Fever ม ไข ร ปกาต นแบบไม ต องรบบายส

40 คมู ือเภสัชกรชุมชนในการดแู ลอาการเจ็บปวยเล็กนอ ยในรา นยา

Ibuprofen 1200 - 3200 มก. แบงใหว ันละ 3 ครั้ง ขนาดยาสงู สุด 3200 มก. ตอ วัน Indomethacin 25 - 50 มก. วันละ 3 ครงั้ (IR) หรอื 75 มก. ขนาดยาสงู สุด 150 มก. ตอ วัน วนั ละ 1-2 คร้ัง (SR) ยาทาภายนอก Capsaicin 0.025% - 0.15% ทาวันละ 3-4 ครง้ั ผูปวยอาจระคายเคือง แสบรอน 1%-2% ทาวันละ 3-4 คร้งั จากการทายาได Diclofenac

การบริบาลโดยไมใ ชยาสาํ หรบั การกาํ เริบของโรคขอเส่ือม

ผูปวยควรไดรับการใหความรูเรื่องการลดนํ้าหนัก การออกกาํ ลังกายแบบ low impact ซง่ึ สามารถลดการใชยาแกปวดในผปู ว ยท่ีมโี รคขอ เสือ่ มได

บรรณานกุ รม

1. Blenkinsopp A, Paxton P, Blenkinsopp J. Symptoms in the Pharmacy: A Guide to the Management of Common Illness [Internet]. Wiley; 2013. Available from: // books.google.co.th/books?id=73d-l\_gQzS0C

2. DiPiro JT, Yee GC, Posey LM. Pharmacotherapy: A Pathophysiologic Approach, Eleventh Edition [Internet]. McGraw-Hill Education; 2020. Available from: // books.google.co.th/books?id=jJWwDwAAQBAJ

3. Hsu JR, Mir H, Wally MK, Seymour RB. Clinical Practice Guidelines for Pain Man- agement in Acute Musculoskeletal Injury. J Orthop Trauma. 2019 May;33(5):e158-82.

4. Lexicomp. Drug Information Handbook [Internet]. Lexi-Comp, Incorporated; 2020. (Lexicomp drug reference handbooks).

5. Rutter P. Community pharmacy symptoms, diagnosis and treatment. 5th edition. 2020.

การบริบาลเภสชั กรรม สำหรับอาการไข ไอ เจ็บคอ ในรา นยา

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรา นยา 43

การบรบิ าลเภสัชกรรม สําหรบั อาการไข ไอ เจ็บคอ ในรานยา

รองศาสตราจารย เภสัชกรหญิงสุณี เลศิ สนิ อุดม อาการไข คอื ภาวะทอ่ี ณุ หภมู ริ า งกายมากกวา 37.5 องศาเซลเซยี ส ซง่ึ โดยปกตอิ ณุ หภมู ขิ อง รา งกาย คอื 36.5-37.5 องศาเซลเซยี ส สาเหตขุ องไขอ าจเกดิ จากโรคหรอื ความผดิ ปกตใิ นรา งกาย อาจ เกิดจากการตดิ เช้ือตา ง ๆ เชน การตดิ เชอ้ื แบคทีเรยี การตดิ เช้ือไวรสั การตดิ เชือ้ รา หรอื การตดิ เช้ือ ปรสิต เปนตน อาจเกดิ จากการอักเสบทไ่ี มใ ชการติดเชอ้ื หรอื อาจจะเกิดจากเนอ้ื งอก รวมถึงโรคและ อาการผิดปกติอ่ืน ๆ อกี หลายชนิดท่ีสามารถทาํ ใหเ กิดไขได อาการไอ เปนกลไกอยางหน่ึงของรางกายในการปองกันทางเดินหายใจจากอันตรายและ สง่ิ รบกวน ท้ังนส้ี ิง่ กระตนุ การไอ อาจเปนฝนุ ละออง สารคดั หล่งั ท่ีมากเกินไป ส่ิงของหรอื ของเหลว ทพ่ี ลดั หลงเขา สทู างเดนิ หายใจ สารคดั หลงั่ ทไี่ หลมาจากหลงั โพรงจมกู สารกอ ความระคายเคอื งตา ง ๆ การอกั เสบของเยอื่ บทุ างเดนิ หายใจ การสบู บหุ ร่ี หรอื อาจเกดิ จากโรค เชน โรคจมกู อกั เสบจากภมู แิ พ โรคกรดไหลยอน นอกจากน้ีอาจเกิดจากการไดรับยาบางชนิดท่ีทาํ ใหไอไดเชนกัน ถึงแมวาอาการ ไอเปน กลไกตามธรรมชาตทิ ม่ี ปี ระโยชน แตก ารไอมากหรอื ตดิ ตอ กนั เปน ระยะเวลานาน อาจทําใหเ กดิ ความราํ คาญและรบกวนการใชชีวติ ได อกี ท้ัง การไอทม่ี ากเกนิ ไป อาจเปน อาการแสดงของโรคหรอื ความผิดปกติของรางกายไดมากมาย แตในบางกรณี การไอก็ไมไดมีพยาธิสภาพผิดปกติใด ๆ เชน ไอเพ่อื เรียกรอ งความสนใจ ไอจากภาวะทางจติ การไอแบง ตามระยะเวลา แบงไดเปน ระยะเวลาการ ไอไมเกนิ 3 สัปดาห เรยี กวา ไอเฉียบพลนั (acute cough) ระยะเวลาการไอตอ เนื่อง 3-8 สัปดาห เรียกวา ไอก่ึงเฉียบพลัน (subacute cough or prolong acute cough) และระยะเวลาการไอ ตอเนือ่ งมากกวา 8 สปั ดาห เรียกวา ไอเร้ือรงั (chronic cough) อาการเจบ็ คอ เปน อาการเดน ทพี่ บในโรคคอหอยอกั เสบ (pharyngitis) ซงึ่ ตน เหตขุ องการอกั เสบ อาจจะเกิดจากการติดเชอื้ หรือไมใ ชก ารติดเช้ือกไ็ ด กรณที เ่ี ปน การติดเช้อื สวนใหญม ีสาเหตจุ ากการ ตดิ เชอื้ ไวรสั ซง่ึ สามารถหายไดเ องโดยไมต อ งใชย าปฏชิ วี นะ รองลงมา คอื การตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี ทพ่ี บบอ ย คือ การตดิ เช้ือ group A β-hemolytic streptococcal (GABHS) ซง่ึ จําเปนตอ งใชย าปฏิชีวนะใน การรกั ษา โดยมีเปาหมายสําคัญเพอ่ื ปองกนั การเกิดภาวะแทรกซอนโรคไขร มู าติค สวนการอกั เสบที่ ไมใชการติดเช้ือ มักเกิดจากการที่มีส่ิงกอความระคายเคืองไปเหน่ียวนําใหเกิดการอักเสบขึ้น เชน ควันบุหร่ี ฝุน สารเคมี มลพิษจากอากาศ เปนตน จะเห็นไดวา อาการเจ็บคอไมจําเปนตองใชยา ปฏชิ วี นะเสมอไป ดงั นนั้ จงึ ควรพจิ ารณาการใชย าปฏชิ วี นะอยา งสมเหตผุ ลเพอื่ ปอ งกนั ปญ หาเชอื้ ดอื้ ยา

44 คมู อื เภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปวยเลก็ นอ ยในรา นยา

อาการไข ไอและอาการเจบ็ คอ เปน อาการทพ่ี บไดบ อ ยในรา นยา อาจจะมาดว ยอาการอยา ง ใดอยา งหนง่ึ หรอื หลายอาการรว มกนั โดยโรคท่ีทาํ ใหเ กดิ อาการเหลานี้ มไี ดห ลายโรค โรคท่ีพบบอย และสามารถใหการรกั ษาเบอื้ งตน ในรานยาได เชน โรคไขห วัด โรคไขหวดั ใหญ โรคจมูกอกั เสบจาก ภูมแิ พ การตดิ เชือ้ แบคทีเรียทคี่ อหอยหรอื ตอ มทอนซลิ นอกจากน้ี โรคระบาดใหมท ่เี กิดขึ้นในป ค.ศ. 2019 คือ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 หรอื Covid-19 ก็มอี าการไข ไอ หรอื เจบ็ คอ ไดเ ชนเดียวกัน ดงั นนั้ ในการแยกโรคตอ งมกี ารซกั ประวตั อิ ยา งละเอยี ดครบถว น รว มกบั การประเมนิ รา งกายเบอื้ งตน เพ่ือใหสามารถแยกโรคไดอยางถูกตอง ชวยใหผูปวยไดรับการรักษาท่ีเหมาะสมและรวดเร็ว รวมถึง ชวยลดการแพรกระจายของโรค และในกรณีที่ผูปวยตองมีการตรวจวินิจฉัยเพ่ิมเติมหรือมีอาการท่ี บงบอกถงึ โรคทร่ี ายแรง สามารถสงตอ เพอ่ื พบแพทยไ ดอยางทันทวงที

