Icd 10 อ บ ต เหต รถมอเตอไซด ล ม

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก เป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล

S00-T14 - การบาดเจ็บ[แก้]

(S00-S09) การบาดเจ็บที่ศีรษะ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของหนังศีรษะ
    • () การฟกช้ำของหนังตาและบริเวณรอบตา
      • ตาเขียวช้ำ
    • () การบาดเจ็บบริเวณอื่นที่ชั้นผิวของหนังตาและบริเวณรอบตา
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของจมูก
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของหู
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของริมฝีปากและช่องปาก
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่ชั้นผิวของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของส่วนอื่นของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของศีรษะ ไม่ระบุส่วน
  • () แผลเปิดที่ศีรษะ
  • () กะโหลกศีรษะร้าวและกระดูกหน้าหัก
    • () กระดูกยอดโค้งของกะโหลกศีรษะร้าว
    • () กระดูกฐานกะโหลกศีรษะร้าว
    • () กระดูกจมูกหัก
    • () กระดูกพื้นเบ้าตาหัก
    • () กระดูกแก้มและขากรรไกรบนหัก
    • () ฟันหัก
    • () กระดูกขากรรไกรล่างหัก
    • () กะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหักหลายตำแหน่ง
    • () ส่วนอื่นของกะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหัก
    • () กะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของศีรษะ
  • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมอง
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทตาและทางเดิน
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทอ็อกคูโลมอเตอร์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทโทรเคลียร์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทไตรเจมินัล
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทแอ็บดูเซนต์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทหน้า
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทอะคูสติก
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทแอ็คเซสซอรี
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมองเส้นอื่น
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมองที่ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บของตาและเบ้าตา
    • () การบาดเจ็บของเยื่อตาและการถลอกของกระจกตาโดยไม่กล่าวถึงสิ่งแปลกปลอม
    • () การฟกช้ำของเบ้าตาและเนื้อเยื่อเบ้าตา
    • () การฉีกขาดและแตกของลูกตาร่วมกับมีเนื้อเยื่อภายในลูกตายื่นออกมาหรือสูญหายไป
    • () การฉีกขาดของลูกตาที่ไม่มีเนื้อเยื่อภายในลูกตายื่นออกมาหรือสูญหายไป
    • () แผลทิ่มแทงของเบ้าตาร่วมกับหรือไม่ร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม
    • () แผลทิ่มแทงของลูกตาร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม
    • () แผลทิ่มแทงของลูกตาที่ไม่มีสิ่งแปลกปลอม
    • () การหลุดออกมาของตา
    • () การบาดเจ็บอื่นของตาและเบ้าตา
    • () การบาดเจ็บของตาและเบ้าตา ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ
    • () การกระทบกระเทือน
    • () สมองบวมจากการบาดเจ็ย
    • () การบาดเจ็บของสมองแบบกระจายทั่วไป
    • () การบาดเจ็บที่สมองเฉพาะที่
    • () เลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก
    • () เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกจากการบาดเจ็บ
    • () เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ
    • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะร่วมกับโคม่าเป็นเวลานาน
    • () การบาดเจ็บอื่นในกะโหลกศีรษะ
    • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของศีรษะ
  • () ส่วนของศีรษะถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของศีรษะ

(S10-S19) การบาดเจ็บที่คอ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของคอ
  • () แผลเปิดที่คอ
  • () กระดูกคอหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนที่ 1 หัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนที่ 2 หัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนอื่นที่ระบุรายละเอียดหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นของคอหัก
    • () กระดูกคอหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับคอ
    • () การแตกของหมอนรองกระดูกสันหลังส่วนคอจากการบาดเจ็บ
    • () การเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนคอ
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
    • () การเคลื่อนหลายตำแหน่งของคอ
    • () การแพลงและล้าของกระดูกสันหลังส่วนคอ
      • การบาดเจ็บจากการสะบัด
    • () การแพลงและล้าบริเวณไทรอยด์
    • () การแพลงและล้าของข้อและเอ็นของส่วนอื่นและส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังที่ระดับคอ
    • () การกระแทกกระเทือนและบวมของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่รากประสาทของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่ข่ายประสาทแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทส่วนปลายของคอ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทซิมพาทีติกส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของคอ
  • () การถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บอื่นที่ไม่ระบุรายละเอียดที่คอ

