การไฟฟ าส วนภ ม ภาค ระบบจ ายแรงด นส งก kv

วธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารสั่งการควบคมุ การจา ยไฟฟา

สําหรับ ศูนยค วบคุมการจา ยไฟฟา

ศูนยส ั่งการระบบไฟฟา ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

มกราคม 2559

คาํ นาํ

เปนท่ีทราบกันดีวา การไฟฟาสวนภูมิภาค(PEA) เปนหนวยงานที่ทําหนาที่จําหนายพลังงานไฟฟา ใหแ กป ระชาชนในภาคครัวเรือน ภาคการทองเท่ียวและภาคอุตสาหกรรม ในประเทศ ครอบคลุมพ้ืนท่ีท้ังหมด 73 จังหวัด แตนอกเหนือจากการจําหนายพลังงานไฟฟาแลว การไฟฟาสวนภูมิภาคยังมีหนาท่ีควบคุม คาแรงดันไฟฟา, SAIFI, SAIDI ตัวประกอบกําลัง ฯลฯ ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน ซึ่งตัวแปรดังกลาวสะทอนถึง ความมัน่ คงและความเชื่อถอื ไดของระบบไฟฟา โดยจะสงผลตอความพงึ พอใจของผูใชไฟฟาโดยตรง โดยเฉพาะ อยางย่ิงภาคอุตสาหกรรม และภาคการทองเที่ยว ท่ีมีอัตราการเติบโตอยางมาก และมีความตองการระบบ ไฟฟาทมี่ ีความมน่ั คงและความเชื่อถอื ไดใ นระดับสงู ขึน้ เร่ือยๆ ดงั นั้นการปรับปรุงระบบไฟฟาใหมีความม่ันคงมี ความพรอ มรองรับการพฒั นาเศรษฐกจิ ดานตางๆ จึงมคี วามสําคัญเปน อยา งมาก

การปรับปรุงความม่ันคงและความเชื่อถือไดของระบบกําลังไฟฟา นอกจากการปรับปรุง/พัฒนา อุปกรณในระบบกําลังไฟฟาใหทันสมัยแลว กระบวนการควบคุมการสงจายพลังงานไฟฟา ใหมีประสิทธิภาพ กเ็ ปนส่งิ ท่ีสําคัญมากอยางหนึ่ง หนวยงานของการไฟฟาสวนภูมิภาค ที่ทําหนาท่ีกํากับดูแลการสงจายพลังงาน ไฟฟา ควบคุมตัวแปรตางๆ ขางตน ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน คือศูนยส่ังการระบบไฟฟา และศูนยควบคุมการ จายไฟทัง้ 12 เขต โดยทผ่ี านมานั้น ศูนยควบคุมการจายไฟท้ัง 12 เขต มีมาตรฐานดานการส่ังการควบคุมการ จายไฟฟาในบางสวน ที่ยังไมเปนไปในแนวทางเดียวกัน และข้ันตอนการส่ังการฯ บางขั้นตอนกับบางอุปกรณ ยงั ไมเปนไปตามหลักการที่ถกู ตองดานวิศวกรรมไฟฟาและดานการสั่งการฯ ซ่ึงมาตรฐานการส่ังการควบคุมการ จายไฟฟา เปนส่ิงที่สําคัญมากในการพัฒนาความมั่นคงและความเช่ือถือไดของระบบกําลังไฟฟา เพราะจะทํา ใหก ารสัง่ การควบคุมการจา ยไฟเปนไปอยางมีแบบแผน ประสิทธิภาพสูง เปนไปในแนวทางเดียวกัน รวมถึงสง ตอเปนองคความรูไดงาย สงผลตอการพัฒนาระบบไฟฟาในภาพรวม และสามารถชวยการยกระดับงานดาน การส่งั การควบคมุ การจายไฟ ของ PEA ใหเ ปน ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล

เน้ือหาของคูมือเลมนี้ จะประกอบไปดวยวิธีปฏิบัติการสั่งการพ้ืนฐานกับอุปกรณตางๆ ในระบบ 115 kV, 22 และ 33 kV และหลักปฏิบัติตางๆ ท่ีจําเปนสําหรับการสั่งการฯ รวมไปถึงความรูเสริมอื่นๆ ที่ จําเปนสําหรับการส่ังการฯ เพ่ือใหการสั่งการควบคุมการจายไฟฟาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีความ ปลอดภัย

ศูนยส่งั การระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

สารบัญ

หวั ขอ หนา

1. นิยาม 1

2. ระบบไฟฟากาํ ลงั 12

3. ความรทู ว่ั ไป 3.1 ระบบปองกันที่ใชในระบบกําลงั ไฟฟาของ PEA 21

3.2 ความรพู ื้นฐานเรอ่ื งลกั ษณะการจัดบัสแบบตา งๆ 48

3.3 การปฏิบตั งิ านดา นการส่ังการควบคมุ การจา ยไฟฟา 62

4. วธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารสง่ั การพืน้ ฐานสาํ หรับอปุ กรณในระบบ 115 kV (Basic Operation)

4.1 วิธีปฏบิ ัตกิ ารส่ังการกับอุปกรณภายในสถานไี ฟฟา

- Main and transfer Scheme 72

- Breaker and a half Scheme 85

- Double buses single breaker Scheme 99

- H Scheme 115

- Double buses double breakers Scheme 127

- Double mains and transfer Scheme 136

4.2 วิธปี ฏิบตั กิ ารสัง่ การกับอปุ กรณภายนอกสถานีไฟฟา

- Air Break Switch ระบบ 115 kV 152

- Load Break Switch ระบบ 115 kV 155

- Circuit Switcher 160

5. วิธปี ฏิบตั กิ ารส่ังการพ้ืนฐานสาํ หรับอปุ กรณในระบบ 22 และ 33 kV (Basic Operation)

5.1 วิธีปฏิบตั ิการสั่งการกบั อุปกรณภายในสถานีไฟฟา

- เบรกเกอร Outgoing # 1 165

- เบรกเกอร Incoming # 1 166

- เบรกเกอร Tie 167

- Main Bus # 1 168

- Underground Cable ของไลน Incoming 170

- Underground Cable ของไลน Outgoing

1 172

- Capacitor ในสถานไี ฟฟา 173

- หมอ แปลง Service (TS1) 174

- ระบบจําหนา ย Outgoing # 1 175

สารบัญ หนา

หัวขอ 177 180 5.2 วิธปี ฏิบตั ิการสง่ั การกบั อุปกรณภายนอกสถานีไฟฟา 183 - Recloser 188 - Load Break Switch และ Remote Control Switch 190 - Disconnecting Switch 192 - Switching Capacitor 195 - Fix Capacitor - Automatic Voltage Regulator (AVR) 199 - Single Phase Voltage Regulator (SVR) 207 208 6. หลกั ปฏบิ ัตสิ ําหรับการสง่ั การฯ 210 6.1 หลักการสั่งการเพ่ือบาํ รุงรักษา อปุ กรณใ ดๆ ในระบบไฟฟา 212 6.2 หลกั การสั่งการเพื่อขนานและถา ยเทโหลด 214 - หลักการส่ังการเพ่ือขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV 218 - หลักการสง่ั การเพ่ือขนานและถา ยเทโหลดหมอแปลง 223 - หลักการส่ังการเพื่อขนานและถา ยเทโหลดฟดเดอรระบบ 22/33 kV 228 6.3 หลกั การสง่ั การเพ่ือแกไขกระแสไฟฟา ขัดของ 6.4 หลักการส่งั การเพ่ือกคู นื โหลด หลังจากเกิดกระแสไฟฟาขดั ของในระบบไฟฟา 232 6.5 หลกั การตอลงดินเพื่อปฏิบัติงานในระบบไฟฟา 233 6.6 หลักการ By Pass อุปกรณต า งๆ ในระบบไฟฟา 242 ภาคผนวก 266 1. รายช่อื ผูรวมจดั ทาํ 2 .ตวั อยา งขอมลู ดานเทคนคิ ของอปุ กรณต างๆ ในระบบ 115 kV 3. ตวั อยางขอ มูลดา นเทคนิคของอปุ กรณต างๆ ในระบบ 22-33 kV 4. สัญลกั ษณและความหมาย

วิธปี ฏบิ ตั ิการสัง่ การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรบั ศูนยควบคุมการจายไฟฟา

1. นยิ าม

คําศพั ทเ ฉพาะดานการส่งั การ

Energize จา ยไฟ

De-energize ดบั ไฟ

Switching การปลด/สับ อุปกรณปองกันและอุปกรณตัดตอนในระบบไฟฟา เพ่ือ เปลยี่ นแปลงจดุ เชอื่ มตอ ทางไฟฟา/สภาพการจา ยไฟ

การขนาน การสวิตช่ิง ซ่ึงทําใหจุด (node) สองจุด หรืออุปกรณไฟฟา สองอุปกรณ หรือ วงจรไฟฟาสองวงจร (ซ่ึงอาจมีศักยไฟฟาแตกตางกัน) รวมเปนจุดเดียวกันทาง ไฟฟา ซึ่งจะสงผลทําใหท้ังสองจุด/อุปกรณ/วงจร มีศักยไฟฟาเทากัน ในทาง อดุ มคติ เชน การขนานระหวา งบสั /สายสง /ฟด เดอร/ หมอแปลง เปนตน

Bay ใชบ อกตาํ แหนง ของวงจรทีร่ ับไฟ/วงจรจายไฟ ในสถานีไฟฟา

Incoming วงจรทร่ี บั ไฟเขาบสั /สถานไี ฟฟา

Outgoing วงจรท่ีจายไฟออกจากบัส/สถานไี ฟฟา

Solid Bus การจายไฟผานบัส โดยท่ีไมมีระบบปองกัน เชนการจายไฟเขา-ออก เฉพาะ Transfer Bus โดยไมผานBreaker ดังน้ันระบบปองกัน จะใชของสถานีฯ ตน ทาง ซึ่งวิธี Solid Bus จะถกู ใชในกรณีท่มี ีความจาํ เปนเทาน้ัน

Cold Standby การปลดอุปกรณออกจากระบบไฟฟา เพื่อใชเปนอุปกรณสํารอง ในกรณีฉุกเฉิน โดยไมไดจา ยกระแสไฟเล้ยี งอปุ กรณนน้ั ไว