แนวทางการซักประวัตแิ ละประเมินรางกายเบ้ืองตน สาํ หรับอาการไข ไอ เจบ็ คอ

ตารางท่ี 17 แนวทางการซักประวัติและรวบรวมขอ มลู ผูปว ยที่มาดวยอาการไข ไอ เจบ็ คอ

แนวทางการซักประวัติและรวบรวมขอมูลผูปว ยทีม่ าดว ยอาการไข ไอ เจ็บคอ

ไข ไอ เจบ็ คอ

- อาการรวมอืน่ ๆ เชน การเกิดผนื่ - ลักษณะการไอและลักษณะ - อาการสาํ คญั ทน่ี าํ ผปู ว ยมารา นยา นา้ํ มูก อาการไอ หอบ เสมหะ(ไอแหง ๆ หรอื ไอมเี สมหะ - อายุผปู ว ย - ระยะเวลาของการมไี ข สขี องเสมหะ ปรมิ าณของเสมหะ - อณุ หภูมิรา งกาย - อายุของผูป วย กลิ่นของเสมหะ) - การตรวจลาํ คอและคลาํ ตอม - รูปแบบของไข - ระยะเวลาของการไอ น้ําเหลืองบรเิ วณคอดานหนา - ประวัติโรคติดตอของคนท่ีอาศัย - ชว งเวลาทีไ่ อ - ประวัตกิ ารแพย า รว มกัน - ส่งิ กระตุน ใหเกิดอาการไอ - โรคประจําตวั และยาท่ใี ชประจาํ - ประวตั กิ ารรกั ษาหรอื การไดร บั ยา - อาชพี หรือประวตั กิ ารทํางาน - ประวัติการสัมผัสกับผูปวยติดเชื้อ - ประวัติการแพยา - ประวัติครอบครัว แบคทีเรียคอหอยอักเสบหรือ - โรคประจําตัวและยาท่ใี ชประจาํ - ประวตั กิ ารแพย า ท อ น ซิ ล อั ก เ ส บ / โ ร ค ไ ข ห วั ด / - ประวตั สิ ว นตัว เชน การมี - โรคประจําตวั และยาท่ีใชประจํา โรคไขหวัดใหญ/โรคติดเชื้อไวรัส เพศสัมพันธ การใชส ารเสพตดิ - ประวตั ิการสูบบหุ รี่ โคโรนา 2019 - อาชีพหรือประวัตกิ ารทํางาน - ประวัติการสัมผัสกับผูปวยติดเช้ือ - ประวัติการรบั ประทานอาหาร แบคทีเรียคอหอยอักเสบหรือ - ประวัติการสัมผัสกับผูปวยติดเช้ือ ทอนซิลอักเสบ/โรคไขหวัด/ แบคทีเรียคอหอยอักเสบหรือ โรคไขหวัดใหญ/โรคติดเชื้อไวรัส ทอนซิลอักเสบ/โรคไขหวัด/ โคโรนา 2019 โรคไขหวัดใหญ/โรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรับอาการไข ไอ เจ็บคอ ในรา นยา 45

การประเมินรางกายเบื้องตน

การวดั อณุ หภูมิรา งกาย การวดั อณุ หภมู ริ า งกาย เปน การใชเ ทอรโ มมเิ ตอรส าํ หรบั วดั อณุ หภมู ใิ สเ ขา ไปในสว นหนงึ่ สว น ใดของรางกายเพื่อประเมินระดบั อุณหภมู ิ คาอุณหภูมิรางกายเม่อื วดั ท่ตี าํ แหนงตาง ๆ จะไมเทา กัน โดยการแปลผลการวัดอุณหภูมิรา งกาย เปนดังนี้ อณุ หภมู ิระหวาง 37.6-38.4 องศาเซลเซยี ส แสดง วา มีไขตา่ํ (Low grade fever) อณุ หภมู ริ ะหวา ง 38.5 - 39.4 องศาเซลเซียส แสดงวา มีไขป านกลาง (Moderate grade fever) อณุ หภูมริ ะหวาง 39.5 - 40.4 องศาเซลเซียส แสดงวา มไี ขสูง (High grade fever) อุณหภูมิต้งั แต 40.5 องศาเซลเซียส แสดงวา มีไขสูงมาก (Hyperpyrexia) การประเมินอาการเจบ็ คอ จากการทบทวนแนวทางการแยกโรคคอหอยอักเสบและตอมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน โดยประยุทธ ภูวรัตนาวิวิธและคณะ กลาววา การนําขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษไปประยุกตใช ในงานเภสัชกรรมชุมชนของประเทศไทยภายใตขอจํากัดตาง ๆ สามารถทาํ ได 3 ประเด็น ไดแก ประเมนิ ลกั ษณะเฉพาะของอาการเจบ็ คออยา งเหมาะสม ตรวจลาํ คออยา งเหมาะสม และประยกุ ตใ ช scoring tools อยางเหมาะสม 1. ประเมินลักษณะเฉพาะของอาการเจ็บคออยางเหมาะสม ประเมินอาการเจ็บคอให เหมาะสมมากขึน้ ไดโดยใช ขอ มลู 2 ชนดิ รวมกนั ไดแก 1) ความรุนแรง และ 2) ความรวดเร็วและ ความตอ เน่อื งของอาการเจบ็ คอ หากพบความรนุ แรงของอาการเจ็บคอมาก แตเกิดขน้ึ อยา งรวดเร็ว ในชว งระยะเวลาสนั้ ๆ อาจเขา ไดก บั อาการเจบ็ คอจากการตดิ เชอ้ื หากความรนุ แรงของอาการเจบ็ คอ นอ ยแตคอย ๆ เกดิ ขึ้นและคงอยูอ ยางตอ เนอื่ งยาวนาน อาจเขาไดกบั อาการเจ็บคอจากการท่ีผูปวย ไดรบั สงิ่ กระตนุ บางอยางอยอู ยา งตอ เนื่อง แตห ากความรนุ แรงของอาการเจบ็ คอนอ ย แตเ กดิ เปนชว ง ๆ อาจเขาไดกับอาการเจ็บคอจากการท่ีผูปวยไดรับสิ่งกระตุนบางอยางและหายไปเปนชวง ๆ ซ่ึงจะมี อาการเจบ็ คอกต็ อ เมอ่ื ไดร บั สงิ่ กระตนุ เทา นนั้ เภสชั กรสามารถประเมนิ ความรนุ แรงของอาการเจบ็ คอ โดยการซักประวตั ริ ว มกบั ใชเ ครอ่ื งมอื ประเมนิ อาการปวด เชน visual analog scale

ภาพท่ี 1 ลกั ษณะเฉพาะของอาการเจบ็ คอที่มีสาเหตจุ ากการติดเชอ้ื และไมตดิ เชอ้ื

ท่มี า : ประยทุ ธ ภวู รตั นาวิวิธ และคณะ. การทบทวนแนวทางการแยกโรคคอหอยอกั เสบและตอ มทอนซลิ อกั เสบ เฉียบพลันในปจจุบัน. วารสารเภสัชกรรมไทย. ปท ่ี 12 เลมที่ 1 ม.ค.-มี.ค. 2563.

