ถกู นําไปใชกับสมุดงานของเรา ลักษณะหนาตาใหมท่ที นั สมัยของแผนภูมนิ ั้นรวมถึง ลักษณะพิเศษ เชน สามมิติ ความโปรงใส และเงาจาง เปน ตน สวนติดตอผูใ ชใหมชว ยใหการสํารวจชนิดแผนภูมทิ ่มี อี ยูงา ยขึ้น เพื่อใหเราสามารถ สรางแผนภูมทิ ่ี เหมาะสมกับขอมูลของเรา นอกจากนี้ นอกจากนี้ ลักษณะและเคาโครงแผนภูมทิ ่ี กําหนดไวลว งหนาเปนจํานวน มากยังมีเตรียมไวใหเพื่อใหเรานํารูปแบบที่สวยงามไปใชไดอยาง รวดเร็วและมีรายละเอียดที่เราตองการใน แผนภูมขิ องเราอีกดวย ตัวเลือกองคประกอบแผนภูมทิ ่มี องเห็นได นอกจากเคาโครงดวนและรูปแบบดวน แลว ขณะนี้เรา สามารถใชสว นติดตอผูใชใหมเพื่อเปลี่ยนแปลงทุกองคประกอบของแผนภูมไิ ดอยาง รวดเร็วเพื่อนําเสนอขอมูล ของเราไดอยางดีท่สี ดุ และดวยเพียงการคลิกไมกี่ครั้ง เราสามารถเพิ่มและ เอาชื่อแผนภูมิ คําอธิบายแผนภูมิ ปาย ชื่อขอมูล เสนแนวโนม และองคประกอบแผนภูมอิ ่นื ๆ ได ลักษณะหนาตาที่ทนั สมัยดวย OfficeArt เนื่องจากแผนภูมใิ น Excel 2007 ถูกวาดดวย OfficeArt ดังนั้น เกือบทุกสิ่งที่เราสามารถทํากับรูปราง OfficeArt จึงสามารถทําไดกับแผนภูมแิ ละ เสนและแบบอักษรที่ชดั เจน เสนในแผนภูมจิ ะปรากฏรอยขรุขระนอยกวา และแบบ อักษร ClearType จะถูกนํามาใชกับขอความเพื่อเพิ่มความสามารถในการอาน สีท่มี ากกวาที่เคยมี เราสามารถเลือกจากสีชดุ รูปแบบที่กําหนดไวลว งหนาไดอยาง งายดายและเปลี่ยน ความแตกตางของความเขมสี สําหรับตัวควบคุมเพิ่มเติม เรายังสามารถเพิ่มสีของ เราเองดวยการเลือกจาก 16 ลานสีในกลองโตตอบสี ไดอกี ดวย แมแบบแผนภูมิ การบันทึกแผนภูมโิ ปรดของเราเปนแมแบบแผนภูมยิ ิ่งเปนเรื่องงาย ขึ้นในสวนติดตอ ผูใชใหม

11

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การสรางแผนภูมทิ ี่ใชรว มกัน การใชแผนภูมิ Excel ในโปรแกรมอื่น ใน 2007 Office release การสรางแผนภูมจิ ะถูก ใชรวมกัน ระหวาง Excel, Word และ PowerPoint แทนที่จะใชคณ ุ ลักษณะการสรางแผนภูมทิ ่มี อี ยู ใน Microsoft Graph ขณะนี้ Word และ PowerPoint ไดรวมคุณลักษณะการสรางแผนภูมทิ ่มี ี ประสิทธิภาพของ Excel เขาไวดวยกัน และเนื่องจากแผนงาน Excel ถูกใชเปนแผนขอมูลแผนภูมิ สําหรับแผนภูมใิ น Word และ PowerPoint การสราง แผนภูมทิ ่ใี ชรวมกันจึงมีหนาที่การใชงานของ Excel มากมาย รวมทั้งการใชสตู ร การกรอง การเรียงลําดับ และ ความสามารถในการเชื่อมโยง แผนภูมไิ ปยังแหลงขอมูลภายนอก เชน Microsoft SQL Server และบริการการ วิเคราะห (OLAP) เพื่อใหไดขอมูลลาสุดในแผนภูมขิ องเรา สําหรับแผนงาน Excel ที่มขี อมูลแผนภูมขิ องเราอาจ เก็บอยู ในเอกสาร Word หรืองานนําเสนอ PowerPoint หรือในแฟมที่แยกตางหากเพื่อลดขนาดเอกสารของ เรา การคัดลอกแผนภูมไิ ปยังโปรแกรมอื่น แผนภูมสิ ามารถถูกคัดลอกและวางขาม ระหวางเอกสารหรือจาก โปรแกรมหนึ่งไปยังโปรแกรมอื่นไดอยางงายดาย เมื่อเราคัดลอกแผนภูมิ จาก Excel ไปยัง Word หรือ PowerPoint แผนภูมจิ ะไดรับการเปลี่ยนแปลงใหตรงตามเอกสาร Word หรืองานนําเสนอ PowerPoint โดย อัตโนมัติ แตเรายังสามารถเก็บรูปแบบแผนภูมิ Excel ไว ไดดวย ขอมูลในแผนงาน Excel สามารถฝงตัวใน เอกสาร Word หรืองานนําเสนอ PowerPoint ได ทั้งนี้เราสามารถทิ้งไวในแฟมตนฉบับ Excel ไดเชนกัน การทําใหแผนภูมเิ คลื่อนไหวใน PowerPoint ใน PowerPoint เราสามารถใช ภาพเคลื่อนไหวไดอยาง งายดายขึ้นเพื่อเนนขอมูลในแผนภูมทิ ่ใี ชใน Excel เราสามารถทําใหท้งั แผนภูมหิ รือขอความคําอธิบายแผนภูมิ และปายชื่อแกนเคลื่อนไหวได ในแผนภูมคิ อลัมน เรา สามารถแมแตการทําใหคอลัมนแตละคอลัมนเคลื่อนไหว เพื่อแสดงแตละประเด็นไดดียิ่งขึ้น คุณลักษณะภาพเคลื่อนไหวนั้นหาไดงา ย และเราสามารถควบคุมไดมากขึ้น ตัวอยางเชน เราสามารถ PivotTables ที่ใชงานงาย ใน Excel 2007 นั้น PivotTable จะใชงานงายกวาใน Excel รุนกอนหนา โดยใชสว น ติดตอผูใชใหมของ PivotTable ขอมูลตางๆ ที่เราตองการแสดงเกี่ยวกับขอมูลของเราจะแสดงขึ้นมา ดวยการคลิกเพียงไมกี่ครั้ง เรา ไมตองลากขอมูลไปยังโซนที่จะปลอยซึ่งมักจะไมใชเปาหมายงายๆ อีกตอไป เราพียงแคเลือกเขตขอมูลที่ ตองการดูในรายการเขตขอมูล PivotTable ใหมแทนเทานัน้ และหลังจากเราสราง PivotTable แลว เราสามารถใชประโยชนของคุณลักษณะที่ ปรับปรุงหรือ คุณลักษณะใหมอ่นื ๆ มากมายเพื่อสรุป วิเคราะห และจัดรูปแบบขอมูล PivotTable ของเราได การใชการเลิกทําใน PivotTable ขณะนี้เราสามารถเลิกทําการกระทําสวนใหญท่เี รา ไดทาํ เพื่อสรางหรือ จัดเรียง PivotTable ใหมได

12

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวบงชี้การเขาถึงรายละเอียดมากขึ้นหรือนอยลง ตัวบงชี้เหลานี้ใชเพื่อระบุวาเรา สามารถขยายหรือยุบ สวนตางๆ ของ PivotTable เพื่อดูขอมูลที่เพิ่มขึ้นหรือนอยลงไดหรือไม การเรียงลําดับและการกรอง ขณะนีก้ ารเรียงลําดับนั้นทําไดงา ยเพียงแคเลือกรายการ ในคอลัมนท่เี รา ตองการเรียงลําดับและใชปมุ 'เรียงลําดับ' เราสามารถกรองขอมูลไดโดยใชตัวกรอง PivotTable เชน 'มากกวา' 'เทากับ' หรือ 'มี' การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข เราสามารถนําการจัดรูปแบบตามเงื่อนไขไปใชกับ Pivot Table ของ Excel 2007 ไดตามเซลลหรือตามจุดตัดของเซลล ลักษณะและเคาโครงของ PivotTable เชนเดียวกับที่เราสามารถทําไดกับตารางและ แผนภูมิ Excel เรา สามารถนําลักษณะที่กําหนดไวลว งหนาหรือที่กําหนดเองไปใชกับ PivotTable ไดอยางรวดเร็ว และการเปลี่ยน เคาโครงของ PivotTable ก็ยังทําไดงา ยขึ้นในสวนติดตอผูใชใหมนี้ PivotChart ดวยลักษณะเดียวกันกับ PivotTable นั้น PivotChart จะสรางขึ้นไดงา ย กวามากในสวน ติดตอผูใชนี้ การปรับปรุงการกรองทั้งหมดยังพรอมใหใชงานสําหรับ PivotChart อีกดวย เมื่อเราสราง PivotChart เครื่องมือ PivotChart ที่เฉพาะเจาะจงและเมนูบริบทจะพรอมใหใช งานเพื่อใหเราสามารถวิเคราะห ขอมูลในแผนภูมไิ ด เรายังสามารถเปลี่ยนเคาโครง ลักษณะ และ รูปแบบของแผนภูมหิ รือองคประกอบตางๆ ดวยวิธเี ดียวกันกับที่เราสามารถทําไดกับแผนภูมทิ ่วั ไป ใน Excel 2007 การจัดรูปแบบแผนภูมทิ ่เี รานําไปใชจะ สงวนไวเมื่อเราเปลี่ยนแปลง PivotChart ซึ่ง เปนการปรับปรุงจากวิธกี ารทํางานเดิมใน Excel รุนกอนหนา การเชื่อมตอกับขอมูลภายนอกอยางรวดเร็ว ใน Excel 2007 เราไมจําเปนตองทราบชื่อเซิรฟเวอรหรือฐานขอมูลของแหลงขอมูล ขององคกรอีก ตอไป เพราะเราสามารถใช 'เปดใชดวน' เพื่อเลือกจากรายการแหลงขอมูลที่ผดู ูและ รูปแบบแฟมแบบใหม รูปแบบแฟมจาก XML ใน 2007 Microsoft Office system Microsoft ไดแนะนํา รูปแบบแฟมใหม สําหรับ Word, Excel และ PowerPoint ที่เรียกวารูปแบบ Microsoft Office Open XML โดยรูปแบบแฟมแบบ ใหมเหลานี้จะชวยอํานวยความสะดวกใหกับการรวมกับแหลงขอมูล ภายนอก และยังใหขนาดแฟมที่ลดลง รวมทั้งการกูค ืนขอมูลที่ไดรับการปรับปรุงอีกดวย ใน Office Excel 2007 รูปแบบเริ่มตนสําหรับสมุดงาน Excel จะเปนรูปแบบแฟม Excel 2007 จาก XML (.xlsx) สวนรูปแบบจาก XML อื่นที่มอี ยูไดแก รูปแบบแฟม Excel 2007 ที่เปดใชงานในแมโครและ จาก XML (.xlsm) รูปแบบแฟม Office Excel 2007 สําหรับแมแบบ Excel (.xltx) และรูปแบบแฟม Office Excel 2007 ที่เปดใชงานในแมโครสําหรับแมแบบ Excel (.xltm)

13

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปแบบแฟม Excel 2007 แบบไบนารี นอกจากรูปแบบแฟมจาก XML แบบใหมแลว Excel 2007 ยัง แนะนํารุนไบนารีของรูปแบบแฟมที่บบี อัดแบบเปนสวนๆ สําหรับสมุดงานขนาด ใหญหรือซับซอนอีกดวย รูปแบบแฟม Excel 2007 แบบไบนารี (หรือ BIFF12) (.xls) นี้สามารถใช เพื่อใหไดประสิทธิภาพสูงสุดและมี ความเขากันไดแบบยอนกลับ ความเขากันไดกับ Excel รุนกอนหนา เราสามารถตรวจสอบสมุดงาน Excel 2007 เพื่อดูวาสมุดงานมี คุณลักษณะหรือการจัดรูปแบบที่เขากันไมไดกับ Excel รุนกอนหนาหรือไม เพื่อใหเราสามารถทําการ เปลี่ยนแปลงที่จําเปนสําหรับความเขากันไดแบบยอนกลับที่ดีขึ้น ใน Excel รุนกอนหนา เราสามารถติดตั้ง โปรแกรมปรับปรุงและตัวแปลงที่ชว ยเราเปดสมุดงาน Excel 2007 เพื่อใหเราสามารถแกไข บันทึก และเปดสมุด งานนั้นอีกครั้งไดใน Excel 2007 โดยไมสญ ู เสีย คุณลักษณะหรือหนาที่การใชงานที่เฉพาะเจาะจงกับ Excel 2007 ไป ประสบการณการพิมพที่ดีขึ้น มุมมองเคาโครงหนากระดาษ นอกจากมุมมอง ปกติ และมุมมอง แสดงตัวอยางตัว แบงหนา แลว Excel 2007 ยังมีมมุ มอง เคาโครงหนากระดาษ ดวย เราสามารถใชมมุ มองนี้สราง แผนงานในขณะที่คอยดูวาแผนงาน นั้นจะมีลกั ษณะหนาตาอยางไรในรูปแบบที่พิมพออกมา ใน มุมมองนี้ เราสามารถทํางานกับสวนหัว สวนทาย และการตั้งคาระยะขอบหนากระดาษที่เหมาะสม ในแผนงาน และวางวัตถุ เชน แผนภูมหิ รือรูปราง ในตําแหนง ที่เราตองการวางไดอยางแมนยํา นอกจากนี้ เรายังสามารถเขาถึงตัวเลือกการตั้งคาหนากระดาษทั้งหมดบนแท็บ เคาโครง หนากระดาษ ในสวนติดตอผูใชใหมไดงา ยดายเพื่อใหเราสามารถระบุตัวเลือก เชนการวางแนว หนากระดาษ ไดอยางรวดเร็ว ดั้งนั้นจึงทําใหงา ยที่จะเห็นสิ่งที่จะพิมพบนทุกๆ หนา ซึ่งจะชวยใหเรา หลีกเลี่ยง การตองพยายามพิมพหลายครั้งและไมมขี อมูลที่ตัดทอนในสิ่งที่พิมพออกมา การบันทึกเปนรูปแบบ PDF และ XPS เราสามารถบันทึกเปนแฟม PDF หรือ XPS จากโปรแกรม 2007 Microsoft Office system เฉพาะเมื่อเราติดตั้ง Add-in สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดดูท่ี การเปดใชการสนับสนุน รูปแบบแฟมอื่น เชน PDF และ XPS (แสดงเปนภาษาอังกฤษ) วิธีการใหมในการใชงานรวมกัน การใช Excel Services เพื่อใชงานของเรารวมกัน ถาเราเขาถึง Excel Services ได เรา สามารถใช Excel Services เพื่อใชขอมูลแผนงาน Excel 2007 ของเรารวมกับผูใชรายอื่นๆ ได เชน ผูบริหารและผูถอื หุนใน หนวยงานของเรา เปนตน ใน Excel 2007 เราสามารถบันทึกสมุดงานเปน Excel Services และระบุขอมูลแผน งานที่ตองการใหผใู ชรายอื่นมองเห็นได ในเบราวเซอร (เบราว เซอร: ซอฟตแวรท่ตี ีความแฟม HTML จัดรูปแบบและแสดงผลแฟม HTML ใหเปนเว็บเพจ เว็บเบ ราวเซอร เชน Windows Internet Explorer จะ