Fault สิง่ ผิดปกติ/ส่ิงรบกวน ท่เี กิดขนึ้ ในระบบไฟฟา ซึ่งทําใหการจายไฟไมเปนไปตาม สภาพปกติ เชน การเกิดลัดวงจร/การเปดวงจรที่ผิดปกติ โดยปรากฏการณ ดงั กลาว จะสงผลใหอ ปุ กรณปองกันทํางาน เปดวงจรแยกสวนที่เกิดFaultออก จากระบบ

Hot Standby การจายกระแสไฟเลี้ยงอุปกรณไฟฟาไว แตอุปกรณไฟฟานั้นมิไดจายโหลด เพอื่ ใชเปนอปุ กรณส าํ รอง ในกรณฉี กุ เฉิน

ศนู ยสงั่ การระบบไฟฟา -1- ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบัตกิ ารส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรับศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

Clear Line การตรวจสอบหาสิ่งผิดปกติในวงจรสายสง/ฟดเดอร ใชในกรณีเกิดFault ใน วงจรสายสง/ฟด เดอร

Lock คาน การลอคกลไกทางกลของอุปกรณตัดตอน เพื่อมิใหสามารถดําเนินการปลด/สับ อปุ กรณต ดั ตอนดงั กลา วได

Loop Current กระแสไฟฟาที่ไหลวนอยูในวงจรปด ในกรณีที่มีการขนานสายสง, การขนาน หมอ แปลง หรือการ Closed Loop ฯลฯ

By Pass การทําใหเกดิ ลดั วงจรกบั อุปกรณใดๆ โดยต้ังใจ โดยการเชื่อมตอข้ัวบวกและลบ ของอปุ กรณเขา หากัน เพอ่ื ใหกระแสไฟฟาไหลผานอุปกรณน้ันนอยลง เพื่อท่ีจะ ปลดอปุ กรณนนั้ ออกจากระบบ

Trip การเปดวงจรของอุปกรณปองกัน เพ่ือตัดกระแสลัดวงจร โดยสวนใหญใชกับ BreakerหรือRecloser โดยการ Trip ของอุปกรณปองกัน แบงเปน Trip Lockout (เปดวงจรถาวร) และ Trip Reclose (เปดวงจรชวั่ คราวและปด กลบั )

Ground Trip Block การตั้งคาอปุ กรณ/ รเี ลย ตรวจจับกระแส Fault ลงดิน ไมใหทาํ งาน

อปุ กรณต ดั ตอน

อปุ กรณต ัดตอน อุปกรณท ี่ติดตงั้ อยูในระบบไฟฟา เพอื่ ทําหนาทเ่ี ปด /ปดวงจรไฟฟา

Circuit Breaker อุปกรณตัดตอนที่มีกลไกการดับอารคในตัว ซึ่งทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะ จายโหลดอยู และยังสามารถรับคําส่งั จากรเี ลยป อ งกนั เพ่อื เปดวงจร ตัดกระแส ลัดวงจร หรือทํางานตามฟงกชั่นของรีเลยได โดยBreakerท่ีใชในระบบไฟฟา ของ PEA จะเปนแบบ 3-Poles Operation คือ สามารถทํางานปลด/สับ พรอ มกนั ไดท้งั 3 เฟส

Disconnecting Switch อุปกรณตัดตอนที่ไมมีกลไกการดับอารคในตัว ซึ่งทําใหสามารถปลด/สับ ได ขณะไมม โี หลดเทา นัน้ โดยสวิตซใบมดี ท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะมีทั้งแบบ 1-pole และ 3-Poles Operation ซึ่งในปจจุบัน สวิตซใบมีดที่ติดตั้งอยูใน สถานีฯ ระบบ 115/22/33 kV (ลานไก) จะเปนแบบ 3-Poles Operation สว นสวติ ซใ บมีดในระบบจาํ หนาย 22/33 kV จะเปนแบบ 1 Pole Operation

ศูนยสง่ั การระบบไฟฟา -2- ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏบิ ตั ิการสง่ั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรับศนู ยค วบคุมการจายไฟฟา

Load Break Switch อุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว ซึ่งทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะ จายโหลดอยู โดยโหลดเบรกสวิตซท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะเปนแบบ 3-Poles Operation คือ สามารถทาํ งานปลด/สับ พรอ มกนั ไดท ั้ง 3 เฟส

Remote Control Switch, RCS คือโหลดเบรกสวิตซท ต่ี ดิ ตั้ง Feeder Remote Terminal Unit (FRTU) เพื่อให สามารถตรวจสอบ/ส่ังการควบคุม สถานะของอุปกรณไดจากระยะไกล จาก ศนู ยควบคมุ การจายไฟ ผา นระบบ SCADA/DMS

Air Break Switch อุปกรณตัดตอนท่ีไมมีกลไกการดับอารคในตัว สามารถปลด/สับ พรอมกันทั้ง 3 เฟส (3-Pole Operating) ในขณะไมมีโหลดเทาน้ัน โดยติดตั้งอยูในสายสง ระบบ 115 kV

Ground Switch คอื สวติ ซใ บมีด ทถ่ี กู ตดิ ตงั้ อยูระหวา งระบบไฟฟากับจุดท่ีมีศักยเปนศูนยหรือดิน (Ground) เพื่อใชในการเชื่อมตอระบบไฟฟาลงดินทําใหศักยไฟฟาที่อุปกรณ เปนศนู ย กรณที ่ีมีการบาํ รุงรกั ษาอุปกรณไ ฟฟา นนั้

อุปกรณป องกัน

Directional Relay รีเลยปองกันแบบรูทิศทาง คือรีเลยที่นําทิศทางการไหลของกระแสลัดวงจร มาเปนเงื่อนไขหน่งึ ในการสั่งตดั กระแส Fault

Non-direction Relay รีเลยปองกันแบบไมรูทิศทาง คือรีเลยท่ีไมนําทิศทางการไหลของกระแส ลัดวงจร มาเปนเงือ่ นไขในการสัง่ ตัดกระแส Fault

Auto Reclosing Relay รีเลยท่ีทําหนาท่ีสั่งให Breaker ปดกลับ หลังจาก Breaker เปดวงจรเพื่อตัด กระแส Fault โดยสามารถโปรแกรมการทํางานได เชน การกําหนดจํานวนครั้ง ทปี่ ด กลับ และ Reclaim Time เปนตน

Overcurrent Relay รีเลยกระแสเกิน ใชหลักการนําคากระแสไฟฟาท่ีจายใหแกโซนปองกัน มาเปรียบเทียบกับคาปรับต้ัง เพ่ือเปนเง่ือนไขในการทํางาน โดยแบงเปน Directional Overcurrent Relay (รีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง) และ Non-directional Overcurrent Relay รีเลยกระแสเกินแบบไมรูทิศทาง โดย ในระบบไฟฟาของ PEA สวนใหญจะใชรีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง เปน ระบบปองกันสํารอง ในระบบ 115 kV และจะใชรีเลยกระแสเกินแบบไมรู

ศูนยสงั่ การระบบไฟฟา -3- ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏิบัตกิ ารสัง่ การควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

ทิศทางเปนระบบปองกันหลักในระบบจําหนาย 22/33 kV เพื่อปองกันไลน Incoming และ Outgoing ระบบ 22/33 kV

Distance Relay รีเลยระยะทาง ใชหลักการนําคากระแสที่จายใหแกโซนปองกันและแรงดันท่ี วัดได มาคาํ นวณหาระยะทาง และเปรียบเทียบกับคาท่ีปรับตั้ง เพื่อเปนเง่ือนไข ในการทาํ งาน โดยรเี ลยระยะทาง เปนรีเลยแบบรูทิศทาง สําหรับในระบบไฟฟา ของ PEA จะใชเปน Distance Relay เปนระบบปองกันหลักของสายสงระบบ 115 kV

Differential Relay รีเลยผลตาง ใชหลักการเปรียบเทียบกระแสที่ไหลเขาและไหลออกจากโซน ปองกัน เปนเง่ือนไขในการทํางาน โดยรีเลยผลตาง เปนรีเลยแบบไมรูทิศทาง ซง่ึ ในระบบของ PEA จะถกู นํามาใชในปองกันใน 3 ลักษณะ คือ การปองกันบัส (Bus Differential Relay), การปองกันหมอแปลง (Transformer Differential Relay) และการปองกันสายสงท่ีมีระยะทางสั้นๆ (Line Differential Relay)

Lockout Relay เปนรีเลยชวย (Auxiliary Relay) ที่ทําหนาที่รับคําสั่งจาก Bus/Transformer Differential Relay เพื่อสั่ง Breaker ในโซนปองกัน Trip Lockout โดย หลังจาก Trip Lockout ไปแลว จะไมสามารถส่ังควบคุม Breaker ในโซน ปองกันได จนกวาจะดําเนินการ Reset สถานะของ Lockout Relay ให กลับมาอยูท่ี Normal

Circulating Current Relay

เปนรีเลยท่ีทําหนาท่ีตรวจสอบสภาวะการขนานหมอแปลง โดยใชหลักการ ตรวจสอบกระแสที่ไหลในวงจรปดระหวางหมอแปลงสองเครื่อง ขณะทําการ ขนานโหลดหมอแปลง โดยหากคากระแสสูงเกินกวาคาปรับตั้ง จะสั่งให Breaker Tie Trip Lockout เพ่ือ Open Loop เพ่ือเปนการลดคาความ สูญเสียกําลังไฟฟา (Power Loss) และปองกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนตอ หมอแปลง

Tap Differential Control Circuit เปนวงจรควบคุมท่ีทําหนาที่ตรวจสอบสภาวะการขนานหมอแปลง ใชหลักการ ตรวจสอบตําแหนง Tap หมอแปลงสองเคร่ืองที่จะทําการขนานกัน หากตําแหนง Tap หมอแปลงทั้งสองเครื่อง แตกตางกันจะไมสามารถสับ Breaker เพ่อื ขนานหมอแปลงได

ศูนยส่ังการระบบไฟฟา -4- ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏบิ ตั ิการส่งั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรบั ศนู ยค วบคุมการจา ยไฟฟา

CB Fail Relay เปนรีเลยท่ีตรวจสอบสภาวะการทํางานท่ีลมเหลวของ Breaker ในกรณีท่ีเกิด การลัดวงจร และ Breaker ไมสามารถเปดวงจรเพ่ือตัดกระแสลัดวงจรตาม ฟงกช่ันได ซึ่งอาจเกิดจากปญหาภายใน Breaker เอง CB Fail Relay จะสั่งให Breaker ตัวถัดไป ซ่ึงอยูใกลที่สุด และครอบคลุมโซนปองกัน Trip Lockout แทน