46 คูม อื เภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปว ยเลก็ นอ ยในรานยา 2. ตรวจลาํ คออยางเหมาะสม การตรวจลําคอแบง ออกเปน 2 แนวทาง คือ 1) การตรวจ

โดยสมั ผสั รา งกายผปู ว ย ไดแ ก การกดลนิ้ และ 2) การตรวจโดยไมส มั ผสั รา งกายของผปู ว ย ไดแ ก การ อาปากกวางและเปลงเสียง “อา” ออกมาดงั ๆ และการอาปากกวางโดยเลยี นแบบทา ทางการหาว ซงึ่ วธิ นี ที้ าํ ใหเ หน็ รอยโรคทสี่ ําคญั ไดท ง้ั หมดและสามารถใชป ระกอบการแยกโรคไดอ ยา งชดั เจน ไดแ ก ตอมทอนซิล ล้นิ ไก บริเวณหลังคอ และลนิ้ รอยโรคทป่ี รากฏใหเหน็ ไดจ ากการอาปากกวา งโดยเลยี น แบบทาทางการหาวและการอา ปากแบบปกติ แสดง ดังภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 ภาพรอยโรคภายในชองปากท่ีถายดว ยตนเองของคน ๆ เดียวกัน (ภาพซาย คอื อา ปากเลียนแบบทาทา งการหาว ภาพขวา คือ การอา ปากแบบปกติ)

ทม่ี า : ประยุทธ ภวู รตั นาวิวิธ และคณะ. การทบทวนแนวทางการแยกโรคคอหอยอักเสบและตอ มทอนซลิ อกั เสบ เฉียบพลนั ในปจ จบุ ัน.วารสารเภสชั กรรมไทย. ปท่ี 12 เลม ที่ 1 ม.ค.-มี.ค. 2563.

ภาพที่ 3 การตดิ เชอื้ แบคทเี รียและการตดิ เชอ้ื ไวรัสในลําคอ

ที่มา : หวดั เจบ็ คอหายได ไมต องใชยาปฏชิ วี นะ.[อนิ เทอรเน็ต]. [เขา ถึงเมื่อ 3 มิ.ย. 2565]. เขาถึงไดจาก: // newsser.fda.moph.go.th/rumthai/userfiledownload/asu136dl.pdf

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรานยา 47 จากภาพท่ี 3 ดานขวาของภาพเปนการติดเชอ้ื ไวรัส (ซง่ึ พบบอ ยกวา ) มอี าการตอ มทอนซลิ บวมแดง คอแดง ซึง่ ทาํ ใหเจ็บคอ อาจมีอาการไอรวมดว ย ซึง่ อาการเจบ็ คอสวนใหญ (8 ใน 10 ราย) เกิดจากเช้ือไวรัส ไมจาํ เปนตองไดรับยาปฏิชีวนะก็หายได สวนดานซายของภาพเปนการติดเชื้อ แบคทเี รีย (ซึ่งพบนอยกวา) จะเห็นวา นอกจากคอแดง ตอ มทอนซลิ บวมแดงและเจ็บคอแลว ยังมีขอ แตกตา งคอื มจี ดุ หนองทตี่ อ มทอนซลิ มฝี า สเี ทาทล่ี น้ิ มกั จะคลาํ พบตอ มนาํ้ เหลอื งบรเิ วณใตข ากรรไกร โตดว ยและจดุ แตกตา งทส่ี ําคัญท่ีสงั เกตไดง าย คอื มักจะไมมีอาการไอ 3. ประยกุ ตใช scoring tools อยางเหมาะสม ในบรบิ ทงานเภสชั กรรมชมุ ชนของประเทศไทยยงั ไมส ามารถปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนําของแตล ะ เครอ่ื งมอื ไดอ ยา งตรงไปตรงมา โดยเฉพาะการตรวจยนื ยนั การตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี ดว ยวธิ ี Rapid antigen detection test (RADT) หรือ throat culture test ดังนน้ั การนํา scoring tools เชน Centor หรอื McIsaac ไปใชใ นบรบิ ทของประเทศไทย จงึ ควรเปน ลกั ษณะของการประยกุ ตใ ช โดยใหพ จิ ารณา ในเชิงรายละเอียดวาไดคะแนนประเมินขอใด เชน หากผูปวยมีอาการหรือลักษณะแสดงของภาวะ ติดเชื้อแบคทีเรีย เชน มีอุณหภูมิมากกวา 38oC ตอมทอนซิลบวม มีหนอง ตอมน้าํ เหลืองที่คอโต มีอาการเจบ็ คอแบบเฉยี บพลนั ทนั ที โดยเฉพาะในชวงอายุ 5-15 ป อาจพิจารณาจายยาปฏิชวี นะได แตห ากไดค ะแนนจากขอ อนื่ เชน อายนุ อ ยกวา 3 ป หรอื อายมุ ากกวา 14 ป ไมม อี าการไอ อาจแนะนํา ใหต ิดตามอาการโดยไมจ ําเปน ตอ งจายยาปฏชิ วี นะ โดยหากอาการไมดีขนึ้ หรือมีอาการแยลงภายใน 3 ถงึ 5 วัน จึงพจิ ารณาใชยาปฏิชวี นะตอไป นอกจากนใ้ี นทางปฏบิ ตั ิ เภสัชกรจะตอ งอธิบายใหผปู ว ย ทราบวา เพราะเหตใุ ดจึง “ไมจายยา” หรอื “จายยา” ปฏชิ วี นะ โดยอาจใชค ะแนนประเมินรว มกับ รูปถายรอยโรคของผูปวยเฉพาะราย สื่อสารใหผูปวยไดรับขอมูลท่ีเปนรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือไมให เกดิ การแสวงหายาจากแหลง อ่นื ท่ไี มเ หมาะสมตอ ไป จากแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการดแู ลผปู ว ยโรคตดิ เชอื้ ระบบทางเดนิ หายใจสว นบน สําหรบั ผปู ว ยที่ ไมมภี าวะภมู คิ ุมกนั ต่าํ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ป พ.ศ. 2558 พิจารณาจา ยยาปฏชิ วี นะ ในผูป ว ยโรค Pharyngitis/Tonsillitis เฉพาะทเ่ี กดิ จากเชอ้ื group A beta hemolytic streptococcus (GABHS) โดยประเมนิ ในผปู วยอายตุ ง้ั แต 3 ปข ึ้นไป และมีลักษณะดงั ตอ ไปนี้ ≥ 3 ขอ ไดแก - ไขสงู เชน 39°C รวมกับเจ็บคอมาก - มจี ุดหนองทตี่ อมทอนซิล หรอื อาจมีล้นิ ไกบวมแดง - ตอมน้ําเหลืองบรเิ วณลาํ คอ โต และกดเจ็บ (ตําแหนงเดียว) - ไมม ีอาการของโรคหวดั เชน นา้ํ มูก ไอจามที่เดน ชัด จากคูมือการใชยาอยางสมเหตุผลในรานยา ท่ีจัดทําโดย คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร, สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ชมรมเภสัชกรชมุ ชนจังหวัดสงขลา และชมรม รานขายยาจงั หวัดสงขลา ป พ.ศ. 2560 ไดม ีการประยุกตใช Centor ในการประเมนิ ดงั ภาพที่ 4 โดยมีเกณฑก ารประเมนิ ใหค ะแนน ดังน้ี

48 คูมอื เภสชั กรชมุ ชนในการดูแลอาการเจ็บปว ยเลก็ นอยในรา นยา - ได 1 คะแนน สําหรับ ไข (> 38 องศาเซลเซียส), ตอ มน้ําเหลืองขา งคอโตและกดเจ็บ, ตอ มทอนซิลบวมหรือมหี นอง, ไมมีอาการไอ และอายุ 3-14 ป - ได 0 คะแนน ถา อายุ 15-44 ป - ได -1 คะแนน ถาอายมุ ากกวา 45 ป โดยคะแนนทไ่ี ดแปลผลเปนโอกาสการตดิ เช้อื GABHS และแนวทางในการจา ยยาปฏิชวี นะ

ดงั น้ี ถา ไดคะแนนมากกวาหรือเทากบั 4 คะแนน มีโอกาสตดิ เชือ้ GABHS 51-53% พจิ ารณาจายยา ปฏิชวี นะ ถา ไดคะแนน 2-3 คะแนน มโี อกาสตดิ เชือ้ GABHS รอยละ 11-35 ใชด ลุ ยพินจิ เภสชั กรใน การจา ยยาปฏชิ วี นะ โดยเภสชั กรควรประเมนิ คะแนนทไ่ี ดว า มาจากการประเมนิ ในขอ ใด โดยพจิ ารณา ความไวและความจําเพาะประกอบดวย เชน หากผูปวยไดค ะแนนจากตอ มทอนซลิ บวมหรอื มีหนอง กอ็ าจพจิ ารณาใหย าปฏชิ วี นะทเ่ี หมาะสม เนอ่ื งจากมคี วามจําเพาะสงู ถงึ รอ ยละ 85 และถา ไดค ะแนน 0-1 คะแนน มโี อกาสติดเช้อื GABHS รอยละ 1-10 ไมต องจา ยยาปฏิชวี นะ