14

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

สามารถตามการเชื่อมโยงหลายมิติ ถายโอนแฟม และ ทํางานกับแฟมเสียงหรือวิดีโอที่ฝง อยูในเว็บเพจนั้นได) ผูใชสามารถใช Microsoft Office Excel Web Access เพื่อแสดง วิเคราะห พิมพและแยกขอมูลแผนงานนี้ได นอกจากนี้ผใู ชยังสามารถสราง Snapshot แบบคงที่ของขอมูลในชวงเวลาปกติหรือตามที่ตองการได Office Excel Web Access ทํา ใหงา ยตอการทํากิจกรรม เชน การเลื่อน การกรอง การเรียงลําดับ การแสดงแผนภูมิ และ การใชการ เขาถึงรายละเอียดใน PivotTables อีกทั้งเรายังสามารถเชื่อมตอ Excel Web Access Web Part กับ Web Part อื่นๆ เพื่อแสดงขอมูลในวิธอี ่นื และเมื่อมีสทิ ธิ์ท่เี หมาะสม ผูใช Excel Web Access สามารถเปดสมุด งานใน Excel 2007 เพื่อใหสามารถใช Excel ไดอยางเต็มประสิทธิภาพเพื่อ วิเคราะหและทํางานกับขอมูลใน เครื่องคอมพิวเตอรของผูใ ชเองถาผูใชไดติดตั้ง Excel ไว การใชวิธนี ี้เพื่อใชงานของเรารวมกันทําใหแนใจไดวาผูใชรายอื่นสามารถเขาถึงขอมูล รุนเดียวกันใน ตําแหนงที่ตั้งเดี่ยว ซึ่งเราสามารถเก็บขอมูลปจจุบนั ที่มรี ายละเอียดลาสุดได ถาเรา ตองการใหบคุ คลอื่น เชน สมาชิกในทีม ใหขอคิดเห็นและขอมูลที่ปรับปรุงแลว เราอาจตองการใช สมุดงานรวมกันในวิธเี ดียวกับที่เราทํา ใน Excel รุนกอนหนาเพื่อรวบรวมขอมูลที่เราตองการกอน เราจะบันทึกลงใน Excel Services การใชเซิรฟเวอรการจัดการเอกสาร Excel Services สามารถรวมกับเซิรฟเวอรการ จัดการเอกสารเพื่อ สรางขั้นตอนการตรวจสอบความถูกตองตลอดรายงานใหมของ Excel และการ กระทําเวิรก โฟลวการคํานวณ สมุดงาน เชน การแจงใหทราบตามเซลลหรือขั้นตอนเวิรกโฟลวตาม การคํานวณที่ซบั ซอนของ Excel นอกจากนี้เรายังสามารถใชเซิรฟเวอรการจัดการเอกสารเพื่อจัด กําหนดการการคํานวณตัวแบบของสมุดงานที่ ซับซอนในเวลากลางคืนไดอกี ดวย การเขาถึงดวนไปยังแมแบบเพิ่มเติม ใน Excel 2007 เราสามารถใชสมุดงานใหมตามแมแบบตางๆ ที่ถกู ติดตั้งมากับ Excel หรือเราอาจเขาถึง ดวนและดาวนโหลดแมแบบจากเว็บไซต Microsoft Office Online ก็ได 2. สวนประกอบของโปรแกรม Excel 2007 การเรียกใชโปรแกรม Excel 2007 การเรียกใชโปรแกรม Excel 2007 สามารถเรียกใชไดใน 2 ลักษณะ คือ 1. จากปุมเมนูเริ่ม Start\ New Office Document จะเปดกลองโตตอบ New Office Document สามารถ เปดเปนสมุดงานเปลา หรือสมุดงานจากแมแบบก็ได

15

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-1 การเปดแมแบบ Excel 2007 จากปุมStart\New Office Document 2. จากปุมเมนูเริ่ม Start\Programs\Microsoft Office\Microsoft Office Excel 2007

รูปที่ 2-2 การเรียกใช Excel 2007 การเปดแฟมสมุดงานเกาของโปรแกรม Excel 2007 สามารถเรียกใชไดใน 5 ลักษณะ คือ 1. จากปุมเมนูเริ่ม Start\All Programs\เปดเอกสาร Microsoft Office จะเปดกลองโตตอบ Open Office Document แลวเลือกแฟมสมุดงานที่ตองการ

16

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-3 การเปดแฟมสมุดงานเกา จากปุม Start\Open Office Document 2. จากปุมเมนูเริ่ม Start\Document

รูปที่ 2-4 การเปดแฟมสมุดงานเกา จากปุม Start\Document

17

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. จากหนาตางโปรแกรม Excel 2007 คลิกที่ปมุ Office จะเปดเมนูใหเลือกแฟมเอกสาร ลาสุด

รูปที่ 2-5 การเปดแฟมสมุดงานเกา จากปุม Office \Recent Document 4. จากหนาตางโปรแกรม Excel 2007 คลิกที่ปมุ Office เลือกรายการ Open จะเปดกลอง โตตอบ

รูปที่ 2-6 การเปดแฟมสมุดงานเกา จากปุม Office\Open 5. จากหนาตางโปรแกรม Windows Explorer ไปที่ท่เี ก็บแฟมสมุดงาน แลวดับเบิลคลิก เรียกแฟมสมุดงาน เกาออกมา

รูปที่ 2-7 การเปดแฟมสมุดงานเกา คลิกขวาที่ Start \Explore

18

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-8 ลักษณะของไอคอนแฟมสมุดงาน Excel สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2007 เมื่อโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ถูกเปดขึ้นมาแลว จะใชช่อื ไฟลวา Book 1 เสมอ แตถา เปดแฟม ใหมตอไปอีกก็จะใชช่อื เปน Book 2 Book 3 ตอไปเรื่อย ๆโดยมี สวนประกอบ ของ โปรแกรม Microsoft Excel 2007

รูปที่ 2-9 สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2007

19

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2007 มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ Title bar เปนสวนที่แสดงชื่อของโปรแกรม และชื่อไฟลสมุดงานที่เราเรียกใช Office Bottom เปนปุมรายการที่รวบรวมคําสั่งหลัก ใชแทนที่เมนูแฟมในรุน ๆ กอน ซึ่งมีเมนู 9 รายการ รายการ เอกสารลาสุด ปุมตัวเลือกของ Excel และปุมออกจาก Excel มีรายละเอียดดังนี้

รูปที่ 2-10 ปุม Office ควบคุมรายการหลัก

1. New เปนเมนูท่ใี ชสรางสมุดงาน ซึ่งมีหวั ของานอยู 2 หัวขอ คือ แมแบบ และ Microsoft Office Online โดยที่หวั ขอแมแบบ มีเมนูยอย 4 เมนู ไดแก Bank and recent Installed Templates My Templates และNew from exiting สวนแมแบบจาก Microsoft Office Online มีแมแบบอยู 21 ประเภท ไดแก Featured Agendas Budgets Calendars เปนตน ซึ่งแตละปะเภทจะมีแมแบบ ใหเลือกอีกหลาย แมแบบ

รูปที่ 2-11 สมุดงานใหมท่แี มแบบวางและลาสุด

20

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. Open เปนเมนูใชเปดสมุดงานเกาจากที่ท่เี ก็บงานไว สวนทางดานขวามือเปนรายชื่อ แฟมสมุดงาน ตาง ๆ ที่เปนเอกสารลาสุดที่ไดเปดงานมาใช สามารถเลือกชื่อแฟมสมุดงานเปดได ทันทีเลย ถาแฟม สมุดงานนั้น ๆ ยังอยูท่เี ดิม และไมไดถกู เปลี่ยนชื่อ

รูปที่ 2-12 การเปดสมุดงานเกาจากแหลงที่อยูของแฟมงาน 3. Save เปนเมนูใชในการจัดเก็บงานตาง ๆ ที่อยูในสมุดงานอยางรวดเร็ว ถาเปนการ สรางสมุดงาน ใหม การบันทึกจะตองไปที่ท่ตี องการจัดเก็บ และตั้งชื่อสมุดงาน รวมทั้งสามารถที่จะ เปลี่ยนชนิดของ แฟมไดดวย สวนการบันทึกในสมุดงานเดิม จะเปนการจัดเก็บอยางรวดเร็วในที่เก็บ เดิม และชื่อเดิม

รูปที่ 2-13 ปุม Office ที่มรี ายการคําสั่งบันทึก

4. Save as เปนเมนูใชในการจัดเก็บงานตาง ๆ ที่อยูในสมุดงาน ซึ่งมีเมนูยอยใหเลือกตออีก ไดแก การ บันทึกจะตองไปที่ท่ตี องการจัดเก็บ และตั้งชื่อสมุดงาน รวมทั้งสามารถที่จะเปลี่ยนชนิด ของแฟมได

21

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-14 ปุม Office มีรายการ Save as และมีรายการยอยอีก 5. Print เปนเมนูใชพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ มีท้งั Print แลวไปตั้งคาตัวเลือกตาง ๆ Quick Print และ Print Preview

รูปที่ 2-15 คําสั่ง Print ในปุม Office

เปนตน

6. Prepare เปนเมนูใชจดั เตรียมงานตาง ๆ ไดแก Properties, Inspect Document , Encrypt Document

22

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-16 คําสั่ง Prepare ในปุม Office 7. Send เปนเมนูใชสง เอกสาร E-mail และ Internet Fax

รูปที่ 2-17 คําสั่ง Send ในปุม Office 8. Publish เปนเมนูใชประกาศกระจายเอกสารไปยังบุคคลอื่น บันทึกสําหรับ Excel Services เซิรฟเวอร การจัดการเอกสาร และสรางพื้นที่การทํางานเอกสาร

23

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-18 คําสั่ง Publishในปุม Office 9. Close เปนเมนูใชปด สมุดงานที่กําลังเปดใชงานอยู

รูปที่ 2-19 คําสั่งปดในปุม Office

10. Excel Options เปนเมนูใชกําหนดคาตัวเลือกตาง ๆ ที่นํามาใชในโปรแกรม

รูปที่ 2-20 คําสั่ง Excel Options ในปุม Office

24

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

10.1 Popular ในกลองโตตอบ Excel Options มีรายการ Edit custom list สามารถสราง รายการขอความตาง ๆ ที่เปนลําดับเพิ่มเติมไวใชงานเองได แบบชุดสี รูปแบบอักษร จํานวน แผนงาน ชื่อผูใช และการตั้งคาภาษา

รูปที่ 2-21 รายการเปนที่นิยม ในกลองโตตอบ Excel Options

รูปที่ 2-22 รายการ Edit Custom list ใชในการเตรียมงานตัวเติมอัตโนมัติ 10.2 Formula เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Options ที่มรี ายการ ตัวเลือกการ คํานวณ การทํางานกับสูตร การตรวจสอบขอผิดพลาด และกฎการตรวจสอบ ขอผิดพลาด

25

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-23 รายการ Formula ในกลองโตตอบ Excel Options 10.3 Proofing เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Options ที่มี รายการตัวเลือกการ แกไขอัตโนมัติ การแกไขตัวสะกด และพจนานุกรม

รูปที่ 2-24 รายการ Proofing ในกลองโตตอบ Excel Options 10.4 Save เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Options ที่มรี ายการ บันทึกสมุดงาน ตัวเลือกการแกไขแบบออฟไลน และรักษาลักษณะที่มองเห็นของสมุดงาน

26

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-25 รายการSave ในกลองโตตอบ Excel Options 10.5 Advanced เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Option ที่มรี ายการ ตัวเลือกการ แกไข ตัด คัดลอก และวาง การพิมพ แสดง ตัวเลือกการแสดง สูตร ทั่วไป

รูปที่ 2-26 รายการ Advanced ในกลองโตตอบ Excel Option 10.6 Customize เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Option ที่มี รายการ กําหนดแถบ เครื่องมือดวนเอง

27

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-27 รายการCustomize ในกลองโตตอบ Excel Option Add-in

10.7 Add-in เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Options ที่มกี ารแสดง และจัดการ

รูปที่ 2-28 รายการ Add-in ในกลองโตตอบ Excel Option 10.8 Trust center เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Option ที่ ชวยรักษาเอกสารให ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

28

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-29 รายการ Trust center ในกลองโตตอบ Excel Option 10.9 Resources เปนรายการในกลองโตตอบ Excel Options ที่มี รายการรับโปรแกรม ปรับปรุง เรียกใชการวินิจฉัย ติดตอเรา ไปที่เว็บไซต

รูปที่ 2-30 รายการ Resources ในกลองโตตอบ Excel Options

ดวย

11. Exit Excel เปนปุมใชออกจากโปรแกรมหรือจบการทํางานของโปรแกรม ซึ่งจะปดแฟม สมุดงานตาง ๆ

29

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-31 คําสั่งExit Excel ในปุม Office Tool bar เปนสวนที่แสดงคําสั่งที่ใชบอ ย ๆ อยูดานบนซายของหนาตาง (อาจสั่งใหอยูใต Ribbon ก็ได) ที่ แสดงในรูปของปุมรูปภาพ หรือไอคอน โดยปกติจะมีปมุ บันทึก เลิกทํา ทําซ้ํา ฯลฯ ซึ่ง สามารถเพิ่มปุมคําสั่งที่ ใหมาในรายการของแถบเครื่องมือ แลวคลิกถูกเลือกรายการที่ตองการหรือ คลิกขวาที่ปมุ ที่ใชงานในแท็บตาง ๆ บน Ribbon แลวเลือกเพิ่มลงในแถบเครื่องมือดวน นอกจากนี้ ยังสมารถเพิ่มปุมเครื่องมือดวน ไดโดยใชคําสั่ง เพิ่มเติม หรือใชรายการกําหนดแถบเครื่องมือดวน เองในกลองโตตอบ Excel Options ที่ปมุ Office

รูปที่ 2-32 Quick Access อยูเหนือ/ใต Ribbon และรายการคําสั่ง/เพิ่มปุมคําสั่ง Ribbon เปนสวนที่แสดงคําสั่งตาง ๆ แบงออกเปนแท็บ ๆ แท็บ ในแตละแท็บจะมีกลุมชื่อ/ ชุดคําสั่งอยู ดานลาง และมีปมุ คําสั่งไวใชงานแทนเมนูแบบเกา ๆ โดยบางแท็บจะมีปมุ นอย ๆ หรือ จุดมุมดานลางขวามือไว

30

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

สําหรับเรียกกลองโตตอบออกมาใชงานไดละเอียดมากขึน้ นอกจากนี้หาก ไมใชงานสามารถยอ Ribbon ไดอกี ดวย

รูปที่ 2-33 แถบเครื่องมือ Ribbon และเมนูยอใหเล็กสุด 1. แท็บ Home เปนแท็บ Home ที่ใหมาเมื่อเปดโปรแกรม/งานเขามา ซึ่งจะเปนคําสั่งมาตรฐาน ที่ จําเปนตองใชงานบอย ๆ มีกลุมคําสั่ง ไดแก คลิปบอรด แบบอักษร การจัดแนว ตัวเลข ลักษณะ เซลล และการแกไข เปนตน

รูปที่ 2-33 แท็บ Home บนแถบเครื่องมือ Ribbon 2. แท็บ Insert เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการแทรกงานตาง ๆ ไดแก ตาราง ภาพประกอบ แผนภูมิ การเชื่อมโยง และขอความ เปนตน

รูปที่ 2-34 แท็บ Insert บนแถบเครื่องมือ Ribbon 3. แท็บ Page Layout เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการจัดการหนากระดาษตาง ๆ ไดแก ชุด รูปแบบ ตั้งคา หนากระดาษ ปรับพอดี ตัวเลือกของแผนงาน และจัดเรียง เปนตน

รูปที่ 2-35 แท็บ Page Layout บนแถบเครื่องมือ Ribbon

31

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. แท็บ Formulas เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการจัดการเกี่ยวกับสูตรหรือฟงกชนั ตาง ๆ ไดแก ไลบรารี ฟงกชนั ชื่อที่กําหนด ตรวจสอบสูตร และการคํานวณ เปนตน

รูปที่ 2-36 แท็บ Formulas บนแถบเครื่องมือ Ribbon 5. แท็บ Data เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการจัดการขอมูลตาง ๆ ไดแก รับขอมูล ภายนอก การ เชื่อมตอ เรียงลําดับและกรอง เครื่องมือขอมูล และเคาราง เปนตน

รูปที่ 2-37 แท็บ Data บนแถบเครื่องมือ Ribbon 6. แท็บ Review เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการตรวจทานพิสจู นอกั ษร สรางขอคิดเห็น และการ เปลี่ยนแปลง