(S20-S29) การบาดเจ็บที่ทรวงอก[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของทรวงอก
  • () แผลเปิดที่ทรวงอก
  • () กระดูกซี่โครง กระดูกหน้าอก และกระดูกสันหลังส่วนอกหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนอกหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนอกหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกหน้าอกหัก
    • () กระดูกซี่โครงหัก
    • () กระดูกซี่โครงหักหลายตำแหน่ง
    • () อกยุบ
    • () กระดูกทรวงอกส่วนอื่นหัก
    • () กระดูกทรวงอกหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของทรวงอก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังที่ระดับอก
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่เอออร์ตาส่วนอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดแดงอินโนมิเนตหรือซับเคลเวียน
    • () การบาดเจ็บที่สุพีเรีย เวนา คาวา
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดดำอินโนมิเนตหรือซับเคลเวียน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของปอด
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดระหว่างซี่โครง
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดหลายตำแหน่งของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดอื่นของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุรายละเอียดของทรวงอก
  • () การบาดเจ็บที่หัวใจ
    • () การบาดเจ็บที่หัวใจร่วมกับมีเลือดในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ
    • () การบาดเจ็บอื่นที่หัวใจ
    • () การบาดเจ็บที่หัวใจ ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดในช่องอก
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศเพราะบาดเจ็บ
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือดเพราะบาดเจ็บ
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือดและอากาศเพราะบาดเจ็บ
    • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ปอด
    • () การบาดเจ็บที่หลอดลม
    • () การบาดเจ็บที่ท่อลมส่วนอก
    • () การบาดเจ็บที่เยื่อหุ้มปอด
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของอวัยวะในช่องอก
    • () การบาดเจ็บที่อวัยวะอื่นที่ระบุรายละเอียดในช่องอก
    • () การบาดเจ็บที่อวัยวะที่ไม่ระบุรายละเอียดในช่องอก
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของทรวงอกและส่วนของทรวงอกถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของทรวงอก

(S30-S39) การบาดเจ็บที่ท้อง หลังส่วนล่าง กระดูกสันหลังส่วนเอว และเชิงกราน[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () แผลเปิดที่ท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () กระดูกสันหลังส่วนเอว และกระดูกเชิงกรานหัก
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของกระดูกสันหลังส่วนเอว และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังส่วนเอวที่ระดับท้อง หลังด้านล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่เอออร์ตาส่วนท้อง
    • () การบาดเจ็บที่อินฟีเรีย เวนา คาวา
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดแดงซีลิแอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดดดำพอร์ตอลหรือหลอดเลือดดำของม้าม
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของไต
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดไอลิแอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดหลายตำแหน่งที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดอื่นที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะในช่องท้อง
    • () การบาดเจ็บที่ม้าม
      • ม้ามแตก
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะระบบปัสสาวะและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดและการถูกตัดเพราะบาดเจ็บของส่วนของท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน

(S40-S49) การบาดเจ็บที่ไหล่ และต้นแขน[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของไหล่และต้นแขน
  • () แผลเปิดที่ไหล่และต้นแขน
  • () กระดูกไหล่และต้นแขนหัก
    • () กระดูกไหปลาร้าหัก
    • () กระดูกสะบักหัก
    • () กระดูกต้นแขนปลายบนหัก
    • () กระดูกต้นแขนส่วนกลางหัก
    • () กระดูกต้นแขนปลายล่างหัก
    • () กระดูกไหปลาร้า กระดูกสะบัก และกระดูกต้นแขนหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นของไหล่และต้นแขนหัก
    • () กระดูกโอบไหล่หัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของกระดูกโอบไหล่
    • () การเคลื่อนของข้อไหล่
    • () การเคลื่อนของข้อระหว่างกระดูกสะบักกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การเคลื่อนของข้อระหว่างกระดูกหน้าอกกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของกระดูกโอบไหล่
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อไหล่
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อระหว่างกระดูกสะบักกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อระหว่างกระดูกหน้าอกกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การแพลงและเคล็ดของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของกระดูกโอบไหล่
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรักแร้
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทกล้ามเนื้อและผิวหนัง
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรับความรู้สึกที่ผิวหนังที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเส้นประสาทที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เอ็นของกลุ่มกล้ามเนื้อรอบไหล่
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นส่วนหัวของไบเซพส์
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นส่วนอื่นของไบเซพส์
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นของไตรเซพส์
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นอื่นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดที่ไหล่และต้นแขน
  • () ไหล่และต้นแขนถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของไหล่และต้นแขน