ภาพที่ 4 การประเมนิ อาการเจ็บคอ ดวย Modified Centor criteria

ทีม่ า : คณะเภสชั ศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สงขลา, ชมรมเภสัชกรชมุ ชน จงั หวดั สงขลา, ชมรมรา นขายยาจงั หวดั สงขลา. การใชย าอยา งสมเหตผุ ลในรา นยา.[อนิ เทอรเ นต็ ]. 2560 [เขา ถงึ เมอ่ื 3 ม.ิ ย. 2565];5-10. เขา ถึงไดจ าก: //www.pharmacy.psu.ac.th/images/rdu-eagle2018.pdf

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจ็บคอ ในรา นยา 49

แผนภมู ิที่ 3 แนวทางการประเมินแยกโรคสําหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรา นยา

จมูกอกั เสบ นํา้ มูกใส จาม ไมใ ช ไข ใช รว มกบั อาการตอไปนี้ คอแข็ง แขนขาออน จากภมู ิแพ คดั จมูก คนั ตา คันจมูก แรง ชกั หอบ ไอเร้ือรัง ไอเปน เลอื ด ไขเร้ือรัง รว มกบั น้าํ หนักลด มีจุดเลอื ดออกตามผิวหนงั มจี ดุ จ้าํ เลอื ดตามตวั ปสสาวะขนุ และเคาะเจบ็ ใช บรเิ วณสขี า ง ปสสาวะสีนํ้าลา งเน้ือ ปวดกลาม

รว มกบั อาการตอ ไปน้ี น้าํ หนัก ไอ/ เนอื้ นอ ง ไขส งู ลอยกินยาไมลด เขาเง่ือนไขไข ลด ไอมเี สมหะปนเลอื ด ไอเรอ้ื รงั ในเดก็ อายนุ อ ยกวา 5 ป ตามตารางท่ี 19 หายใจหอบเหนื่อย ไอและมี อาจเกิดจาก เสียงหวดี หรือหายใจสน้ั การสูบบุหรี่ ผูส งสัยตดิ เช้ือ COVID-19 ใช สงตอ พบแพทย อาการเจ็บแนนหนา อก หายใจ บหุ รีม่ ือสอง ไมใช ตรวจ ATK ลําบาก โดยเฉพาะการหายใจ โรคกรดไหล ลําบากขณะพกั หรือกลางคนื ยอน อากาศ เจ็บคอ ผลบวก ผลลบ กลืนอาหารลําบาก สําลัก อาหาร ไอทีเ่ ภสชั กรใหการ เยน็ บรบิ าลมาระยะหนง่ึ แตผ ปู วย ยงั ไมด ีขึ้น หรือผปู ว ยแยล ง กวา เดมิ

สงตอ พบแพทย ไขต่ํา ไขส งู COVID-19 DMHTT

คดั จมกู น้ํามูกไหล ไขส งู กวา 38 OC ในผูป วยอายตุ ้ังแต 3 ปข ้ึนไป รวมกับอาการตอไปนี้ มีปญ หาใน ไอ จาม เจ็บคอ รว มกับปวดศีรษะ และมลี กั ษณะ ≥ 3 ขอ ดังตอไปนี้ การกลืนอาหาร มีปญ หาการพูด ปวดศรี ษะ ปวดเม่อื ย ปวดเม่อื ยกลามเนอื้ มาก ไดแก - ไขส งู รวมกบั เจ็บคอมาก หรอื การออกเสยี ง ออกเสยี ง และมอี าการไอมากข้ึน ลาํ บาก หายใจลําบาก หายใจเขามี กลามเน้ือ - มีจดุ หนองทต่ี อ มทอนซิล เสียงฮดื้ มแี ผน ฝา ปกคลุมทค่ี อหอย อาการรุนแรงนอ ย หรืออาจมลี ้ินไกบ วมแดง และบรเิ วณคอหอยพบกอนเนื้อ ผิดปกติในลาํ คอ รบั การรกั ษาแบบ ไขหวัด - ตอ มนํ้าเหลอื งบรเิ วณลําคอ คอหอยอักเสบ/ทอนซลิ อักเสบดว ย ไขหวัดใหญ โต และกดเจ็บ (ตาํ แหนง เดียว) ยาทเี่ หมาะสมแลว แตผปู วยยังไมด ีขึน้

- ไมมีอาการของโรคหวดั สง ตอพบแพทย

GABHS

50 คมู อื เภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปวยเลก็ นอ ยในรานยา

ตารางท่ี 18 เปรียบเทียบอาการตา ง ๆ ในแตล ะโรค*

อาการ/โรค ไขห วดั ไขห วัดใหญ COVID-19 Allergic ติดเช้ือ Rhinitis GABHS ไข / ไขสูง / ไขสูง x ไอ / / / / x x / เจ็บคอ / / / / x x x คัดจมกู นา้ํ มูกไหล /// x / / x ออ นเพลีย ปวดเมอ่ื ยตามตวั x/ / / x x x มปี ระวตั สิ ัมผสั ผูติดเชื้อ /// x / x x คนั จมูก คนั ตา xxx x x จาม / x x x / x / การรบั รสหรอื กลนิ่ ผดิ ปกติ xx/ x /

ปวดหวั x / /

อาเจียน ทอ งเสยี x// (พบบอยใน เดก็ มากกวา ผูใ หญ)

หายใจลําบาก x//

จ้ําเลือดบริเวณเพดานปาก xxx

ตอ มนาํ้ เหลอื งขางคอโตและกดเจ็บ x x x

มหี นองท่ตี อ มทอนซลิ และคอหอย x x x * / หมายถงึ พบบอ ยหรือพบบางคร้ัง และ x หมายถงึ ไมพบหรอื พบนอย

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรา นยา 51

เกณฑก ารพจิ ารณาสงตอผูป วยเพื่อพบแพทย

ตารางที่ 19 เกณฑก ารพิจารณาสงตอ ผปู ว ยพบแพทย

ผปู วยทคี่ วรไดรบั การสงตอ พบแพทย

มอี าการไข มอี าการไอ อาการเจบ็ คอ รวมกบั อาการตอไปนี้ รวมกบั อาการตอไปน้ี รวมกับอาการตอ ไปน้ี

- คอแขง็ (สง ตอ ดว น) - ไอเรอ้ื รังรวมกบั นํา้ หนักลด - มปี ญ หาในการกลืนอาหาร - การรับรู การตอบสนองถดถอยลง (สง ตอ - ไอเรอ้ื รงั รว มกบั มีไข - มีปญหาการพูด-การออก ดวน) - ไอมีเสมหะปนเลือด เสียง ออกเสียงลําบาก - แขน-ขา ออ นแรง (สงตอ ดว น) - ไอรว มกับหายใจหอบเหน่ือย - หายใจลาํ บาก - อาการชกั - ไอและมเี สยี งหวดี หรอื - หายใจเขา มีเสยี งฮด้ื - หายใจเรว็ หอบเหน่ือย หายใจสน้ั - มแี ผนฝาปกคลุมท่คี อหอย - ไอเร้ือรัง - ไอรวมกบั อาการเจ็บแนน และบรเิ วณคอหอย - ไอเปนเลือด หนาอก - พบกอนเน้ือผิดปกติในลาํ คอ - ไขเ รอื้ รังรวมกบั นํา้ หนักลด - หายใจลาํ บาก โดยเฉพาะ - รบั การรกั ษาแบบคอหอย - มจี ดุ เลือดออกตามผวิ หนงั การหายใจลาํ บากขณะพัก อักเสบ/ทอนซลิ อักเสบ ดวย - มีจดุ จํ้าเลือดตามตัวหรอื แขนขา หรือกลางคนื ยาที่เหมาะสมมาระยะหน่ึง - ปสสาวะขนุ เคาะเจบ็ บรเิ วณสีขา ง - กลนื อาหารลําบาก สาํ ลัก แลว แตผ ปู ว ยยังไมดีข้นึ - ปสสาวะสีน้าํ ลางเนื้อ อาหาร หรือมอี าการแยลง - การปวดกลามเนือ้ นอง - ไอทเี่ ภสัชกรใหก ารบริบาล - ตาเหลอื ง ปสสาวะสีเขม มาระยะหน่งึ แลว ผปู ว ย - ขอบวม ปวดขอ ยังไมด ีขึ้น หรอื ผปู วย - ไขส ูงลอยตลอดเวลา กินยาลดไขไมลด มอี าการแยล ง - สาํ หรับเดก็ ทอี่ ายุนอ ยกวา 5 ป หากมีไข แลว เขาเงอื่ นไขหน่งึ ตอ ไปนี้ จะจดั วา เปน ไข ทีม่ ีความเส่ียง ควรสง ตอ พบแพทย (เดก็ ซึมลง เชอื่ งชาลง ไมต อบสนองตอ สงิ่ แวดลอ มเหมือนเดิม ชีพจรเร็วขน้ึ คือ 140 ครง้ั /นาที ขึ้นไป หายใจถีข่ ึน้ คอื อัตราการหายใจมากกวา 40 ครง้ั /นาที มีภาวะขาดน้ํา เชน ปากแหง ปส สาวะนอย ลง ผล skin turgor เปน บวก)