รูปที่ 2-38 แท็บ Review บนแถบเครื่องมือ Ribbon 7. แท็บ View เปนแท็บที่มกี ลุมคําสั่งใชงานในการจัดการมุมมองของหนากระดาษ/แผนงาน/ สมุดงาน ไดแก มุมมองสมุดงาน แสดง/ซอน ยอ/ขยาย หนาตาง และแมโคร เปนตน

รูปที่ 2-39 แท็บ View บนแถบเครื่องมือ Ribbon

32

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

8. แท็บคําสั่งตามบริบท เปนแท็บเครื่องมือที่เกิดขึน้ มาตามสถานการณงานที่ทาํ อยูในขณะนั้น และอาจมี แท็บเดียว หรือหลายแท็บก็ได

รูปที่ 2-40 แท็บ Design ที่อยูบนแถบ Chart Tool แถบสูตร เปนแถบเครื่องมือที่มพี ื้นที่ใชงานอยู 3 สวน คือดานซายเปนที่ใชในการแสดงตําแหนง เซลลหรือ อางอิงเซลล ทั้งนี้เมื่อพิมพเครื่องหมาย = หรือคลิก ปุมเครื่องหมาย fx ที่ตําแหนงเซลล หรืออางอิงเซลลนี้ จะ เปลี่ยนเปนชื่อสูตรหรือฟงกชนั และการใชสตู รที่ใชในเร็ว ๆ นี้ ถัดไปเปนปุม เครื่องหมายกากบาทใชยกเลิก ปุม เครื่องหมายถูกใชปอ นคา และปุมเครื่องหมาย fx ใชแทรกฟงกชนั ชองพื้นที่ดานขวาสุดเปนที่ท่แี สดงขอความ ตัวเลข และสูตรที่อยูเบื้องหลังตัวเลข รูปที่ 2-41 แถบเครื่องมือสูตรอางอิงเซลล A2 Status bar เปนแถบดานลางสุดของหนาตาง ซึ่งแบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน คือ สวนซายเปนสวนที่ แสดงการใช งานขณะนั้น เชน การคัดลอก และการพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ เปนตน และสวน ขวาแสดงมุมมอง รูปที่ 2-42 Status bar

Sheet เปนพื้นที่ทาํ งานของสมุดงาน ในแตละสมุดงานจะมีกี่แผนงานก็ได โดยโปรแกรมได ใหมา 3 แผน งานกอน ซึ่งสามารถเพิ่มไดโดยใชเมนูลดั ที่แผนงานเลือกแทรก...\แผนงาน หรือคลิก แผนงานทาย (ปุมแทรก แผนงาน) หรือกดแปน Shift + F11 ซึ่งในแผนงานหนึ่ง ๆ จะมีลกั ษณะเปน ตาราง ประกอบไปดวย

33

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2-43 แผนงานที่ตั้งชื่อแลว และแผนสุดทายเปนแทรกแผนงานใหม

รูปที่ 2-44 แทรกแผนงาน และเมนูลดั การจัดการแผนงาน Column เปนชองขอมูลที่เรียงอยูในแนวตั้งดานบน ตั้งแต A, B, C,…,Z แลวตอ ดวยอักษร 2 และ 3 ตัว ซึ่งมี ทั้งหมด 16,384 คอลัมน

รูปที่ 2-45ชื่อคอลัมนเปนตัวอักษรอังกฤษ

34

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

Row เปนชองขอมูลที่เรียงอยูทางแนวนอนดานซาย ใชตวั เลขแทนชื่อของแถว เริ่มตั้งแต 1 ไปจนถึง 1,048,576 แถว

รูปที่ 2-46 ชื่อแถวเปนตัวเลข

Cell เปนชองสําหรับใสขอมูล มีช่อื อางอิงเซลลแบบปกติท่นี ิยมใชกนั คือ ชื่อ คอลัมนตามดวยชื่อแถว เชน A1 เปนเซลลท่อี ยูในคอลัมน A และอยูในแถวที่ 1 เปนตน ภายในหนึ่ง เซลลจะมีขอมูลไดเพียงแคตัวเดียว โดย ขอมูลจะเปนตัวเลข ขอความ ตัวเลขปนขอความ หรือสูตรก็ ได และตําแหนงปอนขอมูลจะเปนเซลลท่มี กี รอบ เขมกวาเซลลอ่นื ๆ และถาตองการตั้งชื่อใหกับ เซลล ก็สามารถพิมพช่อื เซลลแทนตําแหนงเซลลในแถบสูตรได ทันทีเลย หรือใชปมุ คําสั่งกําหนด ชื่อ กลุมคําสั่งชื่อที่กําหนดในแท็บFormulas

รูปที่ 2-47 การอางอิงเซลลและการตั้งชื่อเซลล

35

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. หลักการพื้นฐานในการใชโปรแกรม Excel 2007 หลักการพื้นฐานในการใชงานโปรแกรม Microsoft Excel ยังมีสว นที่เหมือนกันกับการใช งาน โปรแกรม Microsoft Word ไดแก การเขา/ออกจากโปรแกรม การเปด/ปดแฟม การบันทึก/ บันทึกเปน การ เรียกใชคําสั่งในเมนู/เมนูลดั การใชแถบเครื่องมือ/การกําหนดเอง การเลิกทํา/ทําซ้ํา สําหรับการพิมพงานตาราง จําเปนที่ตองเรียนรูหลักการพืน้ ฐานในการใชงานกับโปรแกรม Microsoft Excel เสียกอน ซึ่งมีรายละเอียดที่ สําคัญ ดังตอไปนี้ การพิมพงานหรือการปอนขอมูล การพิมพงานหรือการปอนขอมูลในแผนงานนั้น มีขอมูลอยูหลายลักษณะดวยกัน ซึ่งมี รายละเอียด ดังตอไปนี้ การพิมพและการแกไขงานที่พมิ พ การพิมพครั้งแรก ใหเลือกเซลล แลวพิมพงานลงไปไดเลย ขอความหรือขอมูลที่มคี วามยาวมากกวา ความกวางของคอลัมนเซลลนั้น จะทับไปในเซลลทางดาน ขวามือตอไปเรื่อย ๆ แตเมื่อใดก็ตามที่เซลลดาน ขวามือมีขอความใด ๆ อยู เซลลท่พี ิมพจะถูกซอน ไวในเซลลนั้น เมื่อจบงานพิมพแลว สามารถใชไดท้งั Enter ผลลัพธตําแหนงเซลลจะเลื่อนลงมา หรือกดแปนลูกศร ผลลัพธตําแหนงเซลลจะไปตามทิศทางของลูกศร หรือ กดแปนTab ผลลัพธ ตําแหนงเซลลจะเลื่อนไปทางเซลลขวามือ และ คลิกปุมปอนคา (เครื่องหมายถูก) ที่แถบ สูตร ผลลัพธตําแหนงเซลลจะอยูท่เี ดิม

รูปที่ 3-1 การพิมพงานครั้งแรก การเคาะแปน Enter และการคลิกปุมปอนคา การแกไขงานพิมพหรือการพิมพครั้งตอไปในเซลลเดิม มีอยู 2 ลักษณะ คือ การแกไขงานทั้งเซลลหรือการพิมพงานใหม ใหเลือกเซลลท่มี ี ขอมูลหรือขอความเกา แลวพิมพงานทับ ไดเลยเชนเดียวกับการพิมพใหม ขอความใหมจะทับลงไป ในเซลลเดิม

รูปที่ 3-2 การพิมพงานใหมทบั เซลลงานเดิม

36

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การแกไขงานในเซลลเปนบางสวน ใหเลือกเซลลท่มี ขี อมูลหรือ ขอความเกา แลวดับเบิลคลิกให ตําแหนงพิมพลงไปในเซลล (ผลลัพธ ตําแหนงการพิมพจะเลื่อนยาว ออกไปตามขอความที่พมิ พ) หรือคลิก ตําแหนงพิมพลงไปในชองขอความที่แถบสูตร(ผลลัพธ ตําแหนงการพิมพจะอยูในเซลลท่พี ิมพ ไมเลื่อนยาว ออกไปตามขอความที่พิมพ) แลวจึงพิมพงานที่ ตองการ เสร็จแลวใหคลิกตกลงหรือกดแปน Enter เทานั้น ไม สามารถใชแปนพิมพลกู ศรไดเลย

รูปที่ 3-3 ดับเบิลคลิกและพิมพเพิ่มลงไปในเซลล A1 ตําแหนงการพิมพขอ ความลวนและการพิมพขอความปนตัวเลข ขอความและตัวเลขที่พิมพนั้น จะอยูชดิ ทางดานซายของเซลล

รูปที่ 3-4 การพิมพขอความและตัวเลข ตําแหนงการพิมพตัวเลขลวน ตัวเลขที่พิมพหรือปอนคาลงไป จะอยูชดิ ทางดานขวาของเซลล

รูปที่ 3-5 การพิมพตัวเลข 0 นําหนา ซึ่งผลลัพธจะไมมเี ลข 0 และตัวเลขชิดขวา

37

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การพิมพเซลลตัวเลขประเภทพิเศษ การปอนคาตัวเลข สวนใหญนิยมปอนแตตวั เลขทั้งหมด ซึ่งสามารถที่จะเปลี่ยน รูปแบบของเซลลนั้น ๆ ได เชน วันที่ เวลา ขอความ ฯลฯ หรือถาตองการจัดรูปแบบตัวเลข เชน สกุลเงิน คาเปอรเซ็นต จุลภาค เพิ่ม/ลด ทศนิยม เปนตน ก็ใชชดุ คําสั่งตัวเลข ที่แท็บHome ของ แถบเครื่องมือ Ribbon และการพิมพตวั เลข 0 นําหนา จะ ไมแสดงเลข 0 ออกมา เชน 001 จะแสดง

รูปที่ 3-6 ชุดคําสั่งตัวเลข ที่แท็บHomeของแถบเครื่องมือ Ribbon ที่ใชจัดรูปแบบเซลล ตารางที่ 3-1 ปุมไอคอนชุดคําสั่งตัวเลข แท็บHome ที่ใชจัดรูปแบบเซลล

38

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การพิมพสตู รและการใชสตู รฟงกชัน หลักการพิมพสตู รนั้น ตองมีเครื่องหมายเทากับ (=) อยูขางหนาเสมอ และ ในขณะที่ตําแหนงพิมพอยู หลังเครื่องหมายเทากับนั้น เมื่อเรานําเมาสไปคลิกที่เซลลใด ๆ จะเปน การนําเอาชื่อเซลลนั้นมากรอกใชในการ คํานวณเสมอ และการพิมพสตู ร สามารถทําได 5 วิธี คือ การพิมพแบบสมการคณิตศาสตร เปนการคํานวณโดยใชเครื่องหมาย บวก (+) ลบ (-) คูณ (*) หาร (/) ยกกําลัง (^) เชน =5*20% หรือ =A1/(2 +3*A6) ฯลฯ

รูปที่ 3-7 การพิมพสมการทางคณิตศาสตรแบบตัวเลขลวน และแบบอางอิงเซลล การพิมพแบบสูตรฟงกชัน เปนการคํานวณโดยใชสตู รฟงกชนั จาก แท็บHome ชุดคําสั่งการแกไข หรือ แท็บสูตร ชุดคําสั่งผลรวมอัตโนมัติ ไดแก SUM AVERAGE IF MAX ฯลฯ ซึ่งมีรูปแบบในการพิมพ คือ พิมพ = ตามดวยชื่อสูตร และวงเล็บ ซึ่งในวงเล็บเปน เซลลอา งอิงถึงขอมูลที่จะนํามาใชในการคํานวณสูตรนัน้ เชน สัญลักษณ : ใชแทนถึง และ สัญลักษณ , ใชแทนอีกกลุมเซลลหนึ่ง เชน = SUM (C4:C6,C8) หมายถึงการหา ผลรวมจากเซลล C4 ถึง C6 และเซลล C8 เปนตน

รูปที่ 3-8 การพิมพสมการแบบสูตรฟงกชนั

39

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเรียกใชสตู รฟงกชันที่ใชไปลาสุด เปนการเรียกใชสตู รฟงกชนั ที่ใช ไปลาสุด จากแถบเครื่องมือสูตร โดยเริ่มตนจากการพิมพเครื่องหมาย = แลวตําแหนงการอางอิง เซลลทางดานหนาจะเปลี่ยนเปนชื่อสูตรขึ้น 1 สูตร ถาเปนสูตรที่ตองการใช ก็คลิกที่ช่อื สูตรนี้ไดเลย แตถา ตองการใชสตู รอื่น ใหคลิกหัวลูกศรเปดรายการที่ ซอนสูตรออกมา แลวคลิกเลือกสูตรที่

รูปที่ 3-9 การพิมพเครื่องหมาย = และเรียกใชสตู รฟงกชนั ลาสุด การเรียกใชสตู รฟงกชันที่ใหมาบนแถบ Ribbon เปนการเรียกใชสตู ร ฟงกชนั ที่ไดจดั ทํารายการให มาแลวจากแท็บHome ชุดคําสั่งการแกไข หรือ แท็บFormulas ชุดคําสั่ง ผลรวมอัตโนมัติ ไดแก ผลรวม คาเฉลี่ย นับตัวเลข คามากที่สดุ และคานอยที่สดุ ฯลฯ

รูปที่ 3-10 การเรียกใชสตู รฟงกชนั ที่แท็บHome และแท็บFormulas

40

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเรียกใชสตู รฟงกชันเพิ่มเติม ที่แถบ Ribbon เปนการเรียกใชสตู ร ฟงกชนั เพิ่มเติมนอกจากที่ใหมา จากแท็บHome ชุดคําสั่งการแกไข หรือ แท็บFormulas ชุดคําสั่ง ผลรวมอัตโนมัติ ไดแก ผลรวม คาเฉลี่ย นับ ตัวเลข คามากที่สดุ และคานอยที่สดุ ฯลฯ

รูปที่ 3-11 การเรียกใชสตู รฟงกชนั เพิ่มเติมที่แท็บHome แท็บFormulas และกลองโตตอบจากการเรียกใชสตู ร ฟงกชนั เพิ่มเติม การใชคําสั่งดวยแปนพิมพ เปนลักษณะการใชคําสั่งที่แปนพิมพ กับ Excel 2007 ใหมปี ระโยชนและมี ความรวดเร็วมากที่สดุ ตารางที่ 3-2 แปนพิมพและหนาที่ของแปนพิมพใน Excel 2007

41

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตารางที่ 3-2 (ตอ) แปนพิมพและหนาที่ของแปนพิมพใน Excel 2007

42

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตารางที่ 3-2 (ตอ) แปนพิมพและหนาที่ของแปนพิมพใน Excel 2007

43

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตารางที่ 3-2 (ตอ) แปนพิมพและหนาที่ของแปนพิมพใน Excel 2007

การเลือกและการแกไข กอนที่จะพิมพงานหรือแกไขงานตาง ๆ เราจําเปนที่ตองเลือกเซลล แถว คอลัมน หรือ ตาราง ใหเปน เสียกอน โดยวิธกี ารใชเมาส เนื่องจากไดอธิบายการใชแปนพิมพจากตารางมาแลว ซึ่ง มีรายละเอียด ตอไปนี้ การเลือก เมื่อเปดโปรแกรมขึน้ มาแลว ตําแหนงพิมพเริ่มแรกจะอยูท่ี A1 และใหสงั เกต รูปตัวชี้จะมีลกั ษณะเปน กากบาทแบบบล็อก ( ) ซึ่งใชในการเลือกตําแหนงที่จะใชงาน เมื่อ เลือกมากกวาหนึ่งเซลลแลว จะเกิดขอบเขตที่ เลือกไวมสี เี ขมขึ้นใหเราสังเกตได ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

44

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเลือกเซลล ในการจะใชคําสั่งจัดการเซลลใด ๆ ตองเลือกเพื่อระบุ ตําแหนงเซลลท่จี ะถูกดําเนินการ ตามคําสั่งนั้น ๆ เสียกอน ซึ่งมีวิธกี ารเลือก ดังนี้ 1. การเลือกเซลลเดียว ใหคลิกเลือกเซลลท่ตี องการ