Sync Check Relay รีเลยที่ทําหนาที่ควบคุมจังหวะการสับของ Breaker ใหสับเขาในชวงเวลาที่ เหมาะสม คือ คาแรงดันไฟฟา, มุมเฟสของแรงดันไฟฟา, ความถี่ไฟฟา ของท้ัง สองดานของ Breaker มีคาใกลเคียงกันตามเกณฑท่ีปรับต้ังไว เพื่อปองกัน ปญหาดานเสถียรภาพของระบบซึ่งอาจทําใหเกิดการ Trip ตอเน่ือง (Cascade Trip) โดย Sync Check Relay สวนใหญจะถูกติดตั้งกับ Breaker ระบบ 115 kV ที่มีการสับขนานโหลดระหวางสองแหลงจายหรือระหวางสายสงสอง วงจรบอยคร้งั หรือ Breaker ในสายสงท่จี ายไฟแบบวงจรปด (Closed Loop)

Ground Relay รีเลยป องกนั กระแส Fault ลงดนิ ทาํ หนาทตี่ รวจจับกระแส Fault ลงดิน

Recloser อุปกรณปองกันท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว และมีรีเลยปองกันในตัว (Built in Protection Relay) ซ่ึงสามารถโปรแกรมลักษณะการทํางานของรีเลยปองกัน ไดในระดับหน่ึง สงผลให Recloser สามารถทํางานตัดกระแสลัดวงจร ได คลายคลึงกับ Breaker แตไมเปนตองรับคําสั่งจากรีเลยปองกันเหมือนกับ Breaker โดยRecloser ที่ใชงานในระบบของ PEA เปนแบบ 3-Pole Operation โดยสวนใหญถูกติดต้ังในระบบจําหนาย (Line Recloser, LRR) มีบางสวนที่ถูกติดต้ังในสถานีฯ ช่ัวคราว เพื่อใชปองกันฟดเดอรระบบจําหนาย แทน Breaker

Drop Out Fuse Fuseชนิดตกขาด ใชในระบบจําหนาย 22/33 kV โดยนิยมติดต้ังบริเวณกอน เขาหมอแปลงจําหนาย รวมถึงติดตั้งบริเวณไลนแยกระบบ 22/33 kV เพ่ือใช เปนระบบปองกันกระแสเกินของหมอแปลงจําหนาย และไลนแยก โดย Drop Out Fuse จะติดต้ังแยกเฟส ทําใหทํางานแยกจากกันโดยส้ินเชิง โดยกระบอก Fuse หรือชุด Fuse จะตกลงสูตําแหนงเปดวงจรโดยอัตโนมัติหลังจากท่ีระบบ Fuse ไดตัดวงจรแลว (Fuseขาด)

Circuit Switcher ชดุ ของอุปกรณซ ี่งถูกติดต้งั ในสายสง ระบบ 115 kV เพ่อื ทําหนาที่ปองกันสายสง ที่รับไฟจาก Circuit Switcher ดังกลาว โดยทั่วไปติดต้ังในสายสงที่มีระยะทาง ศนู ยส่งั การระบบไฟฟา ยาว และโหลดท่ีรับไฟจากสายสงมีปริมาณมาก เพื่อแยก Section สายสงฯ ลดผลกระทบการเกิดไฟฟาดับเปนบริเวณกวาง โดยชุดของ Circuit Switcher

- 5 - ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบตั กิ ารสั่งการควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรับศนู ยควบคุมการจายไฟฟา

จะประกอบไปดวย Load Break Switch ซ่ึงทําหนาที่ตัดกระแส, Disconnecting Switch ซ่ึงถูกออกแบบใหทํางานสัมพันธกับการเปด-ปด Load Break Switch และชุดของอุปกรณปองกัน ไดแก Surge Arrestor, CT, VT, Distance Relay, Directional Overcurrent Relay

หนว ยงานตางๆ

การไฟฟา ฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย(กฟผ.) เปนรฐั วสิ าหกจิ ดานกิจการพลังงานภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงพลังงาน กระทรวงการคลัง ดําเนินธุรกิจหลักในการผลิต จัดใหไดมา และจําหนาย พลังงานไฟฟาใหแกการไฟฟานครหลวง (กฟน.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) และผูใชไฟฟาตามกฎหมายกําหนดและประเทศใกลเคียง โดยแหลงท่ีมาของ พลังงานไฟฟาไดมาจากโรงไฟฟาของ กฟผ. เอง โรงไฟฟาเอกชน (IPP., SPP.) และรวมถึงแหลงพลังงานไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน โดย กฟผ. มีช่ือวา ภาษาอังกฤษวา Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)

การไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงาน ภายใตการกํากับดูแลของ กระทรวงมหาดไทย ดําเนินธุรกิจหลักในการจําหนายไฟฟาใหกับประชาชน ใน พ้ืนท่ีจังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ โดย แหลงของพลงั งานไฟฟาหลกั ไดมาการรบั ซื้อจาก กฟผ. และรวมถึงผูผลิตไฟฟา เอกชน(SPP., VSPP.) โดย กฟน. มีชื่อเรียกวาอังกฤษวา Metropolitan Electricity Authority (MEA)

การไฟฟาสว นภูมิภาค (PEA) เปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงาน ภายใตการกํากับดูแลของ กระทรวงมหาดไทย ดําเนินธุรกิจหลักในการจําหนายไฟฟาใหกับประชาชน ใน พ้ืนที่ 73 จังหวัดของประเทศไทย ยกเวนจังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด นนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ โดยแหลงของพลังงานไฟฟาไดมาการรับ ซ้ือจาก กฟผ. และรวมถึงผูผลิตไฟฟาเอกชน(SPP., VSPP.) โดย PEA มีช่ือเต็ม ภาษาองั กฤษวา Provincial Electrical Authority

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา -6- ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบัตกิ ารสง่ั การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ผผู ลติ ไฟฟา เอกชนขนาดใหญ (IPP.) ผูผลิตไฟฟาเอกชน ที่มีกําลังผลิตมากกวา 90 MW เชนโรงไฟฟาราชบุรี โรงไฟฟา ระยอง จาํ หนายพลังงานไฟฟาใหแก กฟผ. มีช่ือเรียกภาษาอังกฤษวา Independent Power Producer (IPP.)

ผูผลติ ไฟฟาเอกชนขนาดเล็ก (SPP.) ผูผลิตไฟฟาเอกชน ท่ีมีกําลังผลิตระหวาง 10 ถึง 90 MW จําหนายพลังงาน ไฟฟาให กฟผ. และรวมถึงผูใชไฟทั่วไป มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษวา Small Power Producer (SPP.)

SPP. (Non-Firm) SPP. ท่ีขนานจายไฟเขาระบบของ PEA หรือ EGAT โดยที่ไมมีตารางเวลาใน การขนานจายไฟเขาระบบที่แนนอน รวมถึงมิไดระบุปริมาณโหลดข้ันต่ําที่จาย เขาระบบ โดยสามารถปลด/สับขนานจายไฟเขาระบบเมื่อใดก็ได แตตอง ประสานแจง ทาง ศนู ยฯ แหง ชาติ กอ นดาํ เนนิ การ

SPP. (Firm) SPP. ท่ีขนานจายไฟเขาระบบของ PEA หรือ กฟผ. โดยมีตารางเวลาในการ ขนานจายไฟเขา ระบบที่แนนอน รวมถึงมีการระบุปริมาณโหลดขั้นต่ําท่ีจายเขา ระบบ (สัญญากับ กฟผ.) หากจายโหลดต่ํากวาสัญญา จะมีการคิดเบ้ียปรับ ดว ยเหตุนี้ โดยท่วั ไปคาพลังงานไฟฟาตอหนวยจะสูงกวา SPP (Non-Firm)

ผูผลิตไฟฟาเอกชนขนาดเลก็ มาก (VSPP.) ผูผลิตไฟฟาเอกชน ที่มีกําลังผลิตไมเกิน 10 MW จําหนายพลังงานไฟฟาใหแก กฟน. และ PEA มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษวา Very Small Power Producer (VSPP.)

ศนู ยฯ แหง ชาติ ศูนยควบคุมระบบกําลังไฟฟาแหงชาติ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ทําหนาท่ีควบคุมและส่ังการระบบผลิตกําลังไฟฟา ของ กฟผ. และผูผลิตไฟฟา เอกชน (ยกเวน ผูผลติ ไฟฟา รายเลก็ มาก, VSPP)

ศนู ยฯ ภาค ศูนยควบคุมกําลังไฟฟาภาคตางๆ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดแก ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต และ เขตนครหลวง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ทําหนาท่ีควบคุมและ ส่งั การระบบกาํ ลังไฟฟา ของ กฟผ.(ยกเวนระบบผลิต) ในภูมิภาคทรี่ บั ผิดชอบ

ศูนยส ัง่ การระบบไฟฟา -7- ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏบิ ัตกิ ารส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจายไฟฟา

ศนู ยฯ ระบบ ศูนยควบคุมระบบไฟฟา 3 การไฟฟานครหลวง ทําหนาท่ีควบคุมและส่ังการ ระบบสงกําลังไฟฟา 115 และ 69 kV ของ กฟน.