52 คูมือเภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปวยเล็กนอ ยในรานยา

การบรบิ าลโดยใชย าสําหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ

ตารางท่ี 20 ยาทใี่ ชในการลดไขห รือบรรเทาอาการเจ็บคอทีใ่ ชบอ ยในรานยา

ชอ่ื ยา ขนาดและวธิ ใี ชยา คุณสมบัติ ผลขางเคียง และขอ ควรระวัง

Paracetamol การใชย าในเดก็ อายตุ ํา่ กวา 2 เดือน ใหปรกึ ษา - ใชบรรเทาอาการ - การใชย าขนาด syrup/ แพทย เดก็ อายุตํ่ากวา 12 ป : 10-15 มก./กก./ ปวดในระดบั สงู ตอเนือ่ งกัน suspension ครัง้ เวลาปวดหรือมีไข วนั ละไมเกนิ 5 ครง้ั แตล ะ นอ ยถงึ ปานกลาง นาน ๆ อาจ ครั้งหา งกันอยา งนอ ย 4 ชวั่ โมง ขนาดยาสูงสดุ 75 เชน ปวดศีรษะ ทาํ ใหเ กดิ พิษตอ มก./กก./วัน หรือ ตามขนาดยาทรี่ ะบใุ นฉลากยา ปวดกลา มเน้ือ ตับได ปวดหลัง - ถา กนิ ยาแลวไข Paracetamol นํา้ หนักตวั (กก.) ขนาดและวิธีการใชย า ปวดระดชู นดิ ไมล ดภายใน 3 325 มก. 22 ถึง 33 รบั ประทานครง้ั ละ 1 เมด็ ปฐมภูมิ วนั หรืออาการ

มากกวา 33 ถึง รบั ประทานครงั้ ละ 1 ½ เมด็ ปวดประสาท ปวดของเด็กไม 44 วนั ละไมเ กิน 5 คร้ัง (neuralgia) บรรเทาภายใน 5 มากกวา 44 รบั ประทานครั้งละ 2 เมด็ วัน ปวดหลงั จากการ วัน หรอื อาการ ผาตดั ปวด ปวดของผใู หญไม ละไมเกนิ 4 ครัง้ เนือ่ งจากโรคขอ บรรเทาใน 10 แตละคร้ังหางกันอยางนอย 4 ชัว่ โมง เฉพาะเวลา เขาหรอื ขอ วนั ใหไ ปพบ ปวดหรือมีไข สะโพกเสอ่ื ม แพทย

Paracetamol นา้ํ หนักตัว (กก.) ขนาดและวิธกี ารใชย า โรคขอ อักเสบ - ผูท มี่ ีภาวะ G6PD 500 มก. 34 ถึง 50 รบั ประทานครั้งละ 1 เม็ด รวมท้ังอาการ หรอื กําลังกนิ ยา (ขนาดยาและ มากกวา 50 ถึง รบั ประทานครั้งละ 1 ½ เมด็ ปวดท่ีเกิดจาก ตานการแขง็ ตัว วธิ ีใชใ นผใู หญ 67 วนั ละไมเกิน 5 คร้ัง โรคหวัด ไขห วดั ของเลือด และเด็กอายุ ใหญ เปนตน Warfarin อาจ มากกวา 12 ป) มากกวา 67 รบั ประทานคร้งั ละ 2 เม็ด วนั - ใชบ รรเทาอาการไข เกดิ อันตรายจาก ละไมเกนิ 4 ครั้ง - มีประสิทธิภาพ ยานี้ไดงายขนึ้ แตละครง้ั หา งกันอยา งนอ ย 4 ชั่วโมง เฉพาะเวลา ในการลดอาการ ปวดหรือมีไข ไมเ กิน 4 กรมั ตอ วัน เจ็บคอไดในโรค คอหอยอักเสบ เฉียบพลัน

Ibuprofen เด็ก 6 เดอื น-12 ป : 5-10 มก./กก. ทกุ 6-8 ชม. - มีฤทธ์ทิ ั้งบรรเทา - ระคายเคอื งทาง ขนาดยาสูงสุดไมเ กนิ วนั ละ 4 ครง้ั ปวด ลดไข และ เดินอาหาร, ผใู หญ : 200-400 มก./ครงั้ ทุก 4-6 ชม. ไมควร ตา นการอกั เสบ ผน่ื แพ, บวมน้ํา ใชย าตดิ ตอกนั เกนิ 10 วัน ยกเวนแพทยส ่งั มปี ระสทิ ธภิ าพ Max dose คาํ แนะนาํ : รับประทานหลงั อาหารทนั ที ในการลดอาการ (ผใู หญ) : 3200 เจ็บคอไดในโรค มก./วัน คอหอยอกั เสบ เฉียบพลัน

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรา นยา 53

ตารางท่ี 21 ยาท่ีใชบ รรเทาอาการไข ไอ เจ็บคอ ท่ใี ชบ อ ยในรานยา

ยา ขนาดและวธิ ใี ชย า ผลขา งเคียง และขอควรระวัง

เดก็ ผูใหญ

น้ํามกู ไหล

Chlorpheniramine < 12 ป : 0.35 มก./กก./วัน 4 มก. ทาํ ใหง ว ง ปากแหง แบง ใหวนั ละ 3-4 คร้ัง วันละ 3-4 ครง้ั คอแหงได

ไอมเี สมหะ

Ambroxol 2-5 ป : 7.5 มก. วันละ 3 ครงั้ 30 มก. เปน active metabolite (30 มก./5 มล., 30 มก.) 5-10 ป : 15 มก. วันละ 2-3 ครง้ั วนั ละ 2-3 คร้ัง ของ bromhexine 10 ปข้ึนไป : 30 มก. วันละ 2-3 คร้งั

Acetylcysteine < 2 ป : 200 มก./วนั 200 มก. (100, 200, 600 มก.) 2-6 ป : 100 มก. วันละ 2-3 คร้งั วันละ 3 คร้ัง หรือ 6 ปข ้นึ ไป : 200 มก. วนั ละ 2-3 คร้งั 600 มก. วันละครงั้

Bromhexine < 2 ป : 1 มก. วนั ละ 3 คร้งั 8 มก. วนั ละ 3 คร้ัง (8 มก., 4 มก./5 มล.) 2-6 ป : 2 มก. วนั ละ 3 ครง้ั 6-12 ป: 4 มก. วันละ 3 คร้งั

Carbocysteine 2-5 ป : 100-200 มก. วนั ละ 1-2 ครง้ั 375-750 มก. (100, 200, 250 มก./ 5-12 ป : 100-200 มก. วนั ละ 3 ครงั้ วนั ละ 3 คร้ัง 5 มล., 375 มก.)

Guaifenesin 2-6 ป : 50 มก. วนั ละ 3-4 ครง้ั 200-400 มก (100 มก./5 มล.) 6-12 ป : 100 มก. วนั ละ 3-4 ครงั้ วันละ 3-4 ครงั้

ไอไมม เี สมหะ

Dextromethorphan 7-12 ป : 15 มก. วันละ 3-4 คร้งั 15-30 มก. อาจพบวาทาํ ใหง ว งใน (15 มก.) (maximum 60 มก./24 ชั่วโมง) วนั ละ 3-4 คร้ัง ผูป วยบางราย (maximum 120 มก./24 ช่ัวโมง)

Diphenhydramine 2-6 ป : 6.25 มก. วันละ 3-4 คร้ัง 25 มก. 6-12 ป: 12.5 มก. วันละ 3-4 คร้ัง วนั ละ 3-4 ครง้ั

Levodropropizine 2-12 ป : 1 มก./กก. วนั ละ 3 ครัง้ 60 มก. (3 มก./กก./วนั ) วันละ 3 คร้ัง

54 คมู ือเภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจบ็ ปว ยเลก็ นอ ยในรา นยา

ตารางที่ 22 ยาปฏชิ วี นะทใ่ี ชใ นการรกั ษาทอนซลิ อกั เสบหรอื คอหอยอกั เสบจากการตดิ เชอ้ื GABHS