(S50-S59) การบาดเจ็บที่ข้อศอกและแขนท่อนปลาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อศอกและแขนท่อนปลาย
  • () แผลเปิดที่ข้อศอกและแขนท่อนปลาย
  • () กระดูกข้อศอกและแขนท่อนปลายหัก
    • () กระดูกอัลนาร์หักที่ปลายบน
      • กระดูกหักมอนเตกเกีย
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ปลายบน
    • () กระดูกอัลนาร์หักที่ส่วนกลาง
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ส่วนกลาง
      • กระดูกหักกาเลียซซี
    • () กระดูกอัลนาร์และเรเดียสหักที่ส่วนกลางทั้งคู่
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ปลายล่าง
      • กระดูกหักคอลลีส์
      • กระดูกหักสมิท
    • () กระดูกอัลนาร์และเรเดียสหักที่ปลายล่างทั้งคู่
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหักที่ส่วนอื่น
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของข้อศอก
    • () การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
    • () การเคลื่อนของข้อศอก ไม่ระบุรายละเอียด
    • () เอ็นด้านข้างของกระดูกเรเดียสขาดเพราะบาดเจ็บ
    • () เอ็นด้านข้างของกระดูกอัลนาร์ขาดเพราะบาดเจ็บ
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อศอก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรับความรู้สึกที่ผิวหนังที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทหลายเส้นที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของแขนท่อนปลาย
  • () แขนท่อนปลายถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของแขนท่อนปลาย

(S60-S69) การบาดเจ็บที่ข้อมือและมือ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อมือและมือ
  • () แผลเปิดของข้อมือและมือ
  • () กระดูกหักที่ระดับข้อมือและมือ
    • () กระดูกนาวิคูลาร์ (สแคฟฟอยด์) ของมือหัก
    • () กระดูกข้อมืออื่นหัก
    • () กระดูกฝ่ามือชิ้นที่หนึ่งหัก
      • กระดูกหักแบบเบนเน็ตต์
    • () กระดูกฝ่ามือชิ้นอื่นหัก
    • () กระดูกฝ่ามือหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่มือหัก
    • () กระดูกนิ้วมืออื่นหัก
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่มือและนิ้วมือหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อมือและมือหัก
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทนิ้วของนิ้วหัวแม่มือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทนิ้วของนิ้วมืออื่น
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเส้นประสาทที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของข้อมือและมือ
  • () ข้อมือและมือถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อมือและมือ

(S70-S79) การบาดเจ็บที่สะโพกและต้นขา[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของสะโพกและต้นขา
  • () แผลเปิดที่สะโพกและต้นขา
  • () กระดูกต้นขาหัก
    • () กระดูกต้นขาส่วนคอหัก
      • กระดูกสะโพกหัก มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () กระดูกต้นขาหักผ่านปุ่มกระดูกโคนขา
    • () กระดูกหักใต้ปุ่มประดูกโคนขา
    • () กระดูกต้นขาส่วนกลางหัก
    • () กระดูกต้นขาปลายล่างหัก
    • () กระดูกต้นขาหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกต้นขาส่วนอื่นหัก
    • () กระดูกต้นขาหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของสะโพก
    • () การเคลื่อนของข้อสะโพก
    • () การแพลงและเคล็ดของสะโพก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของสะโพกและต้นขา
  • () สะโพกและต้นขาถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของสะโพกและต้นขา