คาํ ศพั ทอ่นื ๆ

Voltage Detector อุปกรณท ีใ่ ชตรวจสอบขนาดแรงดันไฟฟา

Current Transformer (CT)

หมอแปลงกระแสไฟฟาขนาดเล็ก ทท่ี ําหนา ที่แปลงกระแสไฟฟาใหตํ่าลง และสง ตอไปยังเครื่องมือวัด หรือ รีเลยปองกัน โดยที่ใชในระบบของ PEA เปนแบบ Single Phase

Potential Transformer (PT) หรือ Voltage Transformer (VT)

คือหมอแปลงแรงดันไฟฟาขนาดเล็ก ที่ทําหนาที่แปลงแรงดันไฟฟาใหตํ่าลง และสง ตอไปยังเครื่องมือวัด หรือ รีเลยปองกัน โดยที่ใชในระบบของ PEA เปน แบบ Single Phase

TP ช่ือเรียกหมอแปลงกําลังขนาดใหญ ท่ีใชในระบบไฟฟา ของ PEA ซ่ึงทําหนาที่ แปลงแรงดันจาก 115 kV ลงมาเปน 22/33 kV หรือแปลงแรงดันจาก 69 kV ลงมาเปน 22/33 kV เพือ่ จา ยโหลดใหแ กผใู ชไ ฟระบบจาํ หนาย

Truck อุปกรณท่ีหอหุม Breaker ระบบ 22/33 kV ในสถานี 22/33 kV แบบ Vacuum Indoor Type โดยสามารถเล่ือนตําแหนง Truck ออกจากตู Switchgear ไดเพ่ือแยก Breaker ออกจากบัส กรณีที่ตองการซอมแซม/ บํารุงรักษา/เปล่ียน Breaker ดังกลาว หรือเพ่ือความปลอดภัยในการ ปฏิบตั ิงานบาํ รุงรกั ษาบริเวณใกลกับ Breaker

Switchgear พื้นที่/อาณาบริเวณ/ตู ที่มีการรวมกันและเช่ือมตอทางไฟฟาของอุปกรณ เชน อุปกรณตัดตอน อุปกรณปองกัน อุปกรณเครื่องวัด เปนตน เพ่ือจุดประสงคใน การตดั /จายกระแสไฟฟา

Riser Pole เสาตนท่ีเปนจุดเชื่อมตอระหวางสายเคเบิลใตดิน กับสายไฟฟาเหนือดิน (Overhead System) ทเ่ี ปนสายเปลอื ย หรือสายหุมฉนวน

ศนู ยสงั่ การระบบไฟฟา -8- ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบัตกิ ารสั่งการควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรับศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

Substation Capacitor อุปกรณที่ทําหนาท่ีชดเชย VAR ใหกับระบบไฟฟา เพื่อปรับปรุงคา Power Factor ใหดีขึ้น เพ่ิมแรงดันใหระบบไฟฟา โดยติดตั้งอยูในภายในสถานีไฟฟา สําหรับ Substation Capacitor ที่ใชงานในสถานีไฟฟาของ PEA จะทํางานได 3 STEP, STEP ละ 2.4 MVAR รวมเปนทั้งสิ้น 7.2 MVAR และสามารถตั้งให ทํางานปลด-สับ แบบอตั โนมัตไิ ด

Switching Capacitor อุปกรณที่ทาํ หนา ท่ีชดเชย VAR ใหก ับระบบไฟฟา เพื่อปรับปรงุ คา Power Factor ใหดขี นึ้ เพิม่ แรงดันใหระบบไฟฟา โดยตดิ ตั้งอยูในระบบจําหนา ย 22/33 kV ของ PEA ทํางานไดเ พยี ง 1 STEP มีพิกัด 1.2 MVAR และ 1.5 MVAR สามารถตงั้ การทาํ งานใหป ลด-สับ แบบอตั โนมตั ิได

Fix Capacitor อปุ กรณที่ทําหนาท่ชี ดเชย VAR ใหก บั ระบบไฟฟา เพื่อปรบั ปรงุ คา Power Factor ใหดขี ึน้ เพิ่มแรงดันใหระบบไฟฟา โดยติดตั้งอยูในระบบจาํ หนาย 22/33 kV ของ PEA มีขนาด 0.3 MVAR และ 0.6 MVAR โดยปกตจิ ะสบั เขา ใชง านในระบบตลอดเวลา ยกเวน กรณที ม่ี ีการซอมแซม/บํารุงรักษา

Feeder สายปอนที่ทําหนาที่จายไฟออกจากบัส/สถานีไฟฟา สงไปยังจุดโหลด โดยใน ระบบของ PEA หมายถึงวงจรจา ยไฟระบบจําหนา ย 22/33 kV

Tap หมอแปลง จุดตอท่ีตอออกมาจากจุดระหวางปลายทั้งสองของชุดขดลวดชุดหน่ึงภายใน หมอแปลงไฟฟา เพ่ือใหสามารถเปล่ียนแปลงจํานวนรอบของขดลวดดาน ปฐมภมู /ิ ทตุ ิยภูมิ ซงึ่ สง ผลถงึ การเปลย่ี นแปลงระดบั แรงดนั ดานปฐมภูมิ/ทุติยภมู ิ

On Load Tap Changer (OLTC)

อุปกรณซ่ึงทําหนาที่ปรับ Tap ของหมอแปลง เพ่ือใหไดแรงดันดานทุติยภูมิ เปนไปตามคาตองการ โดยออกแบบใหทํางานไดขณะหมอแปลงจายโหลดอยู โดย OLTC สามารถตั้งคาใหทํางานแบบ Manual หรือ Auto ก็ได การทํางาน แบบ Auto จะตองทํางานควบคูกับ Relay ปรับแรงดันไฟฟา (Voltage Regulator Relay)

Grounding คือ การตออุปกรณไฟฟาเขากับจุดที่มีศักยไฟฟาเปนศูนย หรือดิน (Ground) โดยการตอสายลีดระหวางอุปกรณไฟฟาและแทง Ground rod/Ground Grid

ศูนยส ่งั การระบบไฟฟา -9- ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏบิ ตั ิการสงั่ การควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

หรือการสับ Ground Switch ท่ีมีอยูแลว เพ่ือทําใหศักยไฟฟาของอุปกรณ ไฟฟาน้ันๆ เทากับศกั ยไฟฟาของดนิ หรอื ใกลเคยี งกับศนู ย

Underground Cable สายเคเบิลใตดิน เปนสายตัวนําหุมฉนวนแบบ Fully Insulated Conductor ชนิดหน่ึง ปจจุบัน PEA ใชงานเปนชนิดฉนวน XLPE ทั้งระดับแรงดัน 22/33 kV และ 115 kV

Automatic Transfer Scheme (ATS)

การสวิตชิ่งอัตโนมัติเพื่อไปรับไฟจาก แหลงจายไฟสํารองภายในเวลาไมเกิน 1 นาที เมื่อเกิดเหตุการณไฟฟาดับจากแหลงจายไฟหลัก โดยใชหลักการ ตรวจจับแรงดันไฟฟา โดยใชกับสถานีไฟฟา/โหลด ท่ีรับไฟจาก 2 แหลงจาย แบบ Opened Loop

Service Transformer (TS)

หมอแปลงลดระดับแรงดันไฟฟา เพ่ือจายกําลังไฟฟาใหกับอุปกรณตางๆ ภายในสถานีไฟฟา

Unbalance Load ภาวะท่รี ะบบไฟฟา 3 เฟส มีแรงดนั ไฟฟา หรอื โหลดไมเทากนั

ชุดปฏบิ ตั ิงาน Hotline ชุดปฏิบัติงานท่ีสามารถทํางานซอมแซม/แกไขระบบไฟฟา 22/33 kV ข้ึนไปได ไดโ ดยไมตองดับไฟฟา

หมอแปลงจําหนาย หมอแปลงลดระดับแรงดันไฟฟา จากระดับแรงดัน 22/33 kV ลงมาเปน 400/230 โวลต เพ่อื จายโหลดใหแ กผ ใู ชไฟแรงดันตํ่า

Load Buster อุปกรณท่ีใชปลด Drop Out Fuse และ Disconnecting Switch ในระบบ จําหนาย 22/33 kV ขณะที่มีกระแสโหลด ทําหนาที่เปน Interrupter ในการ ดับอารคของกระแสโหลด ชวยปองกันการเกิดลําอารคซึ่งจะเปนอันตรายกับผู ปฎบิ ตั ิงานปลด Drop Out Fuse หรือ Disconnecting Switch

Automatic Voltage Regulation (AVR)

หมอแปลงรักษาระดับแรงดันไฟฟา ซึ่งทํางานปรับแรงดันดานทุติยภูมิโดย อัตโนมัติ ท้ัง 3 เฟส เพ่ือใหระดับแรงดันท้ัง 3 เฟส อยูในเกณฑมาตรฐาน

ศูนยส ่ังการระบบไฟฟา - 10 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบัติการสง่ั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรับศนู ยค วบคุมการจายไฟฟา

ตามที่มีการตั้งคาไว (Voltage Set Point) AVR ใชในการแกไขปญหาแรงดัน ตกปลายสาย โดยสวนใหญตดิ ตงั้ ในระบบจําหนาย 22/33 kV ทีม่ ีระยะทางยาว Single-Phase Step Voltage Regulator (SVR) อุปกรณรกั ษาระดบั แรงดนั ไฟฟาอตั โนมัติ เพอ่ื ใหร ะดับแรงดันไฟฟาอยูในเกณฑ ท่ีมาตรฐานกําหนด ใชในการแกไขปญหาแรงดันตก โดยสามารถปรับ แรงดันไฟฟาแบบแยกแตละเฟสได

ศนู ยสง่ั การระบบไฟฟา - 11 - ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏิบตั กิ ารสงั่ การควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

2. ระบบไฟฟา กาํ ลัง

1. โครงสรางของระบบกําลังไฟฟา เปนทที่ ราบกนั ดวี า การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ทําหนาที่จําหนายพลังงานไฟฟาใหแกผูใช

ไฟฟา ซึ่งก็คือประชาชนทุกภาคสวน ในเขต 74 จังหวัด ของประเทศไทย โดยเริ่มตน กฟผ. จะทํา หนาท่ีผลิต/จัดหาพลังงานไฟฟา หลังจากน้ัน จะสงจายพลังงานไฟฟาผานระบบสง ของ กฟผ. ใน ระดับแรงดัน 500, 230, 115 และ 69 kV มายังจุดรับซื้อไฟ ซ่ึงมีกระจายอยูท่ัวประเทศ และทาง PEA จะสรางระบบกําลังไฟฟาของ PEA มารองรับอีกตอหนึ่ง เพ่ือรับซื้อพลังงานไฟฟา และสงตอ ผา นระบบของ PEA ไปยังผใู ชไฟฟา

รปู ท่ี 1 การสงจายพลงั งานไฟฟาจากระบบผลิตไปสูผ ใู ชไ ฟฟา

ศนู ยส ัง่ การระบบไฟฟา - 12 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบัติการสง่ั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศนู ยควบคุมการจายไฟฟา

รปู ที่ 2 แผนภาพแสดงการสง จายกาํ ลงั ไฟฟาจาก EGAT ไปสผู ใู ชไฟของ PEA

หนว ยงาน ระบบสง ระบบจําหนาย EGAT 500kV, 230kV, 115kV, 24kV, 12kV, 400/230V MEA 69kV, 33kV, 22kV, 400/230V PEA 300kV HVDC 230kV, 115kV, 69 kV

115kV, 69kV

ตารางที่ 1 แสดงระดับแรงดนั ไฟฟาที่ใชง านในระบบของ EGAT, MEA และ PEA จากรูปที่ 1 และ 2 แสดงโครงสรางของระบบกําลังไฟฟาโดยภาพรวม ต้ังแตการผลิต จนกระท่ัง ไปสูผูใชไฟฟา หากพิจารณาเฉพาะในสวนของ PEA สวนของระบบแรงดัน 115 kV