รูปที่ 3-12 การเลือกเซลล A1 เซลลเดียว 2. การเลือกหลายเซลลติดกัน ใหคลิกเลือกเซลลท่หี วั หรือทายหรือ เซลลทา ยในลักษณะทแยง มุมของกรอบพื้นที่เซลลท้งั หมดที่จะเลือก แลวลากไปในทิศทางตรงขาม ที่ตองการ หรือ หลังจากคลิกเลือกเซลลแรกแลว ใหกดแปน Shift + คลิกเลือกที่เซลลทา ย หรือ หลังจาก คลิกเลือกเซลลแรกแลว ใหกดแปน Shift + แปนลูกศรก็ได ดังรูป

รูปที่ 3-13 การเลือกหลายเซลลและเริ่มตนที่เซลล A1 ลากไปที่ B4 3. การเลือกหลายเซลลท่ไี มติดกัน ใหคลิกเลือกเซลลหรือลากพื้นที่ หลาย ๆ เซลลท่ไี มอยู ติดกัน โดยกดแปน Ctrl คางไว การเลือกวิธนี ี้ไมสามารถใชคําสั่งแกไขตัด หรือคัดลอกได ดังรูป

รูปที่ 3-14 การเลือกหลายเซลลท่ตี ิดกันและไมติดกัน

45

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเลือกแถว ใหคลิกเลือกที่หวั แถวตัวเลขที่ตองการ หากเลือกหลาย แถวใหทาํ ลักษณะเดียวกันกับการ เลือกเซลล

รูปที่ 3-15 การเลือกแถว การเลือกคอลัมน ใหคลิกเลือกที่หวั คอลัมนตวั อักษรที่ตองการ หาก เลือกหลายคอลัมนใหทาํ ลักษณะ เดียวกันกับการเลือกเซลล

รูปที่ 3-16 การเลือกคอลัมน การเลือกทั้งหมดหรือทั้งแผนงาน ใหคลิกเลือกที่วางมุมบนซายหรือ บนหัวแถวที่ 1 หรือหนาหัว คอลัมนท่ี A หรือ กดแปน Ctrl + A

46

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-17 การเลือกทั้งแผนงาน การยกเลิกการเลือก ใหคลิกที่เซลลใดเซลลหนึ่ง หรือกดปุม ESC ขอบเขตที่เลือกไวจะหายไปทันที การแกไข การพิมพงาน ยอมตองมีการแกไขงานอยูเสมอ หลังจากที่เราเปนการเลือกแลว เราจะมาแกไขงานตอไป ได ซึ่งมีอยูหลายหัวขอ ดังตอไปนี้ การเลิกทําหรือการทําซ้ํา จากแถบเครื่องมือดวน ใหคลิกปุม คําสั่ง Undo Typing หรือ Redo Typing

รูปที่ 3-18 รายการคําสั่ง Undo Typing หรือ Redo Typing บนแถบเครื่องมือดวน การตัดหรือการยายเนื้อหา ใหเขาไปในเซลล แลวเลือกเนื้อหาที่ ตองการ แลวใชคําสั่งตัด คลิกที่ปมุ ไอคอนตัดที่ชดุ เครื่องมือคลิปบอรดของแท็บ Home หรือคลิก ขวาเปดเมนูลดั หรือใชแปน Ctrl + X เนื้อหาจะ หายไปอยูในคลิปบอรด จากนั้นคลิกเลือกเซลล ตําแหนงที่จะวาง แลวใชคําสั่งวาง ที่ชดุ เครื่องมือคลิปบอรดของ

47

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

แท็บHome หรือคลิกขวาเปดเมนู ลัด หรือใชแปน Ctrl + V ซึ่งสามารถวางไดหลายครั้ง ในกรณีท่ไี มไดวางหรือ ลืมวาง เนื้อหาก็จะอยู ที่คลิปบอรด ซึ่งสามารถนํามาวางอีกหรือลบออกจากคลิปบอรดก็ได

รูปที่ 3-19 การใชคําสั่ง Cut ในการยายเนื้อหาบางสวนในเซลล การคัดลอกเนื้อหา ใหเขาไปในเซลล แลวเลือกเนื้อหาที่ตองการ แลว ใชคําสั่งCopy คลิกที่ปมุ ไอคอน Copy ที่ชดุ เครื่องมือคลิปบอรดของแท็บHome หรือคลิกขวา เปดเมนูลดั หรือใชแปน Ctrl + C เนื้อหาจะเขาไป อยูในคลิปบอรด จากนั้นคลิกเลือกเซลลตําแหนง ที่จะวาง แลวใชคําสั่งวาง ที่ชดุ เครื่องมือคลิปบอรดของแท็บ Home หรือคลิกขวาเปดเมนูลดั หรือ ใชแปน Ctrl + V ซึ่งสามารถวางไดหลายครั้ง ในกรณีท่ไี มไดวางหรือลืม วาง เนื้อหาก็จะอยูท่คี ลิป บอรด ซึ่งสามารถนํามาวางอีกหรือลบออกจากคลิปบอรดก็ได

รูปที่ 3-20 การใชคําสั่งCopyเนื้อหาบางสวนในเซลล การตัดหรือการยายเซลล/แถว/คอลัมน เมื่อเลือกเซลลหรือแถวหรือ คอลัมนท่ตี องการแลว แลวใชคําสั่ง Cut ดวยวิธใี ดก็ได จะปรากฏแนวเสนประเคลื่อนไหวรอบบริเวณ พื้นที่ถกู เลือก จากนั้นคลิกเลือกเซลลตําแหนง แรกสุดของดานบนซายของพื้นที่ทจ่ี ะวาง แลวใช คําสั่งPaste ดวยวิธใี ดก็ได หรือกดแปน Enter ซึ่งสามารถวาง ไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น หากตองการวาง อีกตองใชการวางที่คลิปบอรด และเราสามารถใชเมาสลากมาวางก็ได แตตองวางเมาสไวท่ขี อบของ เซลลท่เี ลือกใหรูปตัวชี้เมาสจะมีลกั ษณะเปนลูกศรสีขาวหันไปทางซาย ( ) จึงจะ เปนการยาย การคัดลอกเซลล/แถว/คอลัมน เมื่อเลือกเซลลหรือแถวหรือคอลัมนท่ี ตองการแลว ใชคําสั่งคัดลอกดวย วิธใี ดก็ได จะปรากฏแนวเสนประเคลื่อนไหวรอบบริเวณพืน้ ที่ท่ี ถูกเลือก จากนั้นคลิกเลือกเซลลตําแหนงแรกสุด

48

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ของดานบนซายของพื้นที่ท่จี ะวาง แลวใชคําสั่งวาง ดวยวิธใี ดก็ได หรือกดแปน Enter ซึ่งสามารถวางไดหลาย ครั้ง และยังเก็บไวท่คี ลิปบอรดใหสามารถ วางในภายหลังอีกได และเราสามารถใชเมาสลากพรอมทั้งกดแปน Ctrl คางไวมาวางก็ได แตตอง วางเมาสไวท่ขี อบของเซลลท่เี ลือกใหรูปตัวชี้เมาสจะมีลกั ษณะเปนลูกศรสีขาวหัน ไปทางซายมี เครื่องหมาย + ( )จึงจะเปนการคัดลอก การใชปุมตัวเลือกการวาง ในการคัดลอกและวางแลว จะปรากฏปุม ตัวเลือกการวางขึน้ มา สามารถที่จะปรับเปลี่ยนการวางทั้ง เนื้อหาและรูปแบบไดอกี หลายรูปแบบ ไดแก รักษาการจัดรูปแบบตามตนฉบับ ใชชดุ รูปแบบของปลายทาง ตรง กับการจัดรูปแบบของ ปลายทาง คาและการจัดรูปแบบตัวเลข เก็บความกวางคอลัมนตามตนฉบับ การ จัดรูปแบบเทานั้น และการเชื่อมโยงเซลล

รูปที่ 3-21การคัดลอกและตัวเลือกการวางแบบตาง ๆ การวางแบบพิเศษ เมื่อสั่งคัดลอกแลว ยังสามารถวางเปนแบบ พิเศษได โดยคลิกที่พ้นื ที่ปมุ หัวลูกศรใตไอคอนวางที่ชดุ เครื่องมือคลิปบอรดของแท็บHome แลวเลือกรายการที่ตองการ หรือรายการวางแบบพิเศษ หรือคลิกขวาเปดเมนู ลัด เลือกวางแบบพิเศษ ก็ไดขึ้นอยูกับความตองการของเรา ตัวอยางเชน วางทั้งหมด วางเปนสูตร คา รูปแบบ ขอคิดเห็น การตรวจสอบความถูกตอง ทั้งหมดยกเวนเสนขอบ และความกวางคอลัมน ทั้งยังวางเปนตัว ดําเนินการ หมายถึงนําเซลลท่คี ัดลอกมาคํานวณกับเซลลท่จี ะวาง เชน ตัวดําเนินการไมมี คูณ บวก หาร ลบ หรือ จะวางเซลลท่วี าง หรือจะวางสลับเปลี่ยนแถวเปนคอลัมน

49

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-22 การวางแบบพิเศษสลับเปลี่ยนแถวเปนคอลัมน การคัดลอกในเซลลตน แบบที่เปนสูตรนั้น การวางธรรมดาก็จะไดเปน สูตร เชนเดียวกับการวางแบบ พิเศษเปนสูตร แตถา สูตรใดมีการอางอิงเซลลอยูดวย เมื่อวางแลวการ อางอิงเซลลจะเปลี่ยนไปตามแถวและ คอลัมนท่เี ซลลท่วี างนั้น ตัวอยางจากรูป ที่เซลล A6 เปนการ ใชสตู รผลรวม =A2+A3+A4+A5 เมื่อคัดลอกมาวาง ที่เซลล A8 การอางอิงเซลลเปลี่ยนไปเปน =A4+A5+A6+A7 ซึ่งเซลล A7ไมมขี อมูลใด ๆ จึงไดผลลัพธเทากับ 170

รูปที่ 3-23 การวางแบบพิเศษเปนสูตร การคัดลอกขอความจากโปรแกรมอื่นมา เมื่อเลือกขอความจาก โปรแกรมอื่น เชน Word ที่ตองการแลว สั่งคัดลอกที่ Word จากนั้นจึงเปดโปรแกรม Excel ที่จะใช งานพิมพนั้น คลิกตําแหนงเซลลท่ตี องการ แลวสั่งวาง ก็จะไดขอความนั้นอยูในเซลลท่เี ลือก โดยมี การจัดขอความลงในเซลลตามการพิมพงานดวยตัวแบงแบบแท็บ หรือจุลภาคหรือยอหนา

50

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-24 การใชคําสั่งคัดลอกขอความที่พิมพงานดวยแท็บจาก Word 2007

รูปที่ 3-25 การใชคําสั่งวางขอความใน Excel 2007 และจัดความกวางคอลัมนแลว การคัดลอกขอความออกไปยังโปรแกรมอื่น เมื่อเลือกงานพิมพจาก ตารางงาน Excel แลว สั่งคัดลอก จากนัน้ จึงเปดโปรแกรมอื่น เชน Word คลิกตําแหนงพิมพท่ี บรรทัดและหนาที่ตองการจะวาง ใชคําสั่งวาง ก็จะ ไดตารางงานพรอมรูปแบบเซลลมาดวย แตท่ไี ม ไดมาคือสูตรคํานวณ

51

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-26 การใชคําสั่งคัดลอกตารางงานที่พมิ พใน Excel 2007

รูปที่ 3-27การใชคําสั่งวางตารางงานใน Word 2007 การเติมอัตโนมัติ (Auto Fill) เปนการเติมใหกับขอมูลที่อยูในเซลล ติดกันตามแถวหรือคอลัมนก็ได โดยการนําเมาสไปวางที่จดุ มุม ลางซายของขอบเซลลท่ี เลือก ใหรูปตัวชี้เมาสมลี กั ษณะเปนบวกดํา ( ) หรือเรียกวา Fill Handle แลวจึงลากไป ตามแถวหรือคอลัมนท่ตี องการ หรือใชปมุ เติมในกลุมคําสั่งแกไข ของแท็บHomeบนแถบ Ribbon โดยจะมี ผลลัพธแตกตางกันไปตามชนิดของขอมูลตนแบบ ดังนี้

52

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขอมูลเปนขอความลวน เมื่อลากตัวเติมอัตโนมัติจะไดเปน 2 รูปแบบ คือ การคัดลอกขอความ กับ การ เรียงลําดับขอความ ในกรณีท่มี รี ายการอยูในกลองโตตอบ รายการแบบกําหนดเอง การเติมอัตโนมัติจะเปนการ เรียงลําดับตามรายการนั้น สวนขอความใดที่ ไมไดจัดทํา จะเปนการคัดลอก ซึ่งมีวิธกี ารจัดทํารายการแบบ กําหนดเอง ดังนี้

รูปที่ 3-28 การใชตวั เติมอัตโนมัติใหกับขอความแบบคัดลอกและเรียงลําดับ (1) การพิมพขอความเรียงลําดับที่แผนงาน มีวิธกี าร ดังนี้ พิมพขอความของแตละลําดับในแตละเซลล ใหเลือกเซลล ทั้งหมด เสร็จแลวคลิกปุม Office คลิกที่ปมุ ตัวเลือกของ Excel จะเปดกลองโตตอบรายการแบบ กําหนดเอง การอางอิงเซลลจะถูกนําเขามา จากนั้นให คลิก ปุมนําเขา โปรแกรมจะนํารายการพิมพ ในเซลลท่อี า งเขามาใหเอง แลวจึงคลิกปุมตกลง (2) การพิมพในกลองโตตอบที่รายการแบบกําหนดเองรายการ กําหนดเอง มีวิธกี าร คือ ใหคลิกปุม Office คลิกที่ปมุ ตัวเลือกของ Excel จะเปดกลองโตตอบ รายการแบบกําหนดเอง คลิกเลือกรายการใหมจาก รายการดานซาย แลวปอนขอความเซลลละ บรรทัดทางดานขวา จบบรรทัดเคาะ Enter เสร็จแลวคลิกปุมเพิ่ม จากนัน้ จึงคลิกปุมตกลง (3) การลบรายการที่ไมตองการ เมื่อเขามาที่กลองโตตอบที่รายการ แบบกําหนดเองรายการ ใหคลิก เลือกรายการที่ไมตองการทางดานซายมือ เสร็จแลวคลิกปุม ลบ จะมี แผนคําเตือน ถาตองการลบใหคลิกตกลง หรือถาเปลี่ยนใจไมตองการลบ ใหคลิกยกเลิก การเชื่อมขอความเปนเซลลเดียวกัน เปนการใชเครื่องหมาย & เชื่อมตอระหวางเซลลท่ตี องการ ภายใตการใชสตู ร หรือใชการยายขอความ จากเซลลหนึ่งไปวางตอ อีกเซลลหนึ่งก็ได เชนที่ B3 พิมพ =A1&C1 จะเปนการเชื่อมขอความของเซลล A1 กับ เซลล C1

รูปที่ 3-29 การเชื่อมตอขอความดวยเครื่องหมาย & ในการใชสตู ร

53

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเปลี่ยนขอความใหเปนคอลัมน เปนการเปลี่ยนงานขอมูลที่ตอน แรกพิมพอยูในเซลลเดียวกัน โดยอาจจะเวนวรรค หรือใชจุลภาค หรือ อัฒภาค หรือแท็บคั่น แลว ตอนหลังตองการที่จะแยกขอความออกไปอีกเซลลหนึ่ง สามารถทําไดโดยการเลือก ขอความ ทั้งหมด แลวคลิกแท็บ Data เลือกคําสั่ง Text to column จะมีแผนตัวชวยสรางการแปลง ขอความเปน คอลัมนทาํ ตามขั้นตอน

รูปที่ 3-30 เลือกคําสั่งขอความเปนคอลัมนท่แี ท็บ Data

ขั้นที่ 1 เลือกชนิดการแบงคอลัมนดวยตัวคั่น

ขั้นที่ 3 เลือกรูปแบบของเซลลแตละคอลัมน และจะนําไปไวท่เี ซลลใด

ขั้นที่ 2 เลือกชนิดตัวคั่นเปนชองวาง

ผลลัพธจากการแปลงขอความเปนคอลัมน

54

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การลาง เปนการจัดการลางเซลลที่เลือกไว ไดแก รูปแบบ เนื้อหา ขอคิดเห็น และทั้งหมด เปนตน โดยไปที่แท็บHome ชุดคําสั่งการแกไข ดัง รายละเอียดตอไปนี้