(S80-S89) การบาดเจ็บที่เข่าและขาท่อนปลาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของเข่าและขาท่อนปลาย
  • () แผลเปิดที่เข่าและขาท่อนปลาย
  • () กระดูกขาท่อนปลายหัก รวมข้อเท้า
    • () กระดูกสะบ้าหัก
    • () กระดูกแข้งปลายบนหัก
    • () กระดูกแข้งส่วนกลางหัก
    • () กระดูกแข้งปลายล่างหัก
    • () กระดูกน่องหักโดยลำพัง
    • () กระดูกตาตุ่มด้านในหัก
    • () กระดูกตาตุ่มด้านนอกหัก
    • () กระดูกขาท่อนปลายหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกขาท่อนปลายส่วนอื่นหัก
      • กระดูกไตรมาลิโอลาร์หัก
    • () กระดูกขท่อนปลายหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของเข่า
    • () สะบ้าเคลื่อน
    • () เข่าเคลื่อน
    • () หมอนรองเข่าฉีกขาด ปัจจุบัน
    • () กระดูกอ่อนข้อเข่าฉีกขาด ปัจจุบัน
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นข้างเข่า (ของกระดูกแข้ง) (ของกระดูกน่อง)
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นไขว้เข่า
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเข่า
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเข่า
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของเข่าและขาท่อนปลาย
  • () เข่าและขาท่อนปลายถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเข่าและขาท่อนปลาย

(S90-S99) การบาดเจ็บที่ข้อเท้าและเท้า[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อเท้าและเท้า
  • () แผลเปิดที่ข้อเท้าและเท้า
  • () กระดูกเท้าหัก ยกเว้นข้อเท้า
    • () กระดูกแคลคาเนียสหัก
    • () กระดูกทาลัสหัก
    • () กระดูกข้อเท้าอื่นหัก
    • () กระดูกฝ่าเท้าหัก
      • กระดูกหักแบบโจนส์
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่เท้าหัก
    • () กระดูกนิ้วเท้าอื่นหัก
    • () กระดูกเท้าหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกเท้าหัก ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับข้อเท้าและเท้า
    • () ข้อเท้าเคลื่อน
    • () นิ้วเท้าเคลื่อน
    • () เอ็นฉีกขาดที่ระดับข้อเท้าและเท้า
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเท้า
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อเท้า
    • () การแพลงและเคล็ดของนิ้วเท้า
      • ระหว่างกระดูกนิ้วเท้า (ข้อ)
      • ระหว่างกระดูกฝ่าเท้ากับกระดูกนิ้วเท้า (ข้อ))
    • () การแพลงและเคล็ดของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเท้า
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของข้อเท้าและเท้า
  • () ข้อเท้าและเท้าถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อเท้าและเท้า

(T00-T07) การบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวหลายบริเวณของร่างกาย
  • () แผลเปิดที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () กระดูกหักที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดที่ร่างกายหลายบริเวณ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดหลายบริเวณของร่างกาย
  • () การถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () การบาดเจ็บอื่นที่หลายบริเวณของร่างกาย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T08-T14) การบาดเจ็บที่ส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของลำตัว แขนขา หรือร่างกาย[แก้]

  • () กระดูกสันหลังหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นของกระดูกสันหลังและลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวที่ลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () แผลเปิดที่ลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาท รากประสาทไขสันหลัง และข่ายประสาทที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () ลำตัวถูกตัดเพราะบาดเจ็บ ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ลำตัวแบบอื่นซึ่งระบุรายละเอียด ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด ไม่ระบุระดับ
  • () กระดูกแขนหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่แขน ไม่ระบุระดับ
  • () กระดูกขาหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ขา ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
      • การถลอก มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ตุ่มพอง (ไม่เกิดจากความร้อน) มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • จ้ำเลือด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การฟกช้ำ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ก้อนเลือด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การบาดเจ็บจากสิ่งแปลกปลอมที่ชั้นผิว (เสี้ยน) โดยไม่มีแผลเปิดชัดเจน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แมลงกัด (ไม่มีพิษ) มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () แผลเปิดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
      • แผลสัตว์กัด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลถูกบาด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การฉีกขาด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลเปิด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลเจาะร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม (ทิ่มแทง)
    • () กระดูกหักบริเวณที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บแบบบดอัดและการถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บ ไม่ระบุรายละเอียด