ศนู ยสั่งการระบบไฟฟา - 13 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบัตกิ ารส่งั การควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

รวมถึงสถานีไฟฟา จะถูกเรียกโดยรวมวา ระบบสง และสายจําหนายที่ออกจากสถานีไฟฟา 22/33 kV ไปจนถึงผใู ชไ ฟระบบแรงตํ่า จะถูกเรยี กโดยรวมวา ระบบจําหนาย

1.1 ระบบสง ระบบสง คือสวนที่ทําหนาท่ีรับพลังงานไฟฟาจากแหลงจายระบบ 115 kV และสงตอไปยัง

จุดโหลด (สถานีไฟฟา) ตางๆ ผานสายสงระบบ 115 kV โดยระบบสงของ PEA สวนใหญจะมี ลกั ษณะวงจรการจายไฟแบบ Open Loop ในสภาวะปกติ กลาวคือสถานีไฟฟาจะรับไฟจากสายสง วงจรเดียว ซึ่งหากเกิดเหตุขัดของ ทําใหสายสงวงจรดังกลาวไมสามารถจายไฟได จะทําใหสถานี ไฟฟา เกดิ ไฟฟาดบั แตจะสามารถสวิตช่ิงยายโหลดสถานีไฟฟามารับไฟจากอีกสายสงอีกวงจรหน่ึงได แตในสวนของบางพื้นท่ีที่ผูใชไฟมีความตองการความมั่นคงในการรับไฟคอนขางสูง เชน นิคม อุตสาหกรรม ซ่ึงไมตองการใหเกิดเหตุการณไฟดับบอยคร้ัง PEA จะพิจารณาจายไฟแบบ Closed Loop ซึ่งจะมีความมั่นคงสูงกวา โดยในภาวะปกติ สถานีไฟฟาจะเช่ือมตอทางไฟฟากับสายสงอยาง นอยสองวงจร ทําใหเมื่อสายสงวงจรใดวงจรหน่ึงเกิดเหตุขัดของ สายสงอีกวงจรหนึ่งยังสามารถ รับภาระโหลดและจา ยไฟตอ ไปได ทําใหไ มส ง ผลใหส ถานีไฟฟา เกิดไฟฟาดับ

รปู ที่ 3 ตัวอยางการจา ยไฟแบบ Opened Loop

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา - 14 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรับศนู ยควบคุมการจายไฟฟา

รูปที่ 4 ตวั อยางการจายไฟแบบ Closed Loop องคประกอบของระบบสง มดี งั น้ี 1.1.1 แหลงจายพลงั งานไฟฟา

แหลงจายพลังงานไฟฟาหลักของระบบของ PEA ไดจากโครงขายระบบกําลังไฟฟา ของ กฟผ. ซง่ึ กระจายอยูท ุกแหง ทวั่ ประเทศ โดย PEA จะเช่ือมตอ กับ กฟผ. ณ จุดรับซื้อไฟ ท่ีสถานี ไฟฟาแรงสูงของ กฟผ. ในระดับแรงดันไฟฟา 115 kV โดยหลังจากจุดรับซื้อไฟจะเปนระบบ กาํ ลังไฟฟา ของ PEA ซึง่ โดยปกติ PEA จะสรางสถานีไฟฟาเพื่อใชในการบริหารจัดการพลังงานไฟฟา และสงตอ ไปยงั จดุ โหลดตางๆ

นอกจากน้ัน ยังมีแหลงจายพลังงานไฟฟา จากโรงไฟฟาเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer, SPP.) และโรงไฟฟาเอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer, VSPP.) ซึ่งสามารถเช่ือมตอกับสายสงระบบ 115 kV ของ PEA ท้ังน้ี ในสวนของ SPP. ทาง PEA ตองรับซื้อไฟจาก SPP. ผาน กฟผ. อกี ตอ หนึ่ง ตามขอกาํ หนดการรบั ซ้ือไฟ

ศูนยสัง่ การระบบไฟฟา - 15 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบตั ิการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

รูปท่ี 5 ตัวอยางสถานีไฟฟาระบบ 115 kV แบบกลางแจง (Outdoor Substation)

1.1.2 สถานีไฟฟา สถานีไฟฟา คือองคประกอบท่ีทําหนาที่รับพลังงานไฟฟา เพ่ือจัดสรรปริมาณโหลด

และสงตอไปยังจุดโหลดตางๆ ผานระบบสายสง และระบบสายจําหนาย โดยภายในสถานีไฟฟาจะ ประกอบไปดว ยอุปกรณต ดั ตอน ระบบปองกนั หมอแปลง เมนบัส ฯลฯ ประกอบกันเปนสถานีไฟฟา เพ่อื จดุ ประสงคในการเพ่ิมความม่ันคงเชื่อถือได และพิกัดการจายโหลด ทั้งน้ี หากแบงสถานีไฟฟาท่ี ใชงานระบบของ PEA ตามระดบั แรงดันไฟฟา จะสามารถออกไดเปน 2 แบบ คอื

  1. สถานีไฟฟาระบบ 115 kV สถานีไฟฟาจะรับไฟในระบบแรงดัน 115 kV เขามาท่ีบัส เพือ่ จัดสรร และจายออกไป โดยหากเปนสถานีไฟฟาตนทาง ท่ีรับไฟจากจุดซื้อไฟ ของ กฟผ. และจา ยผานสายสงตอ ไปยังสถานีไฟฟาอื่นๆ หรือสถานีไฟฟาปลายทาง จะเรียก สถานีลักษณะน้ีวา Switching Substation โดยสถานีลักษณะนี้ จะรับภาระโหลด ปรมิ าณมาก โดยทั่วไปจึงตองถกู ออกแบบใหมคี วามมั่นคงสูง หากสถานีไฟฟาระบบ 115 kV ต้ังอยูใกลกับจุดโหลด จะมีหมอแปลง กําลังไฟฟาขนาดใหญ (TP) ติดตั้งอยู เพื่อทําหนาที่แปลงแรงดันไฟฟาจาก 115 kV ลง เปน 22, 33 kV เพื่อสงตอไปยังผใู ชไ ฟในพนื้ ทีใ่ กลเ คียง
  1. สถานีไฟฟาระบบ 22 และ 33 kV

ศูนยส ั่งการระบบไฟฟา - 16 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธีปฏิบตั กิ ารสั่งการควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

ทําหนาท่ีรับพลังงานไฟฟาจากสถานีไฟฟาระบบ 115 kV ของ PEA (ผาน หมอแปลง TP) หรอื อาจรบั จากสถานไี ฟฟา แรงสงู ของ กฟผ. (ผานหมอแปลง KT) และ กระจายโหลดสงไปยังระบบจําหนาย ผานวงจรฟดเดอรตางๆ โดยท่ัวไปสถานีไฟฟา ระบบ 22 หรือ 33 kV จะมีวงจรฟดเดอรท้ังส้ิน 10 ฟดเดอร จะมีบางสถานีที่รับภาระ โหลดมาก อาจมีถึง 15 วงจรฟดเดอร โดยอาจรบั ไฟจากหมอ แปลง (TP, KT) เพียงหนึ่ง เครอ่ื ง หรือหากรบั ภาระโหลดเยอะ อาจรบั ไฟมากถงึ 3 เคร่ือง

สถานีไฟฟาระบบ 22 และ 33 kV จะมีท้ังแบบกลางแจง (Outdoor Type) และในรม (Indoor Type) โดยสถานที ถี่ ูกออกแบบกอสรางในระบบของ PEA ในระยะ หลังจะเปน Indoor Type ทัง้ หมด ซ่ึงอุปกรณตัดตอนท้ังหมด บัสบาร จะถูกบรรจุใน ตูร ะบบปด ซึ่งอัดฉนวนไวภายในเพื่อปองกันการลัดวงจร โดย PEA ติดตั้งใชงานสถานี Indoor Type 2 แบบ คือแบบ Vacuum Insulated Switchgear (VIS) ใช สุญญากาศเปนฉนวนค่ันระหวางอุปกรณไฟฟาและตัวนําไฟฟา และแบบ Gas Insulated Switchgear (GIS) ซึง่ ใชกาซ SF6 เปนฉนวนคั่นระหวางอุปกรณไฟฟาและ ตัวนําไฟฟา โดยในระบบ 22 kV จะใชงานแบบ VIS แตในระบบ 33 kV จะใชงาน แบบ GIS เนือ่ งจากมรี ะดับแรงดนั ที่สูงกวา จึงตองการความเปนฉนวนมากกวา ซึ่งกาซ SF6 มีความเปนฉนวนมากกวา สุญญากาศ ท่ีสภาวะเดียวกัน (ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ เดียวกัน)

ศนู ยส่งั การระบบไฟฟา - 17 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏบิ ัติการสัง่ การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรบั ศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

รปู ที่ 6 ตวั อยางสถานีไฟฟาระบบ 22 kV แบบ VIS Indoor Substation 1.1.3 ระบบสายสง

ระบบสายสง เปนองคประกอบที่สําคัญ ในการสงพลังงานไปจุดโหลดตางๆ ท่ัว ประเทศ เปรียบเสมือนทอประปา ท่ีลําเลียงน้ําจากแหลงนํ้าไปสูผูบริโภค สายสงจะทําหนาที่สง พลังงานจากแหลงจาย หรือจากสถานีไฟฟาหน่ึง ไปยังสถานีไฟฟาปลายทางตางๆ โดยสายสงสวน ใหญ ของ PEA จะอยูเหนือดิน ใชสายเปลือย โดยมีลูกถวย คอน เสา เปนตัวรับนํ้าหนัก ใหสายสง พาดผาน

ศูนยส ั่งการระบบไฟฟา รูปท่ี 7 ตวั อยางสายสง ระบบ 115 kV - 18 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธปี ฏบิ ตั ิการสง่ั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

1.1.4 ผใู ชไฟฟาระบบ 115 kV คือผูใชไฟรับพลังงานไฟฟา โดยตรงจากสายสงระบบ 115 kV ของ PEA ใชพลังงาน

ไฟฟาในปริมาณมาก อาจมากถึงหลายสิบ MW.hr ทําใหตองรับซื้อไฟระดับแรงดัน 115 kV เน่ืองจากมีอัตราคาพลังงานไฟฟาท่ีถูกกวาแบบแรงดันตํ่ากวา โดยในสวนพ้ืนที่ของผูใชไฟจะมีสถานี ไฟฟาเปนของตนเอง เพื่อแปลงระดับแรงดันไฟฟาใชงานเอง ผูใชไฟประเภทนี้ สวนใหญจะเปน ผปู ระกอบการรายใหญ ในภาคธรุ กจิ ตางๆ เชน โรงงานอตุ สาหกรรม โรงแรมขนาดใหญ เปน ตน