ช่ือยาและ ขนาดและวิธใี ชยา ระยะเวลา วธิ บี ริหารยา การรักษา ขนาดยาในเดก็ ขนาดยาในผูใ หญ

Amoxicillin 50 มก./กก./วนั คร้งั ละ 500 มก. วันละ 2-3 คร้งั 10 วนั (Oral) แบงใหว ันละ 1-3 ครง้ั

แพยา Penicillin

Roxithromycin 5-8 มก./กก./วัน ครัง้ ละ 300 มก. 10 วนั (Oral) แบงใหวนั ละ 2 ครัง้ แบง ใหวนั ละ 1-2 ครัง้

Azithromycin 12 มก./กก./วัน ครงั้ ละ 500 มก. วันละ 1 ครั้ง 5 วัน (Oral) วันละ 1 ครง้ั

Clindamycin 20-30 มก./กก./วัน คร้งั ละ 300 มก. วนั ละ 3 คร้งั 10 วนั (Oral) แบง ใหว ันละ 3 ครัง้ ทมี่ า : แนวทางปฏบิ ัติในการดูแลผูป วยโรคตดิ เช้ือระบบทางเดนิ หายใจสว นบน สาํ หรับผปู ว ยทไ่ี มม ีภาวะภูมคิ ุมกันต่ํา โรงพยาบาลรามาธิบด.ี 2558[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขาถึงเมอ่ื 3 มิ.ย. 2565]. เขาถงึ ไดจาก: Guideline ASU Ramathi- bodi.Mar 2015.pdf (mahidol.ac.th)

ตารางท่ี 23 ยา Oral antihistamines และ Decongestants ทใ่ี ชบ อ ยในโรคจมกู อกั เสบจากภมู แิ พ

ชอื่ ยา ขนาดและวิธีใชยา คณุ สมบตั ิ ผลขา งเคยี ง และความแรง และขอควรระวงั

Peripherally selective (Second-generation) antihistamines

Cetirizine 2-6 ป : 2.5 มก. เชาและเย็น กลุมยา Oral H1-antihista- Second generation 10 มก. หรือ 5 มก. วันละครงั้ mines งวง และ/หรอื ฤทธิ์ 6 ปข ึ้นไป : 10 มก. วันละคร้งั Second generation Anticholinergic นอย Loratadine 2-6 ป : 5 มก. วันละคร้ัง - Block H1-recptor 10 มก. 6 ปขึน้ ไป : 10 มก. วันละคร้ัง - Some anti-allergic activity - แนะนําใหใชย ากลมุ ใหม (Sec- Fexofenadine 6 เดือน-2 ป : 15 มก. ond generation) มากกวา 60 และ 180 มก. เชา และเย็น เนื่องจากมี Efficacy/Safety 2-12 ป : 30 มก. เชาและเยน็ ratio ทีด่ ีกวา 12 ปข น้ึ ไป : 60 มก. เชา และเยน็ - ออกฤทธลิ์ ดอาการทางจมกู และ หรอื 180 มก. วนั ละคร้งั ตาเรว็

- มปี ระสทิ ธภิ าพลดการคดั จมกู ได ปานกลาง

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรา นยา 55

ชอื่ ยา ขนาดและวธิ ีใชย า คณุ สมบตั ิ ผลขางเคยี ง และความแรง และขอควรระวงั

Decongestants

Phenylephrine 4-6 ป : 2.5 มก. ทุก 4 ชม. Oral decongestant Hypertension, Trem- 6-12 ป : 5 มก. ทกุ 4 ชม. - Sympathomimetic drug or, Palpitation, Agita- 12 ปขึน้ ไป : 10-20 มก. - บรรเทาอาการคดั จมูก tion, Restlessness, ทุก 4 ชม. - ใชอยางระมัดระวัง โดยเฉพาะ Insomnia, Headache, ผปู ว ยทม่ี โี รคหวั ใจและหลอดเลอื ด Dry mucous mem- brane, Urinary reten- tion, Exacerbation of glaucoma or thyro- toxicosis

ตารางท่ี 24 ยา Intranasal corticosteroids ทใี่ ชบอ ยในโรคจมกู อกั เสบจากภูมิแพ

ชื่อยาและความแรง ขนาดยา คณุ สมบัติ ผลขา งเคียง และขอควรระวงั

Beclomethasone 6-12 ป : ขา งละ 1 สดู - ลดอาการอักเสบ - Local dipropionate (50 mcg) วนั ละ 2 ครง้ั เชาและเยน็ ของโพรงจมูกได side effects 12 ปข น้ึ ไป : ขางละ 1-2 สดู ดี นอย ไมร นุ แรง วนั ละ 2 ครง้ั เชา และเยน็ - ลดอาการแพไดดี - ไมคอยเขา - มปี ระสทิ ธิภาพ Systemic Budesonide (64 mcg) 6-12 ป : ขา งละ 1 สูด สงู สดุ ในการ - ควรระวังการ วนั ละครัง้ 12 ปข ้ึนไป : ขา งละ 2 สูด รักษา AR เลือกใชในเด็ก - ลดอาการคดั จมกู วนั ละ 1-2 คร้งั และชวยเรอ่ื งการ รับกลิ่นไดด ี Fluticasone propionate 4-12 ป : ขางละ 1 สูด วนั ละครัง้ - ออกฤทธภ์ิ ายใน (50 mcg) 12 ปข ึ้นไป : ขางละ 2 สดู วนั ละคร้งั 12 ชัว่ โมงแรก Fluticasone furoate 2-12 ป : ขา งละ 1 สูด วนั ละครั้ง แตผ ลลพั ธส งู สุด (27.5 mcg) 12 ปขน้ึ ไป : ขา งละ 2 สูด วนั ละครั้ง อาจตองใชเวลา Mometasone furoate 2-12 ป : ขา งละ 1 สูด วันละคร้งั 2-3 สปั ดาห (50 mcg) 12 ปข น้ึ ไป : ขา งละ 2 สูด วนั ละครง้ั

Triamcinolone 2-12 ป : ขา งละ 1 สดู วันละครง้ั acetonide (55 mcg) 12 ปขน้ึ ไป : ขางละ 2 สดู วนั ละครั้ง

Ciclesonide (50 mcg) 12 ปข ้ึนไป : ขา งละ 2 สดู วันละครง้ั

56 คูม อื เภสัชกรชุมชนในการดแู ลอาการเจ็บปว ยเล็กนอยในรานยา

ตารางท่ี 25 การใชฟา ทะลายโจร

ช่ือยา ขนาดและวธิ ใี ช คณุ สมบัติ ผลขา งเคยี ง และขอควรระวงั

บญั ชยี าหลกั พ.ศ. 2556 - ปวดทอ ง ทองเดิน คลืน่ ไส เบื่ออาหาร ฟา ทะลายโจร รบั ประทานคร้ังละ 1.5 - - บรรเทาอาการเจ็บคอ 3 กรมั วันละ 4 คร้ัง หลงั - บรรเทาอาการของโรคหวัด วงิ เวยี นศีรษะ บางราย อาหารและกอนนอน (common cold) เชน เจ็บคอ อาจเกิดลมพษิ ได ปวดเมือ่ ยกลามเน้อื - หากใชต ดิ ตอ กนั เปน เวลา นาน อาจทาํ ใหแ ขนขามี อาการชาหรอื ออ นแรง รับประทานคร้ังละ 500 - บรรเทาอาการทอ งเสยี ชนดิ ที่ - หากใชฟาทะลายโจร มลิ ลิกรมั - 2 กรัม วันละ 4 ไมเกิดจากการติดเช้ือ เชน ติดตอ กนั 3 วนั แลว คร้ัง หลังอาหารและกอน อุจจาระไมเปนมูกหรือมีเลือด ไมหาย หรอื มอี าการ นอน ปน รนุ แรงขึ้นระหวางใชยา

บัญชยี าหลกั แหงชาติดานสมนุ ไพร (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2564 ควรหยดุ ใชและพบ