รูปที่ 3-31 คําสั่งการลาง Clear all เปนการลางทั้งรูปแบบ เนื้อหา และขอคิดเห็น Clear Formats เปนการลางรูปแบบ แตไมไดลา งเนื้อหาที่เปนขอมูล หรือขอความ เชน สกุลเงินหายไป หรือ 20% ลางแลวจะได .2 ฯลฯ Clear Contents เปนการลางแตเนื้อหาที่เปนขอมูลหรือขอความ แต ไมไดลา งรูปแบบ ซึ่งเมื่อมองดวย ตาเปลา จะเห็นเปนเซลลเปลา ๆ แตเมื่อพิมพงานเขาไปจะได รูปแบบเหมือนเดิม เชน เซลล 20% ลางแลวจะได เซลลเปลา เมื่อพิมพ 1 ลงไปในเซลลท่ลี า งนั้น จะ ไดผลลัพธเปน 100% ฯลฯ Clear Comments เปนการลางเฉพาะขอคิดเห็นเทานัน้ การคนหาและเลือก เปนการจัดการลบสวนที่เลือก เชน จะลบเซลล หรือลบแถวหรือลบคอลัมนท่ไี ดเลือกไว เปนตน โดย ใชคําสั่งFind and Select ที่ชดุ คําสั่งการ Edit ของแท็บHome จะมีรายการตาง ๆไดแก Find Replace… Go to Go to special.. Formulas Comment Conditional Formatting Content Data validation Select Object และ Selection Plane เปนตน

รูปที่ 3-32 รายการตาง ๆ จากคําสั่งการคนหาและเลือก

55

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การลบ

เปนการจัดการลบสวนที่เลือก เชน จะลบเซลล หรือลบแถว หรือลบคอลัมนท่ไี ดเลือกไว เปนตน โดย ใชคําสั่งDelete ที่ชดุ คําสั่งเซลลของแท็บHome จะมี ชุดคําสั่งอยู 4 คําสั่ง ไดแก Delete Cells , Delete Sheet Rows ,Delete Sheet Columns และDelete Sheet เปนตน หรือใชคลิกขวาเปดเมนูลดั ในสวนที่เลือก แลวเลือก รายการลบ... จะมีกลองโตตอบลบ ออกมาใหเลือกวาจะลบอะไร ไดแก ลบเซลลแลวเลื่อนเซลลไปทางซาย/ขึ้น หรือลบทั้งแถว หรือลบ ทั้งคอลัมน เปนตน

รูปที่ 3-33 คําสั่ง Delete ที่ชดุ คําสั่งเซลลของแท็บHome การแทรก เปนการจัดการแทรกสวนที่เลือก เชน จะแทรกเซลล หรือ แทรกแถวหรือแทรกคอลัมนท่ไี ดเลือกไว เปนตน โดยใชคําสั่ง Insert ที่ชดุ คําสั่งเซลลของแท็บ Home แรก จะมีชดุ คําสั่งอยู 4 คําสั่ง ไดแก Insert Cells Insert Sheet Row , Insert Sheet Columns และInert Sheet เปนตน หรือใชคลิกขวาเปดเมนูลดั ในสวนที่เลือก แลวเลือกรายการแทรก... จะ มีกลองโตตอบแทรกออกมาใหเลือกวาจะแทรกอะไร ไดแก แทรกเซลลแลวเลื่อน เซลลไปทางขวา/ ลง หรือแทรกทั้งแถว หรือแทรกทั้งคอลัมน เปนตน นอกจากนี้ยังมีปมุ ตัวเลือกการแทรกเกิด ขึ้นมา ดวย ชวยใหมกี ารจัดรูปแบบเซลลท่แี ทรกมางายขึน้

รูปที่ 3-34 กลองโตตอบแทรกเซลล แถว หรือคอลัมน การสรางขอคิดเห็น เปนการสรางและการจัดการขอคิดเห็นตาง ๆ เชน ลบ แสดง/ซอน คนหากอนหนา ถัดไป แสดง ขอคิดเห็นทั้งหมด เปนตน โดยใชกลุมคําสั่งComment ของแท็บ Review

56

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-35 การสรางขอคิดเห็น ชื่อที่กําหนด เปนการจัดการชื่อที่ใชแทนการอางอิงเซลลท่เี ปนคาสูตร ทําใหเขาใจไดงา ยขึ้น โดยใชกลุมคําสั่งชื่อที่ กําหนดในแท็บFormulas

รูปที่ 3-36 กลุมDefined namesในแท็บFormulas

รูปที่ 3-37 การสรางชื่อจากคําสั่งDefine Nameที่กลุมคําสั่งDefined Namesในแท็บFormulas

การจัดการแผนงาน

ในการบางครั้งเราตองมีจัดการกับแผนงาน เพื่อใชงานในปจจุบนั อยูตลอดเวลา โดยคลิก ขวาที่ช่อื แผน งาน จะเปดเมนูลดั ขึ้นมาใหเลือกรายการที่ตองการทํางาน

57

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-38 เมนูลดั ในการจัดการแผนงาน การเลื่อนแผนงาน ใหคลิกปุมควบคุมการเลือนแผนงานที่อยูหนา Sheet1 ซึ่งมีอยู 4 ปุม ไดแก ไปที่แผน งานแรก ไปที่แผน งานกอนหนาทีละแผนงาน ไปที่แผนงานตอไปทีละแผนงาน และไปที่แผนงาน สุดทาย เปนตน

รูปที่ 3-39 การเลื่อนแผนงาน การเลือกหรือสลับแผนงานและการจัดกลุม แผนงาน ใหคลิกเลือกที่ปา ยชื่อแผนงานที่ตองการทํางานสลับกันไป แตถา ตองการเลือกหลาย แผนงานติดกัน ให กดแปน Shift + คลิก ถาเลือกหลายแผนงานไมติดกัน ใหกดแปน Ctrl + คลิก และถาเลือกแผนงานทั้งหมด ให คลิกขวาเปดเมนูลดั เลือกรายการเลือกแผนงานทั้งหมด การแทรกแผนงาน เมื่อตองการเพิ่มแผนงาน เพื่อใชงานพิมพในสมุดงานเดียวกัน ใน Excel 2007 ไดจัด ปุมแผนงานสุดทาย เปนปุมแทรกแผนงานอยางรวดเร็ว หรือใชคียลดั Shift + F11 หรือใชคําสั่ง แทรกในกลุมคําสั่งเซลลของแท็บ หนาแรกก็ได แตถา ใชคลิกขวาเปดเมนูลดั เลือกรายการแทรก...จะ

58

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การจัดการกับแผนงาน เมื่อตองการจัดการแผนงาน เชน การเปลี่ยนชื่อ ลบ การยายคัดลอกแผนงาน ซอน ฯลฯ สามารถจัดการ ไดดวยการคลิกขวาเรียกเมนูลดั ออกมาแลวเลือกรายการนัน้ ๆ การเปลี่ยนชื่อแผนงาน ใหดับเบิลคลิกที่ปา ยชื่อแผนงานที่ตองการเปลี่ยนชื่อ หรือใชเมนูลดั รายการ เปลี่ยนชื่อ แลว พิมพช่อื ใหมทบั ไดเลย เสร็จแลวกดแปน Enter

รูปที่ 3-40 การเปลี่ยนชื่อแผนงาน

การยายแผนงาน ใหใชเมาสคลิกเลือกแผนงานที่ตองการยาย ถายายในสมุดงานเดียวกัน สามารถ ลากเมาส ( ) ไปวางไวท่ที ่ตี องการไดเลย แตถา ใชเมนูลดั Move or Copy... จะเปดกลองโตตอบ

รูปที่ 3-41 การยายขามสมุดงาน โดยใชกลองโตตอบการยายหรือคัดลอกในเมนูลดั การคัดลอกแผนงาน ใหใชเมาสคลิกเลือกแผนงานที่ตองการคัดลอก แลวกดแปน Ctrl คางไว แลว ลากเมาส ( ) ไป วางไวท่ที ่ตี องการไดเลย แตถา ใชเมนูลดั Move or copy... จะเปดกลองโตตอบ การยายหรือคัดลอก ให คลิกเลือกสรางสําเนา เพื่อคัดลอก และเลือกวาจะนําไปที่สมุดงานใด และอยู กอนแผนงานใด

59

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-42 การคัดลอกขามสมุดงาน โดยใชกลองโตตอบการยายหรือคัดลอกในเมนูลดั การลบแผนงาน ใหเลือกแผนงานที่จะลบ แลวใชเมนูลดั Delete หรือใชคําสั่งลบเลือกรายการลบ แผนงานจาก กลุมคําสั่งเซลลในแท็บ Home ก็จะลบแผนงานนัน้ ออกไปจากสมุดงานโดยถาวรเลย ซึ่งจะมีแผนคํา เตือนขึ้นมาใหตัดสินใจอีกครั้งวาจะ Delete หรือ Cancel

รูปที่ 3-43 คําเตือนเมื่อลบแผนงาน การซอน/ยกเลิกการซอนแผนงาน ใหเลือกแผนงานที่จะซอนลบ แลวใชเมนูลดั Hide เมื่อตองการใหแผนงาน แสดงออกมา ใช เมนูลดั Unhide...จะเปดกลองโตตอบ Unhide เลือกชื่อแผนงาน ที่ตองการ แลวคลิกปุม OK

รูปที่ 3-44การซอน/ยกเลิกการซอนแผนงาน

60

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใสสแี ท็บหรือปายชื่อแผนงาน ใหเลือกแผนงานที่ตองการใสสแี ท็บหรือปายชื่อแผนงาน แลวใชเมนูลดั เลือก Tab Color จะ เปดถาดสีออกมา แลวเลือกสีตามที่ตองการ

รูปที่ 3-45 การใสสแี ท็บหรือปายชื่อแผนงาน การใสรปู พื้นหลังแผนงาน การใสรูปพืน้ หลังแผนงานนี้ จะสามารถแสดงใหเห็นไดในมุมมองปกติหรือ Page Layout หรือบันทึก เปน Web Page ซึ่งเวลาพิมพงานจะไมมพี ื้นหลังนี้มาดวย โดยใชคําสั่ง

รูปที่ 3-46 คําสั่งพื้นหลังของแท็บเคาโครงหนากระดาษใชในการใสรูปพืน้ หลังแผนงาน การปองกันแผนงาน การปองกันแผนงาน เพื่อไมใหผอู ่นื เขามาแกไขงานในแผนงาน โดยไมไดรับ อนุญาต ใหเลือกแผนงาน ที่ตองการปองกันแผนงาน แลวใชเมนูลดั เลือกรายการ Protect Sheet... หรือใชคําสั่ง Protect Sheet จากกลุม คําสั่งChanges ในแท็บ Review จะเปด Protect Sheet ใสรหัสผาน และคลิกเลือกหัวขอที่จะอนุญาตใหผใู ช ทั้งหมดที่ใช แผนงานนี้สามารถทําอะไรไดบา ง

61

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-47 การปองกันแผนงานตองใสรหัสและตองจําใหได แผนงานที่ถกู ปองกันแลว จะไมสามารถแกไขรูปแบบเซลลไดเลย เมื่อตองการยกเลิกการปองกันแผน งาน เพื่อจะไดเขามาแกไขงานในแผนงาน ใหเลือกแผนงานที่ปอ งกันแผนงานไว แลวใชเมนูลดั เลือกรายการ Unprotect Sheet... หรือ ใชคําสั่ง Unprotect Sheet จากกลุมคําสั่งChangesในแท็บ Review จะเปดกลอง โตตอบ Unprotect Sheet ใหใสรหัสผานใหถกู ตองแบบตัวเล็กตัวใหญ แลวคลิกตกลง

รูปที่ 3-48 การยกเลิกการปองกันแผนงาน ตองใสรหัสและตองจํารหัสใหได การตกแตงตารางงานในแผนงาน ในการพิมพงานตาราง จะตองตกแตงปรับปรุงแกไขงานใหถกู ตองและสวยงามอยู ตลอดเวลา ซึ่งมี ลักษณะงานตาง ๆ ดังตอไปนี้ การจัดการคอลัมนและแถว การจัดการคอลัมนและแถว ไดแก การปรับความกวางของคอลัมน ความสูงของแถว การซอน การ ยกเลิกการซอน เปนตน การจัดการกับคอลัมน การแทรก/ลบคอลัมน ที่ตําแหนงคอลัมน ใหคลิกขวาเปดเมนูลดั เลือก รายการ Insert หรือ Delete หรือใชปมุ คําสั่ง Insert หรือ Delete เลือกรายการ Insert หรือ Delete Sheet Columns จากกลุม คําสั่ง Cellsในแท็บ Home จะทํางานทันทีเลย

62

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-49 การใชคําสั่ง Insert หรือ Delete Sheet Columns ความกวางของคอลัมน การพิมพเนื้อหาในเซลลอาจมีขอมูลที่นอยกวา หรือมากกวาความกวางของคอลัมน (เริ่มตนที่ 8.38 หรือ 72 พิกเซล) และในงานตารางยังตอง คํานึงถึงการจัดตารางใหเหมาะสมกับหนากระดาษอีก ดวย จึงจําเปนตองปรับความกวางของคอลัมน

รูปที่ 3-50 การเลือกรายการความกวางคอลัมน...แลวพิมพตัวเลข

รูปที่ 3-51 การลากขยายความกวางคอลัมน B

63

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-52 การดับเบิลคลิกปรับความกวางพอดีอตั โนมัติของคอลัมน C การซอน/ยกเลิกการซอนคอลัมน ใหคลิกขวาเปดเมนูลดั เลือกรายการ Hide/Unhide หรือใชปมุ คําสั่ง Format เลือกรายการ Hide & Unhide หัวขอVisibility จากกลุมคําสั่ง Cells ในแท็บ Home จะทํางานทันทีเลย หรือใชเมาส ( ) ลาก หรือดับเบิลคลิกเพื่อยกเลิกการซอนก็ได

รูปที่ 3-53 การซอน/ยกเลิกการซอนคอลัมน การจัดการกับแถว การแทรก/ลบแถว ที่ตําแหนงแถว ใหคลิกขวาเปดเมนูลดั เลือกรายการInsert หรือ Delete หรือใชปมุ คําสั่ง Insert หรือ Delete เลือก Insert Sheet rows หรือ Delete Sheet rows จากกลุมคําสั่ง Cells ในแท็บHome จะทํางานทันที เลย

64

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-54 การใชคําสั่ง Insert Sheet rows หรือ Delete Sheet rows ความสูงของแถว การพิมพเนื้อหาในเซลลอาจมีการจัดขนาดรูปแบบ ตัวอักษรทําใหมเี นื้อหานอยกวาหรือ มากกวาความสูงของแถว (เริ่มตนที่ 14.25 หรือ 19 พิกเซล) และในงานตารางยังตองคํานึงถึงการจัด ตารางใหเหมาะสมกับหนากระดาษอีกดวย จึงจําเปนตอง ปรับความสูงของแถวใหเปน ซึ่งสามารถปรับ ไดหลายวิธี คือ การลากที่เขตระหวางแถว การดับเบิลคลิกที่เขตระหวางแถว หรือจัดพอดี อัตโนมัติ การใชพิมพความสูง โดยใชเมนูลดั ที่แถว หรือเลือกแถว แลวใชคําสั่ง Format จากกลุมคําสั่ง Cells ในแท็บ Home

รูปที่ 3-55 การเลือกรายการความสูงของแถว...แลวพิมพตัวเลข

รูปที่ 3-56 การลากขยายความสูงของแถวที่ 1

65

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-57 การดับเบิลคลิกปรับความสูงพอดีอตั โนมัติของแถวที่ 4 การซอน/ยกเลิกการซอนแถว ใหคลิกขวาเปดเมนูลดั เลือกรายการ Hide/unhide หรือใชปมุ คําสั่งFormat เลือก Hide & unhide ของหัวขอ Visibility จากกลุมคําสั่ง Cell ในแท็บ Home จะทํางาน ทันทีเลย หรือใชเมาสลาก หรือดับเบิลคลิกเพื่อยกเลิกการซอนก็ได