1.2 ระบบจําหนา ย คือสวนที่รับพลังงานไฟฟาจากสถานีไฟฟาระบบ 22 หรือ 33 kV และแจกจายพลังงาน

ไฟฟาไปยังผูใชไฟฟาตางๆ ผานฟดเดอรระบบจําหนาย โดยระบบจําหนายของ PEA จะมีลักษณะ วงจรการจายไฟแบบ Radial คอื วงจรฟด เดอรร บั ไฟทางเดียว และในกรณีเกิดเหตุขัดของในฟดเดอร ดังกลาว จะสามารถยายโหลดบางสวนไปรับไฟจากฟดเดอรขางเคียงได ผาน Tie Switch โดย องคป ระกอบของระบบจาํ หนาย มีดงั นี้

1.2.1 ระบบจําหนา ยแรงสูง จะถูกพิจารณาต้ังแตสวนที่ออกจากสถานีไฟฟา มีระดับแรงดัน 22 หรือ 33 kV

ประกอบดวยสายฟดเดอรท่ีสวนใหญพาดผานเหนือดิน โดยมีลูกถวย คอนและเสารองรับสาย บาง ชวงของฟดเดอรอาจฝงอยูใตดิน แลวแตตามสภาพพ้ืนท่ี โดยอุปกรณรองรับสายตางๆ จะมีขนาดท่ี เล็กกวาระบบ 115 kV และในฟดเดอรจะมีการติดต้ังอุปกรณตัดตอนอยูเปนระยะ เชน โหลดเบรก สวิตซ สวิตซใบมีด เปนตน เพ่ือใชในการแบง Section ของฟดเดอร เพื่อใชในกรณีเม่ือเกิด เหตุขัดของใน Section ใด Section หน่ึง จะทําใหสามารถแยก Section นั้นออกจากระบบได นอกจากนี้ยงั มีการตดิ ตั้งหมอแปลงจําหนาย เพื่อแปลงแรงดันไฟฟาลงเปน 400/230 V สงไปยังผูใช ไฟ ผานระบบจําหนายแรงต่ํา และอาจมีการติดต้ังอุปกรณเพ่ิมแรงดันไฟฟา(AVR) และอุปกรณ ชดเชยคา VAR (Switching Capacitor) ตดิ ตัง้ เพิ่มในระบบตามความจําเปน

ศนู ยส ่ังการระบบไฟฟา - 19 - ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏบิ ตั ิการสงั่ การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรบั ศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

รูปท่ี 8 ตัวอยา งอปุ กรณที่ถูกติดตงั้ ในระบบจําหนา ยแรงสูง

1.2.2 ระบบจาํ หนายแรงตํา่ 400/230 โวลต รับไฟจากหมอแปลงจําหนาย สงตอไปยังบานเรือน หมูบาน ผูใชไฟรายเล็กตางๆ

โดยลักษณะการสงพลังงานจะเปนแบบ 3 เฟส 4 สาย กรณีโหลดเยอะ และอาจใชแบบ 1 เฟส 2 สาย กรณีโหลดนอย โดยสายระบบจําหนา ยแรงตํ่า สว นใหญจะตดิ ต้ังอยใู ตร ะบบจําหนา ยแรงสูง

1.2.3 ผูใชไ ฟฟา ผใู ชไ ฟฟาในระบบจําหนาย แบง ออกตามระดบั แรงดันไฟฟา ไดดังน้ี

  1. ผูใชไฟฟาระบบ 22 หรือ 33 kV คือผูใชไฟภาคธุรกิจตางๆ ท่ีมีขนาดรองลงมา จากผูใชไฟระบบ 115 kV รับไฟโดยตรงจากสายระบบจําหนาย 22 หรือ 33 kV โดยผูใชไฟจะมีหมอแปลงระบบจําหนายเปนของตนเอง เพื่อใชแปลงระดับไฟฟา ใชง านภายในพ้ืนท่ีของตนเอง
  2. ผูใชไฟฟาระบบแรงต่ํา 400/230 V คือ บานพักอาศัย ประชาชนท่ัวไป ธุรกิจ ขนาดเล็ก ท่ีใชไฟฟาปริมาณนอย ในหนวย kW.hr จะรับไฟจากระบบจําหนาย แรงต่าํ

ศนู ยสัง่ การระบบไฟฟา - 20 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบัติการสัง่ การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรับศนู ยค วบคุมการจายไฟฟา

3. ความรทู ่ัวไป

3.1 ระบบปองกนั ที่ใชในระบบกาํ ลงั ไฟฟาของ PEA 1. ความรูเบื้องตน เกีย่ วกับระบบปอ งกัน

1.1 ทม่ี าของการมีระบบปองกันในระบบกําลงั ไฟฟา ความผิดพรองในระบบกําลังไฟฟา (Fault) คือ ปรากฏการณตางๆ ที่เกิดตอระบบกําลังไฟฟาท้ัง

โดยทางตรง หรือทางออม ซ่ึงทําใหคาพารามิเตอรทางไฟฟา เชน กระแสไฟฟาหรือแรงดันไฟฟา ใน วงจรไฟฟามีการเปลี่ยนแปลงไปจากคาปกติ โดยความเปลี่ยนแปลงอาจสงผลใหอุปกรณไฟฟาอื่นๆ ใน ระบบ ไดรับความเสียหาย เชน การเกดิ การลดั วงจร การเกดิ ปรากฏการณฟา ผา การปลด-สับอุปกรณบาง ชนดิ ซ่งึ ทาํ ใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงของแรงดนั หรือกระแสไฟฟาอยา งกระทันหนั เปนตน

จากความผิดพรองในระบบกําลังไฟฟา (Fault) ที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลาในระบบกําลังไฟฟา ดังนั้นจึงมีการออกแบบระบบปองกันขึ้น เพื่อใชในการปองกันความเสียหายตออุปกรณไฟฟาตางๆ ใน กรณีท่ีเกิด Fault รวมถึงการปองกันระบบกําลังไฟฟาหลักใหคงอยู โดยทําการตัดระบบไฟฟาสวนนอยท่ี เกดิ Fault ออกไปกอ น

1.2 องคประกอบของระบบปอ งกนั ระบบปอ งกัน ประกอบดวยรีเลยปองกัน อุปกรณตัดตอน และระบบส่ือสาร โดยรีเลยปองกันทํา

หนา ทีต่ รวจจับ Fault แบบตางๆ ตามหนาท่ขี องตัวเองที่ไดรับการออกแบบมา โดยเมื่อตรวจจับ Faultได จะสงคําส่ังไปยังอุปกรณตัดตอน (โดยท่ัวไปใช Breaker) เพ่ือตัดวงจรสวนท่ีเกิด Fault ออกจากระบบ รวมท้ังการสง การแจงเตือนในรูปของสัญญาณไฟ หรือเสียง ใหผูดูแลระบบกําลังไฟฟาไดรับทราบ ซ่ึงการ ตรวจจบั Fault บางชนิด อาจตองใชรีเลยมากกวาหน่ึงตัว การสื่อสารระหวางรีเลยกับรีเลย หรือรีเลยกับ อุปกรณต ดั ตอน จะตอ งมีระบบส่ือสารเปนตวั กลางในการรับสง ขอ มลู ดังกลาว

1.3 หลกั การเบอ้ื งตนของรเี ลยป อ งกัน รีเลยปอ งกนั แบง ตามลําดบั การทาํ งานได 2 ประเภท คอื

  1. รีเลยหลัก (Primary Relay) เปนรีเลยที่ใชปองกัน โดยปกติการปองกันจะแบงเขตปองกันไว เฉพาะ โดยเมื่อเกิด Fault ข้ึนภายในเขตปองกัน รีเลยหลักจะส่ังใหBreakerทุกตัวในเขต ปองกันน้ันเปดวงจร (Trip) โดยเขตปองกันของรีเลยหลักจะจัดแบงใหคาบเก่ียวกัน (Overlap) เพื่อปองกันมิใหมีจุดบอดขึ้นในระบบปองกัน รีเลยหลักท่ีทํางานถูกตองจะส่ังให Breaker ทํางานนอ ยทส่ี ดุ โดยจะเปด วงจรเฉพาะสว นท่ีเกิด Fault ขน้ึ เทานนั้
  2. รเี ลยทาํ งานสํารอง (Back-up Relay) จะใชปองกันแทนรีเลยหลัก กรณีที่รีเลยหลักไมทํางาน ซ่ึงอาจเกิดขึ้นเน่ืองจากวงจรทริป (Trip Circuit) ของรีเลยหลักเกิดขัดของ โดยเวลาการ ทํางานของรีเลยทํางานสํารองจะชากวารีเลยหลัก โซนการปองกันของรีเลยสํารองอาจเปน

ศูนยส ั่งการระบบไฟฟา - 21 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏบิ ตั ิการส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจายไฟฟา

โซนเดียวกนั กบั รเี ลยห ลัก หรอื อาจมโี ซนการปอ งกันทม่ี ากกวา จึงอาจทําใหพ้ืนท่ีสวนท่ีไมไดมี Fault เกิดขึ้น เกดิ ไฟดับไปดว ย เมื่อรเี ลยส าํ รองทํางานแทนรเี ลยหลกั

1.4 โซนการปองกันของรีเลยป องกนั ระบบการปอ งกนั การผลิตไฟฟา ระบบสงและการจายไฟฟานั้นจะมีเขตรับผิดชอบในการปองกัน

เมอ่ื มFี aultเกดิ ขึน้ ในสว นตางๆ โดยแตล ะสว นน้ันจะทาํ หนา ท่ีปองกันอยางเหมาะสม ในการปองกันระบบ ไฟฟาจะแบง เขตปอ งกนั ตามชนิดของอุปกรณ ไดแก

- เขตการปองกันเคร่อื งกําเนดิ - เขตการปอ งกนั หมอแปลง - เขตการปอ งกนั บัส - เขตการปองกนั สายสง หรือสายจาํ หนาย - เขตการปองกนั มอเตอร