ยาสารสกัดผงฟา เงือ่ นไข แพทย ทะลายโจร ทมี่ ี 1. ใชสําหรับบรรเทาอาการของโรคหวดั (common cold) - ควรระวงั การใชรวมกบั andrograph- เชน ไอ เจบ็ คอ น้ํามกู ไหล มไี ข สารกนั เลือดเปน ลมิ่ olide ไมน อ ยกวา 2. รบั ประทานในขนาดยาทม่ี ปี รมิ าณ andrographolide 60 (anticoagulants) และ รอยละ 4 โดย - 120 มิลลิกรัมตอ วัน โดยแบงใหว นั ละ 3 ครั้ง ยาตานการจบั ตวั ของ เกล็ดเลอื ด นํ้าหนกั (w/w) (antiplatelets) ควรระวงั การใชรวมกับ ยาสารสกัดจาก เง่อื นไข - ยาลดความดันเลือด ฟาทะลายโจร/ 1. ใชก บั ผปู ว ยโรคโควดิ 19 ทมี่ คี วามรนุ แรงนอ ย เพอ่ื ลดการ - เพราะอาจเสริมฤทธ์กิ นั ยาจากผงฟา ได ทะลายโจร เกดิ โรคที่รุนแรง ควรระวงั การใชรวมกับ 2. เฉพาะผลิตภัณฑสาํ เร็จรูปท่ีมีการควบคุมปริมาณ ยาท่ีกระบวนการเม แทบอลิซมึ ผานเอนไซม andrographolide Cytochrome P450 3. รับประทานในขนาดยาที่มีปริมาณ andrographolide (CYP) เน่ืองจากฟา ทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยัง้ 180 มิลลกิ รัมตอวนั โดยแบงใหว ันละ 3 คร้งั 4. ใชไ ดโ ดยผปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม 5. มกี ารตดิ ตามประเมนิ ประสทิ ธผิ ลและความปลอดภยั หลงั

การใชอยา งเปนระบบ

เอนไซม CYP1A2, CYP2C9 และ CYP3A4

การบรบิ าลเภสัชกรรมสำหรับอาการไข ไอ เจ็บคอ ในรานยา 57

การบรบิ าลโดยไมใ ชยาสําหรับอาการไข ไอ เจบ็ คอ การเชด็ ตัวลดไข

การเชด็ ตวั ลดไขใ นเดก็ ทอ่ี ายุ 6 เดอื น ถงึ 5 ป ควรทําใหถ กู วธิ ี เนอ่ื งจากภาวะไขส งู อาจทาํ ให เด็กมีโอกาสชักได

ขนั้ ตอนการเช็ดตวั เด็ก 1. นํา้ อุน หรอื น้ําธรรมดาเช็ดตัว ไมควรใชนาํ้ เย็นเช็ดตวั 2. ปด พัดลม หรือเครอื่ งปรบั อากาศ เพอ่ื ไมใ หเ ด็กหนาวสนั่ 3. ใชผ าขนหนูผนื เลก็ ชบุ น้ําใหช มุ เชด็ บริเวณหนา ลาํ ตัว แขน ขา 4. ใหเ ชด็ ตัวจากปลายมือ ปลายเทา เขาสูลําตัวเพือ่ ระบายความรอ น 5. ขณะเช็ดตัวใหออกแรงเหมอื นถตู วั 6. หมน่ั เปลีย่ นผา ชุบนาํ้ บอ ย ๆ 7. พักผาไวบริเวณศีรษะ ซอกคอ ซอกรกั แร และขาหนีบ 8. ควรเชด็ ตวั ประมาณ 10-15 นาที 9. หลงั จากเช็ดตวั ควรซับตัวเด็กใหแ หง และสวมเส้ือผาที่เบาสบาย 10. วัดไขซ าํ้ ในอกี 15-30 นาทตี อมา หากไขล ดแสดงวา การเชด็ ตัวลดไขไดผล แตถาหากไข

ยังไมล ดลงควรเชด็ ตัวใหมอ กี ครั้ง 11. หากเชด็ ตัวซํา้ แลว ไขยงั ไมลด ควรรีบพาเด็กไปพบแพทย ขอ ควรระวงั ในการเชด็ ตวั เดก็ หากเดก็ มอี าการหนาวสนั่ ควรหยดุ เชด็ ตวั ทนั ที และหากอาการ ยงั ไมด ีขนึ้ ควรรบี พาเด็กไปพบแพทย

การกลั้วคอดวยนํา้ เกลอื บรรเทาอาการเจ็บคอ

อาจใชน ้าํ เกลอื สําเรจ็ รปู หรอื ผสมเกลอื ปน 1 ชอนชาในน้ําอนุ 1 แกว กล้วั คอวันละ 2-3 ครั้ง

การลางจมกู ดว ยนํ้าเกลอื

การลางจมูกดวยนาํ้ เกลือจะชวยบรรเทาอาการคัดจมูก คันจมูก จาม นา้ํ มูกไหล ทั้งที่ไหล ออกมาขางนอกและไหลลงคอ ชวยลดสารกอภมู แิ พใ นโพรงจมกู นอกจากน้ี การลางจมกู กอ นพน ยา จะทําใหย าสมั ผสั กบั เยอื่ บโุ พรงจมกู ไดม ากขน้ึ และทาํ ใหอ อกฤทธไิ์ ดด ขี นึ้ โดยกลไกทแ่ี ทจ รงิ ยงั ไมท ราบ ชัดเจน สันนิษฐานวา การลางจมูกดวยนา้ํ เกลือจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเย่ือบุ โพรงจมูกในการกําจัดน้ํามูก ลดอาการบวมของเย่ือบุโพรงจมูก เพ่ิมความชุมช้ืนใหกับชองจมูก นอกจากนย้ี งั ชว ยกาํ จดั เชอื้ กอ โรค สารระคายเคอื งและสารชกั นาํ การอกั เสบดว ย ความเขม ขน ทแ่ี นะนาํ คือ 0.9% NaCl อยางไรก็ตาม มีการศึกษาวาน้าํ เกลือที่เขมขนกวาน้ี จะทําใหลดอาการคัดจมูก ไดดกี วา และชวยเพม่ิ การทาํ งานของขนเซลลใ นโพรงจมกู

58 คูมือเภสชั กรชุมชนในการดแู ลอาการเจบ็ ปว ยเล็กนอยในรา นยา

ข้ันตอนการลา งจมูกดว ยนา้ํ เกลือ 1. เทนาํ้ เกลอื ใสถวยหรอื แกวท่เี ตรียมไว แลวใชกระบอกฉดี ยาขนาด 20-50 มิลลลิ ิตร ดูด

น้ําเกลือจนเต็ม 2. นงั่ หรอื ยนื กมหนา เอนศีรษะไปดานใดดานหน่ึง เหนืออางลา งหนาหรือภาชนะทีใ่ ชร อง 3. กลน้ั หายใจหรอื หายใจทางปากเพอ่ื ปอ งกนั การสําลกั คอ ย ๆ ฉดี นาํ้ เกลอื ประมาณ 10-20

มลิ ลิลิตร เขา ไปในรจู มูกดานบนใหน ้าํ เกลือไหลออกทางรจู มกู อีกขาง 4. สัง่ นา้ํ มกู ออกเบา ๆ 5. ทําซํา้ หลาย ๆ ครง้ั จนนา้ํ เกลือท่ไี หลออกมาจากจมูก มีลกั ษณะใส ไมม ีสหี รือไมม นี ํา้ มกู 6. ลางกระบอกฉีดยาใหสะอาดและทง้ิ ไวใ หแ หง สนิท หมายเหตุ : กรณที ผี่ ปู ว ยไดร บั ยาพน จมกู หรอื ยาหยอดจมกู รว มดว ย แนะนําใหล า งจมกู ดว ย นํ้าเกลอื กอ นใชย าพนจมกู หรอื ยาหยอดจมูก

คําแนะนําการหลกี เลยี่ งสง่ิ กระตุน ในผูป วยโรคจมกู อกั เสบจากภมู แิ พ

เนน ใหผ ปู วยหลีกเล่ียงหรือกาํ จดั สง่ิ ทีแ่ พ ซึง่ มีขอควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี - หมน่ั ทาํ ความสะอาดบานและบรเิ วณรอบบานใหปราศจากฝุน - ฟูก โตะ เตยี ง หมอน พรม ไมควรใชแบบกักเก็บฝุน - ของเลน ตุกตา เส้อื ผา ไมเ ลอื กแบบมขี น - ในรายท่แี พข นสตั ว หลีกเลยี่ งสตั วท ี่ทาํ ใหเ กิดการแพ - กําจัดแมลงสาบ แมลงวนั ยงุ และแหลง ที่อยขู องสัตวไมพ ึงประสงค - ซักทําความสะอาดเครื่องนอน ปลอกหมอน มุง ผาหม อยา งนอ ยเดอื นละ 1 ครง้ั ใน