T15-T98 - การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก[แก้]

(T15-T19) ผลของสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายผ่านช่องเปิดธรรมชาติ[แก้]

  • () สิ่งแปลกปลอมที่ตาส่วนนอก
  • () สิ่งแปลกปลอมในหู
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินอาหาร
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์

(T20-T32) แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อน[แก้]

  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ศีรษะและคอ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ลำตัว
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ไหล่และแขน ยกเว้นข้อมือและมือ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ข้อมือและมือ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่สะโพกและขา ยกเว้นข้อเท้าและเท้า
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ข้อเท้าและเท้า
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่หลายส่วนของร่างกาย
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อน ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
  • () แผลถูกความร้อนจำแนกตามขนาดพื้นที่ผิวกายที่เป็นแผล
  • () แผลถูกสารกัดกร่อนจำแนกตามขนาดพื้นที่ผิวกายที่เป็นแผล

(T33-T35) หิมะกัด[แก้]

  • () หิมะกัดที่ชั้นผิว
  • () หิมะกัดร่วมกับมีเนื้อตาย
  • () หิมะกัดที่หลายบริเวณของร่างกายและที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T36-T50) การเป็นพิษจากยา ตัวยา และสารชีวภาพ[แก้]

  • () การเป็นพิษจากยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
  • () การเป็นพิษจากยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
    • () ซัลโฟนาไมด์
    • () ยาต้านไมโคแบคทีเรีย
    • () ยาต้านมาลาเรียและยาที่ออกฤทธิ์ต่อโปรโตซัวในเลือด
    • () ยาต้านโปรโตซัวชนิดอื่น
    • () ยาต้านหนอนพยาธิ
    • () ยาต้านไวรัส
    • () ยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ระบุรายละเอียดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
    • () ยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากฮอร์โมนรวมทั้งสารสังเคราะห์ทดแทนและสารต้าน มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากยาระงับปวดชนิดไม่เข้าฝิ่น ยาลดไข้ และยาต้านรูมาติก
  • () การเป็นพิษจากสารเสพติดและสารก่อประสาทหลอน
    • () ฝิ่น
    • () เฮโรอีน
    • () สารเข้าฝิ่นอื่น
      • โคดิอีน
      • มอร์ฟีน
    • () เมทาโดน
    • () สารเสพติดสังเคราะห์อื่น
      • เพติดีน
    • () โคเคน
    • () สารเสพติดอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () กัญชา (อนุพันธ์)
    • () ไลเซอร์ไจด์ (แอลเอสดี)
    • () สารก่อประสาทหลอนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
      • เมสคาลีน
      • ซิโลซิน
      • ซิโลไซบีน
  • () การเป็นพิษจากยาระงับความรู้สึกและแก๊สที่ใช้ในการรักษา
  • () การเป็นพิษจากยาต้านชัก ยาระงับประสาท-ยานอนหลับ และยาต้านพาร์คินสัน
    • () อนุพันธ์ไฮแดนโตอิน
    • () อิมิโนสติลบีน
    • () ซักซินิไมด์และออกซาลิดีนไดโอน
    • () บาร์บิทูเรต
    • () เบนโซไดอะซีปีน
    • () ยาต้านชักชนิดผสม มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ยาต้านชักและยาระงับประสาท-ยานอนหลับอื่น
    • () ยาต้านชักและยาระงับประสาท-ยานอนหลับ ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ยาต้านพาร์คินสันและยาอื่นที่ออกฤทธิ์ส่วนกลางเพื่อลดความตึงของกล้ามเนื้อ
  • () การเป็นพิษจากยาจิตประสาท มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากยาที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อทั้งร่างกายและระบบเลือด มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบกระเพาะอาหารและลำไส้
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อกล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อโครงร่าง และระบบหายใจ
  • () การเป็นพิษจากสารใช้เฉพาะที่ซึ่งออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อผิวหนังและเยื่อเมือก รวมทั้งยาที่ใช้กับตา หู จมูก กล่องเสียง และฟัน
  • () การเป็นพิษจากยาขับปัสสาวะ รวมทั้งยา ตัวยา และสารชีวภาพอื่น และที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T51-T65) การเป็นพิษจากสารที่ไม่ใช้เป็นยา[แก้]