รูปท่ี 1 การแบง เขตการปอ งกันระบบไฟฟา จากรูปท่ี 1 แสดงเขตปองกันระบบไฟฟา ซ่ึงโซนปองกันจะออกแบบมิใหเกิดจุดบอดในการ ปอ งกนั อยางเชน เขตการปอ งกันที่ 1 จะคาบเกย่ี วกบั เขตการปอ งกันท่ี 3 และเขตการปองกันที่ 3 จะคาบ เกยี่ วกบั เขตการปองกนั ที่ 4 เปนตน ทมี่ า : ธนบูรณ ศศภิ านเุ ดช (2538 : 315)

ศนู ยส่ังการระบบไฟฟา - 22 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธีปฏบิ ตั ิการสั่งการควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรับศูนยค วบคุมการจายไฟฟา

1.5 ลักษณะเฉพาะท่ีสําคญั ของรเี ลยปอ งกนั

  1. ความไว (Sensitivity) รีเลยจะตองมีความไวพอท่ีจะรูถึงความผิดปกติซ่ึงอาจจะเกิดขึ้นใน ระบบไมวาจะอยูในสภาพใดก็ตาม เพื่อใหสามารถทํางานไดแนนอนเมื่อถึงเวลาจะเปนท่ีตอง ทาํ งาน
  2. ความเช่ือถือ (Reliability) รีเลยตองทํางานไดถูกตองตามคุณสมบัติและขอบเขตที่กําหนดให ทาํ งานและหลกี เลย่ี งการทาํ งานท่ไี มจ าํ เปน
  3. ความงาย (Simplicity) รีเลยตองมีโครงสรางงายในการติดตั้ง ในการถอดเขาออกเพ่ือการ บาํ รุงรกั ษาและงายตอ การตรวจสอบความถูกตอง
  4. ความสามารถแยกแยะ (Selectivity) รีเลยจะตองแยกแยะไดวา ในสภาวะใดที่ตองทํางาน ทนั ทีหรอื ในสภาวะใดทีไ่ มต องทํางาน หรอื ตอ งทาํ งานตามเวลาทีห่ นว งไว
  5. ความเร็ว (Speed) รีเลยตองทํางานโดยเร็ว เพ่ือใหมีการตัดตอนสวนที่เกิดFaultออกจาก ระบบใหเรว็ ทส่ี ุดเทา ที่เปนไปได ทั้งนีเ้ พ่ือชว ยลดความเสยี หายท่ีอาจจะเกิดข้นึ
  6. ความประหยัด (Economy) ควรเลือกรีเลยปองกันใหถูกสุด แตสามารถใหการปองกันท่ี สมบรู ณ

1.6 ชนิดของรเี ลยป องกัน ตัวอยางของรีเลยป องกัน ท่ใี ชกันอยางแพรหลาย ในระบบกําลงั ไฟฟา มดี ังนี้

  1. รีเลยกระแสเกิน (Overcurrent Relay) [50,51,50/51] มีหนาท่ีตัดวงจร เมื่อคากระแสของ ระบบเกินคาที่ตั้งไว โดยในเวลาการทํางานอาจจะทํางานทันทีในเวลา 10 – 40 ms เรียกวา แบบ Instantaneous Overcurrent Relay (50) หรือทํางานโดยมีการหนวงเวลา เรียกวา Time Delay Overcurrent Relay (51) มอี นิ พุต เปน คา กระแส

รปู ท่ี 2 แสดง Wiring Diagram ของรีเลยก ระแสเกิน

ศนู ยส ัง่ การระบบไฟฟา - 23 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบตั กิ ารส่ังการควบคุมการจา ยไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจา ยไฟฟา

รูปท่ี 3 แสดงลักษณะสมบัติเวลา กระแสของ Overcurrent Relay

  1. รีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง [67] หลักการทํางานเหมือนกับรีเลยกระแสเกิน [50,51] แต สามารถกําหนดทิศทางของกระแส Fault ท่ีจะใหรีเลยตัดกระแสได วาเปนกระแส Fault ทิศทางที่ไหลมาจากดานแหลงจาย หรือไหลมาจากดานโหลด โดยรีเลยกระแสเกินแบบรู ทิศทาง [67] จะมีอินพุตเปนคากระแส และแรงดันไฟฟา โดยแรงดันไฟฟา จะถูกนํามา คาํ นวณเพื่อวเิ คราะหท ิศทางการไหลของกระแส Fault
  1. รีเลยผลตาง (Differential Relay) [87] รีเลยวัดคาผลตาง จะทํางานโดยอาศัยหลักการวัด ผลรวมของเวคเตอรปริมาณไฟฟาท่ีไหลเขาขอบเขตการปองกัน และไหลออกจากขอบเขต ปอ งกัน รเี ลยประเภทนใ้ี ชใ นการปอ งกันการผดิ พรองภายในอุปกรณไฟฟาตางๆ เชน มอเตอร เคร่ืองกาํ เนิดไฟฟาหมอแปลงไฟฟา หรือเมนบัส เปนตน การทํางานของรีเลยประเภทน้ีจะใช CT ตอท่ีวงจรดานหนาและดานหลังของอุปกรณไฟฟา การตอขั้วของ CT จะตองถูกตอง เพ่ือใหกระแสผลตางที่ปอนใหรีเลยเปนศูนย ในสภาวะปกติหรือเกิดการผิดพรองนอกเขต

ศนู ยส งั่ การระบบไฟฟา - 24 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบตั ิการสัง่ การควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ปอ งกัน และกระแสผลตางท่ีปอนใหรีเลยจะไมเปนศูนยกรณีท่ีเกิดการผิดพรองในเขตปองกัน ซงึ่ จะทําใหร เี ลยส ามารถตรวจสอบจับความผดิ ปกติดงั กลาวได

รปู ที่ 4 แสดง Wiring Diagram อยางงายของ Differential Relay

  1. รีเลยระยะทาง (Distance Relay) [21] อาศัยหลักการวัดคาความตานทาน (Impedance) ของจุดที่เกิดการผิดพรองจนถึงจุดที่ติดต้ัง CT และ VT โดยใชการวัดคากระแสและแรงดัน แลวนํามาคํานวณคาอิมพีแดนซ และนําคาอิมพีแดนซที่คํานวณได ไป Plot บน R-X Diagram ของรีเลย เพ่ือดูวาอยูในขอบเขตการปองกันหรือไม หากจุดที่ Plot อยูในขอบเขต การปองกันแสดงวา Fault เกิดในโซนการปองกัน รีเลยระยะทางจะสั่ง Breaker Trip เปด วงจรเพ่ือตัดกระแส Fault ทั้งนี้รีเลยระยะทางจะแบงเปนหลายประเภท ตามลักษณะการ กําหนดขอบเขตการปองกันใน R-X Diagram เชน Reactance relay, Impedance relay, Mho relay, Off set mho relay, Quadrilateral Relay เปนตน

รปู ท่ี 5 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรเี ลยร ะยะทาง

ศูนยส ่ังการระบบไฟฟา - 25 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏบิ ตั กิ ารส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศนู ยค วบคุมการจายไฟฟา

รปู ที่ 6 แสดงขอบเขตการปองกันของ Distane Relay แบบตางๆ บน R-X Diagram

ศนู ยส ั่งการระบบไฟฟา - 26 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบตั ิการสัง่ การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรับศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

  1. รีเลยแรงดัน (Voltage Relay) , Overvoltage Relay [59] , Undervoltage Relay [27] เปน รเี ลย ที่มีหนาท่ีตรวจจับความผิดปกติของแรงดันมากเกินไปหรือนอยเกินไป อาจจะทํางานแบบ ทนั ทที ันใดหรือมกี ารหนวงเวลากไ็ ด

รูปท่ี 7 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรเี ลยแรงดนั (Voltage Relay)

  1. รเี ลยปดซ้าํ อัตโนมัติ (Auto-Reclosing Relay) [79] ทําหนาท่ีตรวจสอบความพรอมของระบบ ไฟฟากอนใหสัญญาณปดวงจร (Close Signal) ไปยัง Circuit Breaker โดยไดรับสัญญาณกระตุน (Initiate) จากรีเลยปองกันวงจรสายสงไฟฟา (Line Protection Relay) ซ่ึงสามารถตรวจพบ Faultและสั่งให Trip Circuit Breaker

รูปที่ 8 แสดง Wiring Diagram อยางงา ย ของรเี ลยปดซ้ําอัตโนมัติ (Auto-Reclosing Relay)

ศนู ยส่ังการระบบไฟฟา - 27 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏิบัติการสง่ั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรับศนู ยค วบคุมการจา ยไฟฟา

  1. รีเลยซิงโครไนซ (Synchronizing Relay) [25] ใชเพ่ือตรวจสอบวงจรสองวงจรมีความถ่ีและ มมุ เฟสของแรงดันตามทกี่ ําหนดใหห รือไม เพือ่ ท่ีจะนําสองวงจรมาตอ ขนานกัน

รูปที่ 9 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรีเลยซงิ โครไนซ (Synchronizing Relay)

  1. Lockout Relay [86] ใชรวมกับ Differential Relay, CB Fail Relay หรือรีเลยปองกันใดๆ ก็ตาม ท่ีเม่ือทํางานส่ัง Breaker Trip แลว ตองการใหมีการตรวจสอบอุปกรณกอนการนํา อุปกรณกลับเขาใชงาน เนื่องจากอุปกรณอาจมีราคาแพง หรือเปนอุปกรณที่มีความสําคัญ เชน หมอแปลง เคร่ืองกําเนิดไฟฟา หรือแมกระท่ัง Breaker เปนตน โดย Lockout Relay จะมีระบบ Interlock to Close Circuit Breaker คือ เม่ือรีเลยหลักทํางานสั่งทริป Breaker ผา น Lockout Relay หลังจาก Breaker เปดวงจรไปแลว จะไมสามารถส่ังปดกลับ Breaker ได โดยตองใหผูปฏิบัติงานมาทําการ Reset Lockout Relay ใหกลับมาอยูท่ีสถานะปกติท่ี ตคู วบคุมใกลก ับตวั อปุ กรณเ สียกอน จงึ จะสามารถปดกลับ Breaker ได เพ่ือเปนการบังคับให มีการตรวจสอบท่ีตัวอุปกรณกอนทุกคร้ัง กอนปดกลับ Breaker เพ่ือความปลอดภัยตอ อปุ กรณ และผปู ฏิบตั งิ าน

ศูนยสง่ั การระบบไฟฟา - 28 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบตั ิการส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สาํ หรบั ศนู ยค วบคุมการจายไฟฟา

  1. รีเลยความถ่ี (Frequency Relay) [81] รีเลยความถี่จะใชตรวจจับการเกิดความถี่สูงหรือตํ่า เกินไป รีเลยความถ่ีสวนมากจะมีการปรับความถ่ีและแรงดันของการทํางานของรีเลยได ความเร็วของการทํางานของรีเลยจะข้ึนอยูกับความแตกตางของความถ่ีจริงกับความถี่ท่ีตั้งไว รเี ลยค วามถ่บี างชนดิ จะทํางานเมอ่ื ความถแี่ ตกตา งจากคาที่ตั้งไว บางชนิดจะทํางานโดยอาศัย อัตราความเปลี่ยนแปลงของความถ่ี การใชงานปกติของรีเลยประเภทน้ีคือ จะใชในการปลด โหลด เม่ือความถต่ี กลง (Load Shedding) เพอ่ื ทําใหร ะบบกลบั สเู สถียรภาพอกี ครั้ง

STEP Frequency(Hz) RELAY TIME(msec) BREAKER TIME(msec) LOAD TO SHED (%) 1 49.0 150 100 10 2 48.8 150 100 10 3 48.6 150 100 10 4 48.3 150 100 10 5 47.9 150 100 10

CUT Off Under Voltage Setting = 0.8 pu.