รูปที่ 3-57 การซอน/ยกเลิกการซอนแถว การจัดการเซลล การจัดการเซลลในที่นี้ จะเปนการตกแตงเซลล ไดแก การปรับความกวางของคอลัมน ความสูงของแถว การซอน การยกเลิกการซอน เปนตน การจัดรูปแบบเซลล ใชในการจัดรูปแบบเซลลใหถกู ตองและสวยงาม ไดแก ตัวเลข การจัดตําแหนง แบบอักษร เสน ขอบ ลวดลาย และการปองกัน เปนตน โดยใชคําสั่ง Format ในกลุมคําสั่ง Ceels ของแท็บ Home หรือ ใชปมุ มุมลางขวาที่เปดกลองโตตอบการจัดรูปแบบเซลลหรือคลิกขวาที่เซลล เลือกรายการ Format cells...หรือใชคีย Ctrl+Shift+F

66

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-58การเปดกลองโตตอบการจัดรูปแบบเซลล ตัวเลข ในการพิมพเซลลตัวเลข สามารถที่จะเปลี่ยนความหมายของ ตัวเลขเปนคาตาง ๆ ตามประเภทที่ ใหมา ไดแก ทั่วไป ตัวเลข สกุลเงิน บัญชี วันที่ เวลา เปอรเซ็นต เศษสวน เชิงวิทยาศาสตร ขอความ และพิเศษ เปนตน และเราสามารถที่จะกําหนดรูปแบบตัวเลข เองไดดว ย ซึ่งสามารถใชปมุ คําสั่ง จากกลุมคําสั่ง Numberใน แท็บ Home ก็ได

รูปที่ 3-59 กลุมคําสั่งตัวเลขในแท็บหนาแรก การพิมพวนั เดือนปท่นี ิยมใช มักจะผิดจากกฎของExcel แตอาจจะไดผลลัพธตามที่ตองการถาใชพิมพ งานออกมาจึงขึน้ อยูกับวาเราตองการใหถกู ตองทั้งหมดหรือไม เชน ตองการพิมพใหไดตามรูปแบบนี้ 13 เม.ย. 50 ถาพิมพตามนี้เลยจะไดผลลัพธ คือ 13-เม.ย.-50 เมื่อไปดูท่เี บื้องหลังรูปแบบเซลลจะได d-mmm-yy เมื่อลบ ออกก็จะไดผลลัพธตามรูปแบบ แตจะ ผิดที่ปเ พราะเปนป ค.ศ. 1950 (พิมพเลขอารบิค) เมื่อทดลองเปลี่ยนเปนป ไทย จะไดผลลัพธ คือ 13 เม.ย. 93 (ปพ.ศ. = ป ค.ศ. + 543) หรือ ๑๓ เม.ย. ๙๓

67

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การจัดแนว เปนการจัดรูปแบบเซลล ใหอยูในตําแหนงแนวนอน แนวตั้ง การควบคุมขอความ เชน การ ตัดขอความ การผสานเซลล และการวางแนว ตามที่ตองการ ซึ่งสามารถใชปมุ คําสั่ง จากกลุมคําสั่งAlignmentใน แท็บ Homeได

รูปที่ 3-60 กลุมคําสั่งAlignmentในแท็บ Home

รูปที่ 3-61 การจัดรูปแบบเซลลเพื่อจัดแนวของเนื้อหาในเซลล แบบอักษร เปนการจัดรูปแบบอักษรในเซลล ใหมแี บบ ลักษณะ ขีด เสนใต สี และลักษณะพิเศษ สามารถใชปมุ คําสั่ง จากกลุมคําสั่ง Font ในแท็บ Home ก็ได

รูปที่ 3-62 การจัดรูปแบบเซลลเพื่อจัดรูปแบบอักษรของเนือ้ หาในเซลล

68

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

เสนขอบ เปนการวาดเสนขอบใหกับเซลลในตาราง จะขึน้ อยูกับการ พิมพงาน การเลือกเซลล และการ เลือกเสนขอบใหถกู ตอง สามารถใชปมุ คําสั่ง จากกลุมคําสั่ง Font ในแท็บ Home ก็ได

รูปที่ 3-63 การจัดรูปแบบเซลลเพื่อวาดเสนขอบของเซลล การเติม ที่เปนการเติมสีใหกับพื้นเซลลในตาราง สามารถใชปมุ คําสั่ง จากกลุมคําสั่ง Font ในแท็บ Home ก็ได

รูปที่ 3-64 การจัดรูปแบบเซลลเพื่อเติมสีใหกับเซลล การปองกัน การล็อก เปนการปองกันเซลลท่เี ลือกจากการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนยาย เปลี่ยนขนาด หรือลบ สวนการซอน เปนการซอนสูตรในเซลลซ่งึ จะไมปรากฏในแถบ สูตร การล็อกและการซอนเซลลจะไมมผี ล จนกวาแผนงานจะถูกปองกัน สามารถใชปมุ คําสั่ง Format จากกลุมคําสั่ง Cells ในแท็บ Home ก็ได

69

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-65 การจัดรูปแบบเซลลเพื่อการปองกันใหกับเซลล การจัดการลักษณะเซลล การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข ใหเลือกกลุมเซลลท่ตี องการการจัดรูปแบบ แลวใชปมุ คําสั่งConditional formatting จากกลุมคําสั่ง Styles ในแท็บ Home จะเปดรายการ

รูปที่ 3-66 การจัดรูปแบบเซลลตามเงื่อนไขเนนกฎของเซลลใหกับกลุมเซลล จัดรูปแบบเปนตาราง ใหเลือกกลุมเซลลขอมูลที่จะทํารูปแบบตาราง แลวใชปมุ คําสั่งการ Format as Table จากกลุมคําสั่ง Styles ในแท็บ Home จะเปดรายการที่ แสดงเปนตัวอยางตารางขึ้นมา ใหเลือกรายการที่สอดคลองกับขอมูลใน ตารางที่เลือก และตองระบุ ตําแหนงของขอมูลในตาราง พรอมทั้งระบุดวยวาตารางนี้มสี ว นหัวตารางดวย หรือไม ถามีสว นหัว ตาราง ผลลัพธท่ไี ดจะสรางตัวกรองอัตโนมัติมาดวยเลย และสามารถใชเรียงลําดับหรือ กรองขอมูล ในตารางไดทนั ที

70

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-67 การจัดรูปแบบเปนตาราง และมีสว นหัวตาราง ลักษณะเซลล ใหเลือกกลุมเซลลขอมูลที่จะทํารูปแบบตาราง แลวใช ปุมคําสั่ง Cell styles จากกลุมคําสั่ง Stylesใน แท็บ Home จะเปดรายการที่แสดงเปนตัวอยาง ลักษณะเซลล ไดแก ดี แย และปานกลาง ขอมูลและแบบ ชื่อเรื่อง และหัวเรื่อง ลักษณะเซลลท่มี ชี ดุ รูปแบบ รูปแบบตัวเลข ลักษณะเซลลใหม และลักษณะการผสาน เปนตน

รูปที่ 3-68 เลือกกลุมเซลลหวั ตารางกอน ใชลกั ษณะเซลลช่อื เรื่องและหัวเรื่อง

71

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การแทรกรูปภาพและวัตถุ ในโปรแกรม Microsoft Excel สามารถแทรกรูปภาพ รูปราง และวัตถุจาก โปรแกรมอื่น ๆ ได เชนเดียวกับโปรแกรม Microsoft Word แตไมสามารถนํารูปภาพและวัตถุไปอยู ดานหลังขอมูลในตารางได ใน ที่นี้จะแทรกเพียงรูปภาพ ภาพตัดปะ และวาดรูปราง เปนตัวอยางพอ สังเขป

รูปที่ 3-69 การแทรกรูปภาพ จากคําสั่ง Picture ของกลุมคําสั่ง Illustrations แท็บ Insert

รูปที่ 3-70 การตกแตงเปลี่ยนสีรูปภาพจากแท็บคําสั่งบริบทกลุมคําสั่งAdjust ของ Picture Too แท็บ Format การจัดการกับหนาตางและสมุดงาน การจัดการกับหนาตาง จะเปนการใชกลุมคําสั่ง Windowในแท็บ View เพื่อจัดการ สรางหนาตาง จัดเรียงทั้งหมด ตรึงแนว แยก ซอน/ยกเลิกการซอน แสดงแบบเคียงขาง บันทึกพื้นที่ ทํางาน และสลับหนาตาง แมโคร เปนตน และการจัดการกับสมุดงาน จะเปนการใชกลุมคําสั่งการ Changesในแท็บ Review ไดแก การ ปองกันสมุดงาน ฯลฯ

72

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การสรางหนาตาง เปนการสรางหนาตางสมุดงานเดิมที่กําลังเปดอยูในขณะนัน้ เพิ่มอีก 1 หนาตาง เชน สมุดงาน test1 เปน test1:1 และ test1:2 เปนตน

รูปที่ 3-71 หนาตางใหม test1:2 ที่สรางจากสมุดงาน test1 การจัดเรียงหนาตางทั้งหมด เปนการเรียงหนาตางที่กําลังเปดอยูในลักษณะตาง ๆ เชน เรียงตอกัน แบบ แนวนอน แบบแนวตั้ง และ แบบเรียงซอน เปนตน และสามารถเลือกเรียงเฉพาะสมุดงานที่ใชอยูนนั้ ก็ได

รูปที่ 3-72 กลองโตตอบจัดเรียงหนาตางเลือกเรียงตอกัน การตรึงแนว และการแยก การตรึงแนว เปนการตรึงแถวบนสุดหรือคอลัมนแรกในหนาตาง และเมื่อไม ตองการใช ก็สามารถ ยกเลิกการตรึงได สวนการแยกหนาตาง เปนการทําใหมหี นาตางแยกออกมา ตามแนวนอนและ/หรือแนวตั้ง

รูปที่ 3-73 การใชคําสั่งตรึงแนวแถวที่ 1

73

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-74 การใชคําสั่งแยก เพื่อเลื่อนดูขอมูลในหนาตางยอย ๆ แตละหนาตางไดโดยงาย การซอน/แสดงหนาตาง ถาใชคําสั่งซอนหนาตางที่เปดอยูทลี ะหนาตาง และใชคําสั่งยกเลิกการซอน เพื่อ แสดงชื่อหนาตางที่ ซอนไว โดยมีกลองโตตอบการยกเลิกการซอนที่มรี ายชื่อสมุดงานใหเลือก

รูปที่ 3-75 การซอน/แสดงหนาตาง การเปรียบเทียบแบบเคียงขางกัน ถาใชคําสั่งการเปรียบเทียบแบบเคียงขางกัน เพื่อใชแสดงงานขอมูลในหนาตาง หลายหนาตาง

รูปที่ 3-76 กลองโตตอบการเปรียบเทียบแบบเคียงขางกัน เพื่อเลือกสมุดงานมาเปรียบเทียบ การสลับหนาตาง เปนการใชคําสั่งเรียกหนาตางสมุดงานที่ตองการใชงานออกมาทํางาน จาก คําสั่งสลับหนาตางของกลุม คําสั่ง Window ในแท็บ View ในกรณีท่เี ปดงานหลายหนาตางทํางาน หรือใชคลิกเลือกจากปุมชื่องานที่ Taskbar ก็ได

74

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-77 การสลับหนาตางทํางานจากชุดคําสั่ง Window ของแท็บ View

รูปที่ 3-78 การสลับหนาตางทํางานจาก ปุมชื่องานที่ Taskbar การปองกันสมุดงาน เปนการปองกันงานของเรา สามารถทําไดหลายระดับดวยกัน โดยอาจจะ เปนการปองกันเซลล (กลาว มาแลวในรูปแบบเซลล) แผนงาน สมุดงาน และการใชสมุดงานรวมกัน ก็ได โดยใชกลุมคําสั่ง Changesในแท็บ Review ซึ่งการปองกันสมุดงาน สามารถทําได ดัง รายละเอียดตอไปนี้

รูปที่ 3-79 การปองกันสมุดงานของกลุมคําสั่ง Changes แท็บ Review การปองกันสมุดงาน เปนการปองกันสมุดงานที่เลือก โดยสามารถ เลือกการปองกันโครงสรางและ/หรือหนาตาง แลวพิมพ รหัสผาน และยืนยันรหัสผาน

รูปที่ 3-80 การปองกันสมุดงานและใสรหัสผาน

75

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

และสามารถปองกันสมุดงานที่เลือก จากการ Save as แลวคลิกปุม เปดเมนูซอ นของTools เลือกGeneral Option... แลวกําหนดรหัสผานและยืนยันรหัสผาน ก็ สามารถปองกันสมุดงานนี้ไดเชนกัน โดยเมื่อเปดสมุดงาน จะใหเราใสรหัสผานใหถกู ตอง จึงจะ เปดสมุดงานนั้น ๆ ได และจะยกเลิกการปองกัน ก็ให Save as เปดเมนู ซอนของ Tols เลือก General Option... แลวลบรหัสที่ใชออกเสีย แลวบันทึกทับไปไดเลย

รูปที่ 3-81 การบันทึกเปนเพื่อปองกันสมุดงาน การปองกันและใชสมุดงานรวมกัน เปนการปองกันสมุดงานที่เลือก ปองกันการใชงานรวมกัน และการติดตามประวัติการเปลี่ยนแปลงใน สมุดงานที่ใชรวมกัน เพื่อให ไมสามารถปดได ถาสมุดงานนั้นไมใชสมุดงานที่ใชรวมกัน เมื่อเลือกกลองกา เครื่องหมายนี้ และ คลิก ตกลง เราจะถูกถามวาตองการใหบนั ทึกสมุดงานเปนสมุดงานที่ใชรวมกันหรือไม ในสมุดงานที่เปนสมุดงานที่ใชรวมกันแลว สามารถเปดการปองกัน สําหรับการใชงานรวมกัน และ ประวัติการเปลี่ยนแปลงได แตจะไมสามารถกําหนดรหัสผาน สําหรับการปองกัน เมื่อตองการกําหนดรหัสผาน เราตองลบสมุดงานจากการใชรวมกันออกกอน

รูปที่ 3-82 การปองกันเกี่ยวกับสมุดงานที่ใชงานรวมกัน การใช มุมมองและพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ เมื่อสิ้นสุดงานตารางแลว เราคงตองพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ โดยควรมีขนั้ ตอน ดังนี้

76

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

แสดงตัวอยางตัวแบงหนา กอนที่จะพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ ควรจัดการงานตารางใหอยูในขอบเขต ของหนากระดาษใหได เสียกอน จึงควรใหแสดงตัวอยางการแบงหนาจากแถบเครื่องมือปุม View ทางดานลางขวามือ ซึ่งจะเห็นเปน เสนประสีน้ําเงิน จากรูปแสดงวาตารางงานมีบางสวนที่เลย หนากระดาษออกมา จึงตองไปจัดการตารางงานให พอดีกับกระดาษเสียกอน

รูปที่ 3-83 การแสดงตัวอยางการแบงหนา ซึ่งจะเห็นเสนประสีน้ําเงิน การกําหนดพื้นที่การพิมพ กอนที่จะพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ ควรกําหนดพืน้ ที่การพิมพใหชดั เจน โดยใชคําสั่ง Print Area เลือกรายการกําหนดพืน้ ที่พิมพ จากกลุมคําสั่ง Page Setup แท็บ Page layout จะไดเซลลท่เี ลือกมีช่อื วา Print Area และใชคําสั่งพื้นที่พมิ พเลือกรายการลาง พื้นที่พมิ พ เพื่อยกเลิกได

รูปที่ 3-84 การกําหนดพื้นที่พิมพ การดูตัวอยางกอนพิมพ กอนที่จะพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ ควรเรียกดูตัวอยางกอนพิมพ เพื่อ ตรวจสอบความถูกตองของ ผลงานกับกระดาษที่ใช เพราะตารางในแผนงานมักมีขนาดใหญ โดย เปดเมนูจากปุม Office รายการพิมพเลือก แสดงตัวอยางกอนพิมพ