  • () การเป็นพิษจากแอลกอฮอล์
    • () เอทานอล
    • () เมทานอล
    • () 2-โปรปานอล
    • () ฟูเซล ออยล์
  • () การเป็นพิษจากตัวทำละลายอินทรีย์
    • () เบนซีน
  • () การเป็นพิษจากอนุพันธ์ฮาโลเจนของสารอะลิฟาติกและอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
    • () คลอโรฟอร์ม
      • ไตรคลอโรมีเทน
    • () ไตรคลอโรเอทิลีน
      • ไตรคลอโรอีเทน
    • () เตตราคลอโรเอทิลีน
      • เปอร์คลอโรเอทิลีน
      • เตตราคลอโรอีเทน
    • () ไดคลอโรมีเทน
      • เมทิลีน คลอไรด์
    • () คลอโรฟลูออโรคาร์บอน
  • () การเป็นพิษจากสารกัดกร่อน
    • () ฟีนอลและคู่เหมือน
    • () สารประกอบกัดกร่อนอินทรีย์อื่น
    • () กรดกัดกร่อนและสารคล้ายกรด
    • () ด่างกัดกร่อนและสารคล้ายด่าง
  • () การเป็นพิษจากสบู่และผงซักฟอก
  • () การเป็นพิษจากโลหะ
    • () ตะกั่วและสารประกอบ
    • () ปรอทและสารประกอบ
    • () โครเมียมและสารประกอบ
    • () แคดเมียมและสารประกอบ
    • () ทองแดงและสารประกอบ
    • () สังกะสีและสารประกอบ
    • () ดีบุกและสารประกอบ
    • () เบอริลเลียมและสารประกอบ
    • () โลหะอื่น
  • () การเป็นพิษจากสารอนินทรีย์อื่น
    • () สารหนูและสารประกอบ
    • () ฟอสฟอรัสและสารประกอบ
    • () แมงกานีสและสารประกอบ
    • () ไฮโดรเจนไซยาไนด์
  • () การเป็นพิษจากคาร์บอน โมนอกไซด์
  • () การเป็นพิษจากแก๊ส ควัน และไอชนิดอื่น
    • () ไนโตรเจนออกไซด์
    • () ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
    • () ฟอร์มาลดีไฮด์
    • () แก๊สสร้างน้ำตา
      • แก๊สน้ำตา
    • () แก๊สคลอรีน
    • () แก๊สฟลูออรีนและไฮโดรเจนฟลูออไรด์
    • () ไฮโดรเจนซัลไฟด์
    • () คาร์บอนไดออกไซด์
  • () การเป็นพิษจากสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์
    • () สารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต
    • () สารฆ่าแมลงกลุ่มฮาโลเจน
    • () สารฆ่าแมลงอื่น
    • () สารฆ่าวัชพืชและรา
    • () สารฆ่าหนู
  • () การเป็นพิษจากสารมีพิษที่รับประทานเป็นอาหารทะเล
    • () การเป็นพิษจากปลาซิกัวเทอรา
    • () การเป็นพิษจากปลาสคอมบรอยด์
  • () การเป็นพิษจากสารมีพิษอื่นที่รับประทานเป็นอาหาร
    • () รับประทานเห็ด
    • () รับประทานลูกเบอร์รี
    • () รับประทาน (ส่วนของ) พืชอื่น
    • () สารมีพิษอื่นที่รับประทานเป็นอาหาร
    • () สารมีพิษที่รับประทานเป็นอาหาร ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษ
    • () พิษงู
    • () พิษสัตว์เลื้อยคลานอื่น
    • () พิษแมงป่อง
    • () พิษแมงมุม
    • () พิษสัตว์ขาปล้องอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสปลา
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์ทะเลอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษที่ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากอะฟลาท็อกซินและท็อกซินอื่นจากราที่ปนเปื้อนในอาหาร
  • () การเป็นพิษจากสารอื่นและสารที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ไซยาไนด์
    • () สตริกนินและเกลือของมัน
    • () ยาสูบและนิโคติน