ตารางที่ 1 แสดงคา ปรบั ตงั้ และเงือ่ นไขการทาํ งาน Underfrequency Relay ของ กฟผ. และ PEA

ตารางท่ี 2 ตัวอยางการปรบั ต้ัง Underfrenquency Relay ของเขต กฟก.1 ป 2557

ศูนยส่งั การระบบไฟฟา - 29 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏบิ ตั ิการสง่ั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรบั ศนู ยควบคุมการจา ยไฟฟา

2. รเี ลยป อ งกนั ทใ่ี ชง านในระบบกําลังไฟฟาของ PEA รเี ลยป อ งกันที่ใชง านในระบบกําลงั ไฟฟา ของ PEA โดยสวนใหญจะถูกติดต้งั ในสถานีไฟฟาของ

PEA โดยรายละเอยี ดของรีเลยปองกนั ท่ีตดิ ตั้งในสถานไี ฟฟา มีดงั นี้

  1. สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบสั แบบ Main and transfer

รปู ท่ี 10 Wiring Diagram ระบบปอ งกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Main and transfer

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา - 30 - ฝา ยควบคุมระบบไฟฟา

วิธปี ฏิบัตกิ ารส่ังการค สําหรบั ศูนยควบค

Protection Device An

Location of device 115 kV Transformer-TP1 Main bus

Device No. 87B 95B TP1 87T 50,50N Auxiliary Tripping Relay Devices 87REF 51,51N

86B 86T1 86T1 86T2

Tripping Relay Characteristic HS HS HS HS ER ER ER ER

Operation Target YY Y YY Audible Alarm

Function of 01YB-01 TL TL TL TL Device 02YB-01 TL

0BYB-01 TL TL TL TL

1BVB-01 TL TL TL

ศูนยส ง่ั การระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจา ยไฟฟา คุมการจายไฟฟา

nd Their Designation Incoming/Outgoing Line

1 Primary Backup Protection Protection

51GB 50BF 21-1 21-2 21-3 67 67N 50BF 27 21N-1 21N-2 21N-3 59

86T2 86B 86B Y

HS HS HS ER ER ER

YY Y YYY Y Y

TL TL TR TL TL TR T T T T TL T T T T TL TL TL TL

1 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏิบตั ิการสง่ั การควบคุมการจา ยไฟฟา สาํ หรบั ศูนยควบคุมการจายไฟฟา

  1. สถานไี ฟฟาระบบ 115 kV จัดบสั แบบ Breaker and a half

รปู ท่ี 11 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Breaker & A Half

ศนู ยสงั่ การระบบไฟฟา - 32 - ฝายควบคุมระบบไฟฟา

วธิ ีปฏบิ ัติการส่งั การค สาํ หรบั ศนู ยค วบค

Protection Device An

Location of device Bus1 Bus2 Inc

Device No. 87B1 95B1 87B2 95B2 87L 21-1 21-2 21-2 21N-1 21N-2 21N-3

Auxiliary Tripping Relay 86 86 B1 B1

Tripping Relay Characteristic HS HS ER ER

Operation Target YYYY Y YYY Audible Alarm TR TR T T 1YB-01 TL TR TR T T

1YB-02

Function of Device 1YB-03 TL

2YB-01 TL

2YB-02

2YB-03 TL

EGAT Upstream

CB No.1

EGAT Upstream

CB No.2

ศูนยส ่งั การระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจา ยไฟฟา คุมการจายไฟฟา

nd Their Designation

coming

1 Incoming

2

67 50BF 50BF 50BF 27 87L 21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 27 67N 1YB-01 1YB-02 EGAT 59 21N-1 21N-2 21N-3 67N 1YB-03 EGAT 59

86B1 86BF 86L 86B2 86L 86BF 86BF

HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER

Y Y Y Y YY Y Y Y Y Y Y Y

T TL TL TL TR TR T T T TL TL T TL TL TL TR TR T T T TL TL

TL TL

TL T(L)

T(L)

3 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารสงั่ การควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยค วบคุมการจายไฟฟา

  1. สถานีไฟฟา ระบบ 115 kV จดั บสั แบบ Double bus Double Breaker (DBDB)

รปู ที่ 12 Wiring Diagram ระบบปอ งกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบสั แบบ Double bus Double Breaker

ศนู ยส่ังการระบบไฟฟา - 34 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบตั ิการสง่ั การค สําหรบั ศนู ยควบค

Protection Device An

Location of device Bus1 (EGAT) Bus2 (EGAT)

Device No. 87B1 95B1 50BF 27 59 87B2 95B2 50BF 27 59 2 EGAT EGAT

Auxiliary Timing Relay

Auxiliary Tripping Relay 86 86 86 86 B1 B1 B2 B2 HS HS Tripping Relay Characteristic HS HS ER ER ER ER YYYYY Operation Target YYYY Y Audible Alarm

2YB-01 TL TL

Function of Device 2YB-02 TL TL TL TL 3YB-01 TL TL

3YB-02

EGAT Upstream TL TL CB No.1

EGAT Upstream TL TL

CB No.2

ศูนยส่ังการระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจายไฟฟา คุมการจา ยไฟฟา

nd Their Designation

Outgoing

1 Outgoing

2

21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF

21N-1 21N-2 21N-3 67N 2YB-01 2YB-02 21N-1 21N-2 21N-3 67N 3YB-01 3YB-02

62 62 62 62

BF BF BF BF

HS HS HS HS ER ER ER ER

Y YYY Y Y Y Y YY Y Y

TR T T T TL TL TL

T T T T TL TL TL

TL TR T T T TL TL

TL T T T T TL TL

TL TL

TL TL

5 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธปี ฏบิ ตั ิการส่งั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยค วบคุมการจายไฟฟา

  1. สถานีไฟฟา ระบบ 115 kV จดั บัสแบบ Double bus single Breaker (DBDS)

รูปที่ 13 Wiring Diagram ระบบปองกนั ของสถานีฯ ระบบ 115 kV จดั บสั แบบ Double bus Single Breaker

ศนู ยส่ังการระบบไฟฟา - 36 - ฝายควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบัตกิ ารสั่งการค สําหรบั ศูนยค วบค

Location of device Bus1 Protection Device And Th

Device No. 87B1 95B1 Bus2 86 Y Auxiliary Tripping B1 87B2 95B2 87L Relay Function of Device HS 86 ER B1 Tripping Relay Y HS Characteristic ER Operation Target/ TL Y YY Audible Alarm TL TR 1YB-01 2YB-01 TL 3YB-01 0BYB-01 TL Trip All Bus No.1 Trip All Bus No.2 1BVB-01 2BVB-01

ศนู ยสัง่ การระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจา ยไฟฟา คุมการจายไฟฟา

heir Designation Bus

Incoming

1 (1YB-01) Coupler

21-1 21-2 21-2 67 50BF 27 50 BF 21N-1 21N-2 21N-3 67N 59 86BF 86BF, 86B1 HS ER 86B2 Y TL HS

ER

YYYY YY TR T T T

TL TL

TL TL

See Note 1

TL TL

7 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏิบัติการสัง่ การค สาํ หรับศนู ยค วบค

Function of DeviceLocation of device21-1Protection Device And Their D 21N-1 Device No. Outgoing

1 (3YB-01)

Y 21-2 21-2 67 50BF Auxiliary Tripping TR 21N-2 21N-3 67N Relay 86BF Tripping Relay Characteristic HS Operation Target ER Audible Alarm Y Y YY

1YB-01 T T T TL 2YB-01 TL 3YB-01 TL 0BYB-01 Trip All Se Bus No.1 Trip All TL Bus No.2 1BVB-01 2BVB-01

ศูนยสงั่ การระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจายไฟฟา คุมการจา ยไฟฟา

Designation (Cont.) 50BF

TP1 (2YB-01) 86BF 27 87T Internal 50,50N 51GB 59 87REF Protection 51,51N HS ER 86T1 86T1 86T2 86T2 Y HS HS HS HS ER ER ER ER TL YYYYY TL TL TL TL TL TL

ee Note 1 See Note 1

TL TL TL TL TL

8 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วิธีปฏบิ ัตกิ ารสั่งการค สาํ หรบั ศนู ยค วบค

Note 1. The breaker failure auxiliary tripping and lockout Relay (86BF

protection , and it shall trip all bus No.1 And the relevant bus is connect with the bus No.1, or trip all bus No.2 breaker and the failure breaker is connent with the bus No.2

2. Transformer internal protection device refer to the following

2.1 Buchholz Relay State 2 Trip 2.2 Transformer pressure relief devices 2.3 Transformer sudden pressure relay 2.4 OLTC Diverter switch pressure relief device 2.5 OLTC Diverter switch sudden oil flow 2.6 Transformer winding Temp trip

ศนู ยส ั่งการระบบไฟฟา -3

ควบคุมการจายไฟฟา คุมการจายไฟฟา

BF) shall be intiated by line or transformer

s couple breaker when the failure breaker d the relevant bus couple breaker when g devices as follow:

9 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

วธิ ีปฏิบัตกิ ารสง่ั การควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยค วบคุมการจายไฟฟา

  1. สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบสั แบบ H Scheme

รปู ที่ 14 Wiring Diagram ระบบปองกนั ของสถานฯี ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ H Scheme

ศนู ยส ่ังการระบบไฟฟา - 40 - ฝา ยควบคมุ ระบบไฟฟา

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้