77

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-85 ตัวอยางกอนพิมพ มีบางคอลัมนเลยออกไปจากขอบกระดาษ ตองปรับแกกอน การตั้งคาหนากระดาษ จากตัวอยางกอนพิมพ คลิกปุมตั้งคาหนากระดาษ จะมีกลองโตตอบการตั้งคา หนากระดาษขึ้นมามี 4 แท็บ ไดแก หนา เปนแท็บงานที่ใชกําหนดการวางแนว มาตราสวน ขนาดกระดาษ คุณภาพการพิมพ หมายเลขหนา แรก เปนตน

รูปที่ 3-86 แท็บหนาในการตั้งคาหนากระดาษ

78

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระยะขอบ เปนแท็บงานที่ใชกําหนดระยะขอบกระดาษทั้งสี่ดาน และ ระยะหัวกระดาษและทาย กระดาษ การจัดกึ่งกลางหนากระดาษ

รูปที่ 3-87 แท็บระยะขอบในการตั้งคาหนากระดาษ แท็บหัวกระดาษ/ทายกระดาษ เปนแท็บงานที่ใชตั้งชื่อหัวกระดาษ/ทาย กระดาษ การตั้งชื่อหัวกระดาษ/ ทายกระดาษ จะมีรายการที่โปรแกรมไดสรางไวให โดยคลิก รายการซอนของหัวกระดาษ/ทายกระดาษ แลว เลือกรายการที่ตองการ

รูปที่ 3-88 เลือกรายการที่กําหนดใหทาํ หัวกระดาษ/ทายกระดาษ และยังสามารถตั้งชื่อหัวกระดาษ/ทายกระดาษไดเอง โดยคลิกปุมหัว กระดาษกําหนดเอง... หรือทาย กระดาษกําหนดเอง... จะมีกลองโตตอบหัวหระดาษหรือทาย กระดาษ ที่มกี ลองกรอกขอมูลอยู 3 สวน คือ สวน

79

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ซาย สวนกลาง และสวนขวา ซึ่งถาเราพิมพ ขอความหรือตัวเลข จะไดขอมูลที่คงที่ แตถา เราคลิกปุมที่ใหมา จะ ปรับเปลี่ยนไปตามคาที่เกิดขึน้ เชน ปุมเลขหนา จะเปลี่ยนไปตามหนาที่พมิ พ ฯลฯ

รูปที่ 3-89 หัวกระดาษกําหนดเอง หรือทายกระดาษกําหนดเอง ตารางที่ 3-3 ปุมคําสั่งการจัดทําหัวกระดาษกําหนดเองหรือทายกระดาษกําหนดเอง

แท็บแผนงาน เปนแท็บงานที่ใชกําหนดพื้นที่การพิมพ พิมพช่อื เรื่องซ้ํา ดานบน และ/หรือซ้ําดานซาย ใหพิมพเสนตารางเซลล ขาวดํา หัวแถวและคอลัมน และคุณภาพแบบ ราง หัวแถวและหัวคอลัมน ทั้งยังกําหนด ลําดับของหนาการพิมพลงแลวซายไปขวาหรือซายไปขวา แลวลง

80

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-90 แท็บแผนงานในการตั้งคาหนากระดาษ การพิมพออกทางเครื่องพิมพ เมื่อตรวจสอบและปรับคาตาง ๆ จนเปนที่พอใจแลว ก็ใหส่งั พิมพ โดยคลิกปุม พิมพท่ตี ัวอยางกอนพิมพ ไดเลย จะเปดกลองโตตอบพิมพขึ้น เพื่อตั้งคาตาง ๆ ใหตรงกับงานของเรา ไดแก เลือกเครื่องพิมพ/ตั้งคุณสมบัติ การพิมพ กําหนดชวงระยะที่พิมพ สิ่งที่พิมพ และจํานวนสําเนา ที่ตองการ

รูปที่ 3-91 การกําหนดคาตาง ๆ ในกลองโตตอบพิมพ ในกรณีท่มี กี ารแทรกแผนภูมิ และตองการพิมพแผนภูมอิ อกมาเปน แผนกระดาษตางหาก ก็ใหคลิก เลือกแผนภูมจิ ากแผนงานของสมุดงาน แลวคลิกปุม Office เปดเมนู พิมพเลือกรายการแสดงตัวอยางกอนพิมพ แลวจึงคอยสั่งพิมพ

81

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 3-92 แสดงตัวอยางกอนพิมพแผนภูมิ

รูปที่ 3-93 กลองโตตอบพิมพ เมื่อเลือกพิมพแผนภูมิ 4. การคํานวณโดยใชสตู รและวางฟงกชนั

การคํานวณโดยใชการพิมพสูตรทางคณิตศาสตร

การคํานวณโดยการพิมพสมการทางคณิตศาสตรนนั้ ตองมีการเรียนรูถงึ หลักการและ การนําไปใช ดังนี้

หลักการพิมพสตู รทางคณิตศาสตรในเซลล ในการพิมพสตู รสมการทางคณิตศาสตรแบบบรรทัดเดียวนั้น มีหลักการดังตอไปนี้ เครื่องหมายสถานะของสูตร ใหพิมพเครื่องหมายเทากับ (=) หรือคลิกเครื่องหมายเทากับบนแถบสูตร จะ มีแผนกรอกขอมูลใหมา โดยโปรแกรม Excel จะรูทนั ทีวากําลังทํางานอยูในสถานะสูตร

82

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 4-1 การพิมพ = ลงไปโดยตรงในเซลล และการคลิก = ที่แถบสูตร ตัวเลขและการอางอิงเซลล เมื่อพิมพ = แลว ก็เปนการพิมพสมการทางคณิตศาสตรบรรทัดเดียว ซึ่งจะ ใชตวั เลขหรือเซลลมาพิมพก็ ได ถาเปนตัวเลข Excel จะถือวาเปนคาคงที่ แตถา เปนเซลล จะขึ้นอยู กับการอางอิงเซลล โดยการพิมพช่อื เซลล ลงไปโดยตรง หรือใชเมาสคลิกเลือกเซลลท่อี า งอิงนั้นก็ ได เชน =1/2 หรือ =6*B3 หรือ =A4+B4 เปนตน เครื่องหมายการคํานวณและเปรียบเทียบ เปนการคํานวณโดยใชเครื่องหมาย บวก (+) ลบ (-) คูณ (*) หาร (/) เลขยก กําลัง (^) เปอรเซ็นต (%) และใชเครื่องหมายวงเล็บ () แตเราไมสามารถที่จะใสสญ ั ลักษณทาง ค ณิ ต ศ า ส ต ร ที่ ซั บ ซ อ น เ ช น (Square root) ลงในสูตรของ Excel ได ดังนั้นจึงตองมี การนําฟงกชนั มาชวยทํางาน ตัวอยาง 7 จะเขียนเปน SQRT (7) แทน เปนตน ซึ่งการคํานวณจาก เครื่องหมายคํานวณนี้ จะมีลาํ ดับงานการคํานวณกอนหลัง ดังตาราง ตารางที่ 4-1 ลําดับงานการคํานวณสูตรในโปรแกรม Microsoft Excel ลําดับที่

เครื่องหมาย

คําอาน

1

()

วงเล็บ

2

%

เปอรเซ็นต

3

^

ยกกําลัง

4

* และ /

คูณ และ หาร

5

+ และ -

บวก และ ลบ

83

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตารางที่ 4-2 เครื่องหมายในการเปรียบเทียบในการคํานวณสูตรของโปรแกรม Microsoft Excel เครื่องหมาย

คําอาน

ตัวอยาง

\=

เทากับ

\>

มากกวา

<

นอยกวา

\>=

มากกวาหรือเทากับ

\=250 ถาคาเปนจริงหรือถูก จะได ผลลัพธ เปน TRUE แตถา คา เปนจริงหรือเท็จ จะได ผลลัพธ เปน FALSE

ไมเทากับ

หลักการพิมพสตู รสําเร็จหรือฟงกชันในเซลล ในการพิมพสตู รสําเร็จหรือฟงกชนั แบบบรรทัดเดียวนั้น มีหลักการดังตอไปนี้ เครื่องหมายสถานะของสูตร ใหพิมพเครื่องหมายเทากับ (=) หรือคลิกเครื่องหมายเทากับบนแถบสูตร จะ มีแผนกรอกขอมูลใหมา โดยโปรแกรม Excel จะรูทนั ทีวาขณะนีก้ ําลังทํางานอยูในสถานะสูตร ชื่อสูตรสําเร็จหรือฟงกชัน ใหพิมพช่อื สูตรสําเร็จหรือฟงกชนั ที่รูจกั ตอจากเครื่องหมายเทากับ (=) ไดแก SUM AVERAGE COUNT MAX MIN ฯลฯ การอางอิงเซลล หลังจากพิมพช่อื สูตรสําเร็จหรือฟงกชนั จะเปนวงเล็บที่เปนขอมูลการ อางอิงเซลล โดยใชเครื่องหมาย โคลอน (:) คั่นระหวางเซลล เปนขอมูลตอเนื่องจากเซลลหนึ่งถึงอีก เซลลหนึ่ง และใชเครื่องหมายจุลภาคหรือ คอมมา (,) เปนขอมูลเวนชวงระยะไปอีกเซลลหนึ่งหรือ อีกกลุมเซลลหนึ่ง โดยการพิมพช่อื เซลลลงไปโดยตรง หรือใชเมาสคลิกเลือกเซลลท่อี า งอิงนั้นก็ได ถาเปนกลุมเซลล การอางอิงเซลลติดตอกันใหใชเมาสลาก แตถา เปน เซลลหรือกลุมเซลลเวนชวง ระยะกัน ใหใช Ctrl + เมาสคลิกหรือลาก ตามแตกรณี เชน =SUM (A1:A4, A6) เปนตน

84

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 4-2 การพิมพ = สูตรและขอมูลลงไปโดยตรงในเซลล แตถา เปนการคลิก = ที่แถบสูตรแลว จะมีแผนขอมูลมาใหเรากรอกหรือใช เมาสคลิกเลือกเซลลก็ได ใน ชองจํานวนชุดที1่ และ2 (ถามี) แผนนี้สามารถยายได ในกรณีท่แี ผนบัง ขอมูลดิบอยู โดยนําเมาสไปลากยาย ออกมา หรือสามารถที่จะยอแผนใหเหลือแตชอ งที่จะกรอก ขอมูลก็ได โดยใหคลิกที่รูป ทายชองนั้น และคลิกที่ รูป ทายชองนั้นอีกครั้ง เพื่อเปดแบบ เต็มแผนขึน้ มาใหม

รูปที่ 4-3 การคลิก = ที่แถบสูตรและพิมพขอมูลลงไปในแผนกรอกขอมูล

รูปที่ 4-4 การยอแผนกรอกขอมูล ใหเหลือเพียงชองกรอกขอมูลที่ตองการ

การคํานวณโดยใชสูตรสําเร็จจากแทรกฟงกชนั

การคํานวณโดยการใชสตู รสําเร็จจากการแทรกฟงกชนั นี้ เปนที่รวบรวมสูตรหรือ ฟงกชนั ประเภทตาง ๆ ไดแก การเงิน วันและเวลา คณิตศาสตรและตรีโกณมิติ ทางสถิติ การคนหา และการอางอิง ฐานขอมูล ขอความ ตรรกศาสตร ขอมูล เปนตน ดังนั้น การใชประโยชนจากการ แทรกฟงกชนั ของโปรแกรม Excel นั้นมี อยูอยางมากมายมหาศาล แตส่งิ สําคัญยิ่งในการใช ประโยชนจากเครื่องมือนี้กค็ ือ ความรูและความเขาใจในการ ใชสตู รประเภทตาง ๆ ที่ตองไดรับ การศึกษามาในแตละสาขาวิชา ซึ่งมีความจําเปนเปนอยางยิ่งในการนําไปใช กรอกขอมูลหรือสราง ตารางคํานวณไดถกู ตองและตรงกับการนําไปใชในสูตรหรือฟงกชนั นั้น ๆ โดยจะ กลาวถึงหลักการ ในการใชสตู รหรือฟงกชนั ดังตอไปนี้

85

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใชฟง กชันผลรวมอัตโนมัติ เมื่อมีตัวเลขหรือขอมูลที่ตองการหาผลรวมอยางรวดเร็ว ซึ่งในตารางขอมูล โดยทั่วไป มักจะใชกันเปน ประจํา โปรแกรม Excel จึงไดสรางเครื่องมือใหใชงานไดอยางสะดวก

รูปที่ 4-5 การใชฟงกชนั ผลรวมอัตโนมัติ การใชฟง กชันที่ถูกใชเร็ว ๆ นี้ ในการใชสตู รหรือฟงกชนั ที่ไดถกู ใชเมื่อเร็ว ๆ นี้ จะเก็บประวัติไว 10 สูตร ใหเรา นํากลับมาใชอยาง รวดเร็ว โดยไมตองเสียเวลาไปคนหาสูตรใหมอกี ซึ่งมีการใชอยู 2 วิธี คือเรียกใช ที่แถบสูตร กับที่วางฟงกชนั ในหัวขอนี้จะกลาวถึงที่แถบสูตรเทานั้น สวนหัวขอถัดไปเปนการ เรียกใชสตู รหรือวางฟงกชนั ดังขั้นตอน ตอไปนี้ เรียกรายการสูตรที่ถูกใชเร็ว ๆ นี้ ใหคลิกเครื่องหมายเทากับ (=) บนแถบสูตร จะมีแผนกรอกขอมูลใหมา และ ที่ชอ งอางอิงตําแหนงเซลลได เปลี่ยนเปนชื่อสูตรแลว ซึ่งจะมีรายชื่อสูตรทั้ง 10 สูตรอยูในรายการ ซอนนี้

รูปที่ 4-6 ลักษณะครั้งแรกเมื่อคลิกเครื่องหมายเทากับ (=) บนแถบสูตร

86

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

เปดเลือกสูตรที่ตอ งการใช ใหคลิกที่หวั ลูกศรดํา ๆ หลังชื่อสูตรที่เกิดขึ้น จะเปนการเปดรายการสูตรที่ ถูกใชเมื่อเร็ว ๆ นี้ 10 สูตร และฟงกชนั เพิ่มเติม... ใหคลิกเลือกสูตรที่ตองการ จะมีแผนกรอกขอมูล ที่ไดนําเซลลขอมูลเขาไปแลว หาก ตองการเปลี่ยนแปลงขอมูลก็ใหลบขอมูลเดิม และคลิกเลือก เซลลใหมท่ตี องการ แลวคลิกปุมตกลง

รูปที่ 4-7 รายการชื่อสูตรหรือฟงกชนั ที่ถกู ใชเมื่อเร็ว ๆ นี้ 10 สูตร และMore Function...