(T66-T78) ผลแบบอื่นและผลที่ไม่ระบุรายละเอียดของสาเหตุภายนอก[แก้]

  • () ผลที่ไม่ระบุรายละเอียดของการฉายรังสี
    • การป่วยจากการฉายรังสี
  • () ผลของความร้อนและแสง
    • () เป็นลมเพราะความร้อนและเป็นลมแดด
    • () หมดสติชั่วคราวเพราะความร้อน
      • ฟุบลงไปเพราะความร้อน
    • () ตะคริวเพราะความร้อน
    • () หมดแรงเพราะความร้อน จากการขาดน้ำ
    • () หมดแรงเพราะความร้อนจากการขาดเกลือ
    • () หมดแรงเพราะความร้อน ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ล้าเพราะความร้อน ชั่วคราว
    • () บวมเพราะความร้อน
    • () ผลขอื่นองความร้อนและแสง
    • () ผลของความร้อนและแสง ไม่ระบุรายละเอียด
  • () อุณหภูมิกายต่ำผิดปกติ
  • () ผลแบบอื่นของอุณหภูมิที่ลดลง
    • () มือและเท้าแช่น้ำ
      • เนื้อตายที่เท้า
    • () นิ้วมือ นิ้วเท้า และหูอักเสบจากความเย็น
  • () ผลของความกดอากาศและความดันน้ำ
    • () การบาดเจ็บของหูเพราะความกดอากาศ
    • () การบาดเจ็บของโพรงอากาศเพราะความกดอากาศ
    • () ผลแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของระดับความสูง
      • อัลไพน์ ซิกเนส
      • ภาวะขาดออกซิเจนจากอยู่ในที่สูง
      • การบาดเจ็บจากความกดอากาศ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ป่วยจากความกดอากาศต่ำ
      • เมาท์เทน ซิกเนส
    • () โรคเคซอง (ป่วยจากการลดความกดอากาศ)
  • () การขาดอากาศหายใจ
  • () ผลของความขาดแคลนแบบอื่น
    • () ผลของความหิวโหย
      • การขาดแคลนอาหาร
      • การอดอยาก
    • () ผลของความกระหาย
      • การขาดแคลนน้ำ
    • () หมดแรงเพราะสัมผัสความขาดแคลน
    • () หมดแรงเพราะออกกำลังมากเกิน
      • ออกกำลังมากเกิน
    • () ผลอื่นของความขาดแคลน
    • () ผลของความขาดแคลน ไม่ระบุรายละเอียด
  • () กลุ่มอาการถูกกระทำทารุณ
    • () ถูกละเลยหรือทอดทิ้ง
    • () ถูกทำร้ายร่างกาย
    • () ถูกทำร้ายทางเพศ
    • () ถูกทำร้ายทางจิตใจ
  • () ผลของสาเหตุภายนอกแบบอื่น
    • () ผลของฟ้าผ่า
    • () จมน้ำตายและจมน้ำแต่ไม่ตาย
    • () ผลของการสั่นสะเทือน
      • รู้สึกหมุนจากคลื่นใต้เสียง
    • () ป่วยจากการเคลื่อนไหว
      • เมาเครื่องบิน
      • เมาเรือหรือเมาคลื่น
      • เมารถ
    • () ผลของกระแสไฟฟ้า
      • ไฟฟ้าช็อต
      • ช็อกจากกระแสไฟฟ้า
  • () ผลร้าย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกแบบอะนาไฟแล็กติกจากปฏิกิริยาแพ้อาหาร
    • () ปฏิกิริยาแพ้อาหารแบบอื่น มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกแบบอะนาไฟแล็กติก มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การบวมแบบแองจิโอนิวโรติก
    • () ภูมิแพ้ ไม่ระบุรายละเอียด
      • ปฏิกิริยาภูมิแพ้ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ภาวะไวเกิน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ภาวะไวผิดเพี้ยน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () ผลร้ายแบบอื่น มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ผลร้าย ไม่ระบุรายละเอียด