รูปที่ 4-8 เมื่อคลิกเลือกสูตรหาคาเฉลี่ย (AVERAGE) จะมีแผนกรอกขอมูลเซลลใหเลย แตถา คลิกเลือกรายการฟงกชนั เพิ่มเติม... จะแสดงแผนกลองโตตอบวาง ฟงกชนั ขึ้นมาใหเลือกประเภท และสูตร หรือฟงกชนั ที่ตองการ ดังรูป

รูปที่ 4-9 กลองโตตอบแทรกฟงกชนั ถูกเปดขึ้นมา เมื่อคลิกเลือกแทรกฟงกชนั หรือฟงกชนั เพิ่มเติม

87

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใชฟง กชันประเภทตาง ๆ ในการเรียกใชสตู รหรือฟงกชนั ทั้งหมด ใหคลิกคําสั่งแทรกฟงกชนั หรือฟงกชนั เพิ่มเติมของกลุมคําสั่ง ไลบรารีฟงกชนั ในแท็บสูตร จะแสดงกลองโตตอบแทรกฟงกชนั ขึน้ มาให เลือกประเภทที่ตองการทางบน แลว จึงเลือกสูตรหรือฟงกชนั ที่ตองการทางดานลาง เชน ตองการหา คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอยาง ตอง เลือกประเภททางสถิติ และเลือกฟงกชนั ชื่อ STDEV เปนตน

รูปที่ 4-10 คลิกเลือกประเภท และชื่อฟงกชนั ที่ตองการ เสร็จแลวคลิกตกลง จะเปดแผนกรอกขอมูลที่มกี ารนําคาเซลลมากรอกใหเรียบรอย แลว หากตองการ แกไขก็ใหลบและคลิกเลือกเซลลใหมเขามาแทนที่ แลวจึงคลิกตอบตกลง

รูปที่ 4-11 เมื่อคลิกเลือกชื่อสูตรหรือฟงกชนั STDEV จะมีแผนกรอกขอมูลเซลลใหเลย การคํานวณและวิเคราะหขอ มูลขั้นสูง การคํานวณโดยการใชสตู รหรือฟงกชนั ไมวาจะเกิดจากการพิมพเองหรือมีการวาง ฟงกชนั ก็ตาม ควรไดทาํ ความ เขาใจถึงหลักการการนําสูตรหรือฟงกชนั ไปใชในการคํานวณ ดังตอไปนี้

88

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การคัดลอกสูตร การคํานวณในตําแหนงเซลลอ่นื ๆ แตมกี ารใชสตู รเดียวกัน จําเปนที่ตองคัดลอกสูตรที่ ทําแลวนําไปใช แตการคัดลอกอาจมีปญ  หาบางประการเกิดขึน้ ได ดังนั้นควรตองทําความ เขาใจ เกี่ยวกับการคัดลอกสูตร การ อางอิงเซลล ผลลัพธขอความแปลก ๆ ดังตอไปนี้ การคัดลอกสูตรและการอางอิงเซลล เมื่อเราคํานวณโดยการพิมพสตู รหรือการใชฟงกชนั เสร็จเรียบรอยแลว ก็ให คัดลอกไปวางไวในเซลล อื่น ๆ ไดโดยใชการคัดลอกและวางจากเมนูหรือเครื่องมือตามที่ไดอธิบาย ไปแลว หรือใหใชตวั เติมอัตโนมัติ ลากไป ในกรณีท่ขี อมูลอยูในแนวแถวและคอลัมนเดียวกัน ดังนี้ การคัดลอกโดยใชตัวเติมอัตโนมัติ ในกรณีท่ขี อมูลในตารางที่ ตองการคัดลอกสูตรอยูในแนวแถวและ คอลัมนเดียวกัน ก็สามารถใชตัวเติมอัตโนมัติลากไปได ตลอด ซึ่งเซลลท่ถี กู วางในลําดับตอ ๆ ไปนั้น จะมีการ อางอิงในสูตรเปลี่ยนแปลงตามไปดวย ตาม ลักษณะของแถวและคอลัมน เชน การคัดลอกสูตรหาเงินภาษีของ แตละคน จากตําแหนงเซลล F3 ใชสตู ร =10%*E3 เมื่อคัดลอกโดยลากตัวเติมอัตโนมัติลงมาตามแนวคอลัมน ของ F ในแตละแถว การอางอิงเซลลในสูตรจะเปลี่ยนไปตามแถวนั้น ๆ คือที่ F4 จะเปนสูตร =10%*E4 โดยที่ คอลัมน ไมไดถกู เปลี่ยน เพราะลากลงมาในคอลัมนเดียวกัน หากแถวใดไมมขี อมูลเลย ก็จะไดผลลัพธเปน 0 หรือ -

รูปที่ 4-12 การใชสตู รผลคูณที่ตําแหนงเซลล F3

89

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 4-13 การคัดลอกโดยลากตัวเติมอัตโนมัติลงมาตามแนวคอลัมนของ F และในการคัดลอกตามแนวแถว เชน การคัดลอกสูตรรวมเงินเดือนที่ ตําแหนงเซลล E8 ใชสตู รผลรวมอัตโนมัติ คือ =SUM (E3:E7) เมื่อคัดลอกโดยลากตัวเติมอัตโนมัติ ตามแนวแถวที่ 8 ไปทางขวา (คอลัมน) การอางอิงเซลล ในสูตรจะเปลี่ยนไปตามคอลัมนนนั้ ๆ คือที่ F8 จะเปนสูตร =SUM (F3:F7) โดยที่แถวไมไดถกู เปลี่ยน เพราะ ลากไปตามแนวแถวเดียวกัน

รูปที่ 4-14 การคัดลอกโดยลากตัวเติมอัตโนมัติไปตามแนวแถวที่ 8 การคัดลอกโดยใช เมนู เครื่องมือ และเมาสลาก เปนการคัดลอกไป ใชในตําแหนงเซลลท่ไี มอยูในแถว และคอลัมนเดียวกัน หรืออยูแตเปนการอางอิงไมเหมือนกัน จาก ตัวอยางเชน การหาผลรวมที่เซลล C6 ใชสตู ร

90

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลรวม =SUM (D6,E6) แลวคัดลอกมาวางที่ตําแหนง เซลล G6 จะไดสตู รผลรวม =SUM (H6,I6) ซึ่งเปนการ อางอิงเลื่อนลําดับคอลัมนไปตามตนฉบับที่มี 2 เซลล แตในขอมูลตําแหนงวางมีขอมูลถึง 3 เซลล จึงไดสตู รและ ผลลัพธไมถกู ตอง ตองแกไขสูตร ใหมใหเปน =SUM (H6:J6) ดังนั้นการคัดลอกมาวางในตําแหนงอื่น ๆ ตอง ระวังวาเซลลตนฉบับ ของสูตรกับเซลลปลายทางนั้นมีความสอดคลองเหมือนกันหรือไม ถาไมเหมือนกันตอง แกไขการ อางอิงใหถกู ตองดวย

รูปที่ 4-15 การคัดลอกเซลล C6 จะไปวางที่เซลล G6

รูปที่ 4-16 เมื่อมาวางที่เซลล G6 จะไดสตู รอางอิงที่ไมตรงกับขอมูลตารางตองแกไขสูตรใหถกู ตอง การคัดลอกโดยมีเซลลอางอิงคงที่ ในกรณีนี้จะแตกตางกัน โดยที่มี บางเซลลหรือหลายเซลลท่นี ํามาใช อางอิงในสูตรเปนเซลลท่อี ยูคงที่ไมปรับเปลี่ยนไปตามแถวและ คอลัมน หากเราคัดลอกไปอาจไดเซลลท่มี คี าอื่น หรือเซลลวาง คือ 0 เปนขอมูลลงไปแทนคา ซึ่งจะ เกิดผลลัพธท่ผี ดิ ได ดังเชน การหาคารอยละของผูลงทะเบียน สมัครงานแตละสจจ. ที่เซลล B6 =100*C6/C5 นั้น เมื่อลากตัวเติมอัตโนมัติลงมา เชนที่ B7 จะไดสตู รเปลี่ยน ลําดับตามเปน = 100*C7/C6 เมื่อพิจารณาแลวพบวา ที่เซลลเศษ (C7) นั้นถูกตอง แตท่เี ซลลสว น(C6) ผิดไป เพราะ เปนเซลลของสจจ.เชียงใหม ไมใชของผลรวมศูนยภาคเหนือ จึงไดผลลัพธท่ไี มถกู ตองเลย

91

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 4-17 การคัดลอกที่เซลลตัวหารอางอิงไมถกู ตอง ดังนั้น เราตองรูจักวิธกี ารแกไขใหเซลลบางเซลลหรือหลายเซลลอยูคงที่ ซึ่งมีวิธกี ารคือการใสเครื่องหมาย $ นําหนาแถวและ/หรือคอลัมนท่ตี องการใหคงที่ ตัวอยางเชน เซลลท่มี คี าปกติหรือการอางอิงแบบสัมพันธท่ี C5 เราสามารถเปลี่ยนรูปแบบเซลลใหคงที่ได 3 ทาง ดวยกัน คือ อางอิงแบบผสม คือ แถวคงที่ ใหใสท่หี นาแถว เชน C$5 เปนตน อางอิงแบบผสม คือ คอลัมนคงที่ ใหใสท่หี นาคอลัมน เชน $C5 เปนตน อางอิงแบบสัมบูรณ คือแถวและคอลัมนคงที่ ใหใสท่หี นาแถวและ คอลัมน เชน $C$5 เปนตน จากตัวอยาง เราตองแกไขที่เซลลตนฉบับ B6 =100*C6/C5 เปลี่ยนเปน B6 =100*C6/C$5 ใหถกู ตองเสียกอน แลวจึงคัดลอกลงมาได

รูปที่ 4-18 การคัดลอกที่ไดเปลี่ยนเซลลตัวหารจาก C5 เปนเซลลแถวคงที่ C$5 แลว

92

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การอางอิงเซลลในแผนงานและสมุดงานอื่น ในกรณีท่มี กี ารใชสตู ร และจําเปนที่ตองใชการอางอิงเซลล ในสูตรที่มาจากแผนงานอื่นหรือสมุดงานอื่นนัน้ ก็สามารถทํา ไดเหมือนปกติ โดยเปดสมุดงานและ/หรือแผน งานอื่นแลวไปคลิกที่เซลลเปาหมายที่ตองการ โปรแกรมก็จะนํามากรอกขอมูลใหเราเอง

รูปที่ 4-19 การคัดลอกขามแผนงานและสมุดงาน เมื่อการอางอิงเซลลไมถกู ตอง การวางแบบเชื่อมโยง นอกจากการใชการพิมพอา งอิงเซลลในสูตร ตามที่กลาวมาแลว เรายังสามารถใช การวางแบบพิเศษ คือ การวางแบบเชื่อมโยง ซึ่งเปนการอางอิง เซลลอกี วิธหี นึ่ง ที่ทาํ ไดท้งั ในแผนงานหรือสมุด งานเดียวกัน และวางในแผนงานอื่นหรือสมุดงาน อื่น โดยเปดสมุดงานและ/หรือแผนงานที่เกี่ยวของ แลวไป คลิกเลือกเซลลตนทางที่ตองการ แลวใช คําสั่งคัดลอก จากนั้นใหคลิกเปดหนาตางสมุดงานและแผนงานที่ ตองการ เลือกเซลลเปาหมาย แลว ใชคําสั่งวางแบบพิเศษ... คลิกปุมวางการเชื่อมโยง ไมวาเซลลตนทางจะ เปลี่ยนแปลงไปอยางไร เซลลเปาหมายก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปดวย เชน การคัดลอกสูตรผลรวมจากสมุดงาน Book1 ไปที่ สมุดงาน Book2 ดังรูป

93

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 4-20 การคัดลอกสูตรและวางแบบเชื่อมโยงในการอางอิงเซลลในสูตรไปอีกสมุดงานอื่น ผลลัพธขอ ความแปลก ๆ การทํางานในโปรแกรม Excel มักอาจเกิดผลลัพธท่ไี มไดคาดคิดอยูเสมอ โดยผลลัพธนี้ จะเปนขอความ แปลก ๆ ที่เราอาจไมเขาใจได ซึ่งสามารถสรุปได ดังตาราง ตารางที่ 4-3 ขอความแปลก ๆ เกี่ยวกับผลลัพธของสูตรในโปรแกรม Excel 2007 ผลลัพธที่เกิด #####

สาเหตุที่เกิด จะเกิดขึ้นเมื่อตัวเลขในเซลลยาวกวา ขนาด กวางของเซลล

แนวทางการแกไข แกไขไดโดยการขยายขนาดความ กวางของเซลล

VALUE

จะเกิดเมื่อเราใชสตู รผิดหลักไวยากรณ ของ แกไขไดโดยการสํารวจดูวาประเภท สูตรเชนนําตัวเลขไปบวกกับ ตัวอักษรเปนตน ของขอมูลถูกตองตามหลัก คณิตศาสตรหรือไม

DIV/0!

จะเกิดเมื่อเราใช 0 เปนตัวหารเชน 10/0 ซึ่งทํา ไมไดโดยเด็ดขาด

แกไขโดยใชตัวเลขอื่น ๆ เปนตัวหาร แทน

NAME?

จะเกิดเมื่อในสูตรมีขอความที่ Excel ไม สามารถบอกไดวาคืออะไร เชน A21+ วัสดุ โดยที่คําวา วัสดุ ไมได เกี่ยวของอะไรเลยใน แผนงานนั้น

แกไขโดยการตรวจสอบสูตรดูวามี ขอความอะไรแปลกปลอมเขาไป หรือไม

N/A

จะเกิดขึ้นเมื่อโปรแกรมไมสามารถ คนหา ตําแหนงอางอิงเซลลท่ใี ชในสูตร ได มักพบ เมื่ออางอิงเซลลขามแผน งานหรือขามสมุด งาน

แกไขโดยการตรวจสอบวาประเภท ตัวแปรของฟงกชนั คืออะไร แลว เปลี่ยนใหถกู ตอง

94

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลลัพธที่เกิด

สาเหตุที่เกิด

แนวทางการแกไข แกไขโดยการตรวจสอบตําแหนง อางอิงเซลลท่อี าจจะหายไป

REF!

จะเกิดขึ้นเมื่อโปรแกรมไมสามารถ คนหา ตําแหนงอางอิงเซลลท่ใี ชในสูตร ได มักพบ เมื่ออางอิงเซลลขามแผน งานหรือขามสมุด งาน

NULL!

จะเกิดขึ้นเมื่อเรากําหนดพื้นที่เซลล สองเซลลท่ี แกไขโดยการใสเครื่องหมายคั่นให ถูกตอง ไมไดมสี ว นใดตอกัน แต ลืมแบงแยกดวย เครื่องหมายคั่น (,) เชน SUM (A1:B2, C2:D5) เขียนผิด เปนSUM (A1:B2 C2:D5) เปนตน

การคํานวณโดยใชฟง กชันพื้นฐาน ฟงกชนั เปนสิ่งที่จะชวยใหเราสามารถสรางสูตรไดงา ยขึ้น ดังนั้นเราจึงควรทํา ความรูจกั และทําความ เขาใจกับฟงกชนั พื้นฐานที่ใชกันอยูเปนประจํา จากตัวอยางที่ผา น ๆ มา เรา จะสังเกตเห็นวาฟงกชนั มี สวนประกอบ ดังนี้ FUNCTION (ตัวแปร 1, ตัวแปร2,…,ตัวแปร n) ตารางที่ 4-4 ฟงกชนั พื้นฐานที่ใชกันอยูเปนประจํา ใน Excel 2007 ชื่อฟงกชัน SUM

รูปแบบของฟงกชัน

การนําไปใช

SUM (จํานวนที1่ , จํานวนที่ 2...)

ใชในการหาผลรวมของขอมูล

AVERAGE (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชหาคาเฉลี่ย

COUNT

COUNT (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชนับจํานวนขอมูล

DATE

DATE (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

แปลงคา ป, เดือน, วัน ให กลายเปน ตัวเลขที่ Excel สามารถ นําไปคํานวณ ได

IF (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชตรวจสอบเงื่อนไขที่กําหนด

MAX

MAX (จํานวนที1่ , จํานวนที… ่ 2)

ใชคนหาขอมูลที่มคี ามากที่สดุ

MIN

MIN (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชคนหาขอมูลที่มคี านอยที่สดุ

AVERAGE

IF

95

คูมอื การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ชื่อฟงกชัน

รูปแบบของฟงกชัน

ABS

การนําไปใช

ABS (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชในการหาคาสัมบูรณ (เลขที่ไม มี เครื่องหมายลบ) ของตัวเลข เชน ABS (-1) เทากับ 1 และ ABS (1) เทากับ 1

ROUND

ROUND (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชปด เศษเลขทศนิยมโดยวิธที ่ี นิยม กันคือ ถานอยกวา .5 ใหปด ลง นอกนั้นใหปด ขึน้ ดังนั้น 5.5 ก็ จะถูก ปดเปน 6

FLOOR

FLOOR (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชปด เศษเลขทศนิยมทิ้ง

RANK

RANK (จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชในการหาลําดับขอมูลวาขอมูล ที่เรา มีอยูในลําดับที่เทาใด

HYPERLINK ( จํานวนที1่ , จํานวนที2่ …)

ใชในการสรางการเชื่อมโยงไปยัง เอกสารอื่น

HYPERLINK

ตัวอยางการใชฟง กชนั พื้นฐานและขั้นสูงในการคิดระดับคะแนนของวิชา คอมพิวเตอร ซึ่งมีสตู รที่ใชคือ SUM, AVERAGE, COUNT, MAX, MIN และ IF ตารางที่ 4-5 สัดสวนการประเมินผลวิชาคอมพิวเตอร รายการ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้