(T79) ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างในระยะแรกของการบาดเจ็บ[แก้]

  • () ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างในระยะแรกของการบาดเจ็บ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ฟองอากาศอุดหลอดเลือด (เพราะบาดเจ็บ)
    • () ไขมันอุดหลอดเลือด (เพราะบาดเจ็บ)
    • () เลือดออกทุติยภูมิและเลือดออกซ้ำหลังการบาดเจ็บ
    • () แผลติดเชื้อหลังการบาดเจ็บ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกเพราะบาดเจ็บ
    • () ภาวะไม่มีปัสสาวะเพราะบาดเจ็บ
      • กลุ่มอาการถูกบดอัด
    • () กล้ามเนื้อขาดเลือดเพราะบาดเจ็บ
      • กลุ่มอาการคอมพาร์ตเมนต์
      • กล้ามเนื้อหดค้างจากขาดเลือดแบบโวล์คแมนน์
    • () ภาวะมีอากาศใต้ผิวหนังจากการบาดเจ็บ
    • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นในระยะแรกของการบาดเจ็บ
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดในระยะแรกของการบาดเจ็บ

(T80-T88) ภาวะแทรกซ้อนของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม มิได้จำแนกไว้ที่ใด[แก้]

  • () ภาวะแทรกซ้อนหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ฟองอากาศอุดหลอดเลือดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () การติดเชื้อหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ปฏิกิริยาจากความไม่เข้ากันของกลุ่มเลือดเอบีโอ
    • () ปฏิกิริยาจากความไม่เข้ากันของกลุ่มเลือดอาร์เอช
    • () อะนาไฟแล็กติกช็อกจากซีรัม
    • () ปฏิกิริยาอื่นต่อซีรัม
      • ป่วยจากซีรัม
    • () ภาวะแทรกซ้อนอื่นหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
  • () ภาวะแทรกซ้อนของหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () เลือดออกและก้อนเลือดที่แทรกซ้อนการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกระหว่างหรือเป็นผลจากการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การเจาะและฉีกขาดโดยอุบัติเหตุระหว่างการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () แผลผ่าตัดแยก มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การติดเชื้อหลังการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () สิ่งแปลกปลอมที่ตกค้างโดยอุบัติเหตุในช่องของร่างกายหรือแผลผ่าตัดหลังการทำหัตถการ
    • () ปฏิกิริยาเฉียบพลันต่อสารแปลกปลอมที่ตกค้างโดยอุบัติเหตุระหว่างการทำหัตถการ
    • () ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหลังการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นของการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดของการทำหัตถการ
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม อุปกรณ์ฝัง และสิ่งปลูกถ่ายของหัวใจและหลอดเลือด
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายของระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายทางออร์โธปิดิกส์ที่อยู่ภายใน
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายแบบอื่นที่อยู่ภายใน
  • () ความล้มเหลวและการปฏิเสธอวัยวะและเนื้อเยื่อที่ถูกปลูกถ่าย
  • () ภาวะแทรกซ้อนจำเพาะของการต่อและการตัดอวัยวะ
  • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ไข้สูงอย่างร้ายจากการระงับความรู้สึก

(T90-T98) ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องอื่นของสาเหตุภายนอก[แก้]

  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่คอและลำตัว
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่แขน
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่ขา
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกายและที่ไม่ระบุบริเวณ
  • () ผลที่ตามมาของการถูกความร้อน สารกัดกร่อน และหิมะกัด
  • () ผลที่ตามมาของการเป็นพิษจากยา ตัวยา และสารชีวภาพ
  • () ผลที่ตามมาของผลเป็นพิษของสารที่ไม่ใช่ยา
  • () ผลที่ตามมาของผลแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของสาเหตุภายนอก

ดูเพิ่ม[แก้]

  • รายการอาการในรหัส ICD-10
  • บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ICD-10-TM Online บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้