นา้ํ รอนประมาณ 60 องศาเซลเซยี ส นานอยางนอย 30 นาที - หลกี เลี่ยงละอองเกสร หญา ดอกไม วัชพชื - ทาํ ความสะอาดหองนํ้า เครอื่ งปรับอากาศ เพือ่ ลดการเกดิ เชื้อราในอากาศ ที่กอ ใหเ กิด

ภูมแิ พไ ด - หลีกเลย่ี งสารระคายเคืองหรอื ปจ จยั ทีก่ ระตุนอาการภูมิแพใ หม ากขน้ึ เชน การอดนอน

การสูบบหุ รี่ การสมั ผัสกับฝนุ ควัน อากาศรอ นหรือเยน็ เกนิ ไป

คําแนะนาํ สาํ หรับผปู วยท่ีมีอาการเจบ็ คอหรอื เปน หวดั

- ดื่มน้าํ อณุ หภมู ิหอ ง วันละ 8 แกว ขน้ึ ไป เพื่อทาํ ใหม คี วามชุม คอ - ควรรบั ประทานอาหารออ น เชน โจก หรือขาวตม ที่ไมร อนจนเกินไป - หลกี เลี่ยงอาหารท่ีมรี สเผ็ดหรือรสจัด

การบรบิ าลเภสัชกรรมสำหรับอาการไข ไอ เจ็บคอ ในรา นยา 59

- หลีกเล่ยี งการสูบบหุ รี่หรอื ด่ืมเคร่อื งดื่มทมี่ ีสว นผสมของแอลกอฮอล - ใชเสยี งใหน อ ยลง - พักผอ นใหเพยี งพอ - ระวังการแพรก ระจายเชื้อติดตอไปยังบคุ คลอ่นื - หลกี เลีย่ งการสัมผสั อากาศเยน็

คาํ แนะนําสําหรบั ผปู วยโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

- ระมดั ระวังการแพรกระจายเชือ้ ไปยงั บุคคลอืน่ - ผทู ี่หายจากการติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรือโรคโควดิ 19 อาจมีผลกระทบระยะยาว

ตอ สขุ ภาพหรอื ทเี่ รยี กวา ภาวะ Long COVID ซงึ่ อาจเปน อาการทเี่ กดิ ขน้ึ ใหมห รอื อาการ ตอ เนอื่ งภายหลังจากการตดิ เชือ้ ไวรสั ต้ังแต 1 เดือน นับจากวนั ท่ีตรวจพบเช้อื และมี อาการอยา งนอย 2 เดอื น อาการทพี่ บ เชน อาการเหนื่อย ออ นเพลยี หายใจลาํ บาก นอนไมห ลบั ปวดศรี ษะผมรว ง ปวดกลา มเนื้อ การท่ผี ูป วยท่ที าํ ความเขา ใจกบั อาการที่ อาจเกิดขึ้น มีการปฏิบัติตัวดานสุขภาพ ก็จะชวยลดโอกาสและความรุนแรงของภาวะ หลังโควิดไดการปฏิบัติตัวเหลานี้ ไดแก การฝกหายใจ (Diaphragmatic Breathing) การออกกําลังกายแบบเปนลาํ ดับขั้น (Graded Exercise) และการเสริมสรางพลังใจ (Resilience Practice)

หลุมพรางท่คี วรระวงั

- ในชว งเวลาทม่ี กี ารระบาดของ Covid-19 กรณที มี่ อี าการไข ไอ เจบ็ คอ อาจจะตอ งมกี าร ซักประวัติเก่ียวกับ Covid-19 หรือมีการตรวจ ATK เพ่ือประเมินเบ้ืองตนวาเปน Covid-19 หรอื โรคทางเดนิ ทางหายใจอนื่ ๆ เพอ่ื ใหผ ปู ว ยไดร บั การรกั ษาทเ่ี หมาะสมและ ลดการแพรก ระจายของโรค อยางไรกต็ าม การตรวจ ATK เปน การประเมนิ เบื้องตน ปจ จยั บางอยางมีผลตอการตรวจ อาจทําใหเกิดผลลวงได หากมีความเสี่ยงสูงตอการติดเชื้อ Covid-19 รวมกับมีอาการที่สอดคลองกับ Covid-19 อาจจะตองมีการตรวจซาํ้ หรือ พิจารณาเขา รับการตรวจ Rt-PCR ทโ่ี รงพยาบาล อยา งไรก็ตาม โรคนเ้ี ปน โรคอุบตั ใิ หม อาจมีการเปลีย่ นแปลงเกย่ี วกับการประเมินแยกโรคและการรกั ษาได ควรมีการตดิ ตาม ขอ มูลเก่ียวกับโรคอยเู สมอ

- ในชวงเวลาที่มีการระบาดของโรคไขเลือดออก ผูปวยที่มาดวยอาการไข เจ็บคอ ปวด เมอ่ื ยตามรา งกาย การพจิ ารณาจา ยยาในกลมุ NSAIDs ตอ งมคี วามระมดั ระวงั เนอื่ งจาก การไดร ับยาในกลุม NSAIDs เชน Ibuprofen สามารถเพมิ่ ความเสี่ยงตอ การเกดิ ภาวะ เลือดออกผิดปกติได

60 คมู ือเภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจ็บปว ยเล็กนอยในรา นยา

- ผูปวยท่ีมาดวยอาการเจ็บคอ กรณีที่พิจารณาจายยาในกลุม NSAIDs ตองสอบถาม ประวัตกิ ารใชย าพน โรคหดื หรอื การเกิดโรคหืดกําเรบิ เม่อื ใชยาในกลมุ NSAIDs เพราะ ยาในกลุม NSAIDs อาจจะกระตุนใหเกิดอาการหอบหดื กําเริบได

- ในผูปว ยท่มี ีอาการเจ็บคอ พิจารณาการจายยาปฏชิ วี นะอยา งสมเหตผุ ล - อาการไอเร้ือรังที่รักษาแบบโรคทางเดินหายใจแลวไมดีขึ้น ใหพิจารณาสาเหตุอ่ืน เชน

อาการไอจากการใชยาในกลุม ACEIs หรอื อาการไอจากโรคกรดไหลยอน

บรรณานกุ รม

1. ขอ มลู ยาสาํ หรบั บคุ ลากรทางการแพทย ยาไอบวิ โพรเฟน (Ibuprofen). 2561[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขา ถึงเม่ือ 3 มิ.ย. 2565]. เขา ถึงไดจ าก: //ndi.fda.moph.go.th/uploads/drug_doc/Ibu- profen_ tab-syr_SPC_7-2-60_edit_14-4-61.pdf

2. คาํ สง่ั กระทรวงสาธารณสขุ ที่ 329/2560 เรอื่ ง แกไ ขทะเบยี นตาํ รบั ยาทม่ี พี าราเซตามอลเปน สว น ประกอบ ชนดิ รบั ประทาน. ราชกจิ จานุเบกษา. เลม 134 ตอนพิเศษ 97 ง. 2560[อินเทอรเ น็ต]. [เขาถึงเม่ือ 3 มิ.ย. 2565]. เขาถึงไดจาก: //www.fda.moph.go.th/sites/drug/ Shared%20Documents/Law7. 1-Order-Edit/60-329.PDF

3. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ชมรม เภสัชกรชุมชนจังหวัดสงขลา, ชมรมรานขายยาจังหวัดสงขลา. การใชยาอยางสมเหตุผลในราน ยา.[อนิ เทอรเ นต็ ]. 2560 [เขาถึงเมอ่ื 3 ม.ิ ย. 2565];5-10. เขาถึงไดจ าก: //www.phar- macy.psu.ac.th/images/rdu-eagle2018.pdf

4. งานบรกิ ารพยาบาล โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน . การวดั อณุ หภมู ริ า งกาย.[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขา ถงึ เมอื่ 3 ม.ิ ย. 2565]. เขา ถงึ ไดจ าก: //www.nurse. kku.ac.th/index.php/download/category/55-2019-09-26-03-21-50

5. นติ ิ วรรณทอง. การจดั การกบั โรคคออกั เสบเฉยี บพลนั .หนว ยการศกึ ษาตอ เนอื่ ง คณะเภสชั ศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2559[อินเทอรเน็ต]. [เขาถึงเมื่อ 3 มิ.ย. 2565]. เขาถึงไดจาก: file:///C:/Users/USER/Downloads/Management%20of%20Acute%20pharyngitis.pdf

6. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการดแู ลผปู ว ยโรคตดิ เชอ้ื ระบบทางเดนิ หายใจสว นบน สาํ หรบั ผปู ว ยทไี่ มม ภี าวะ ภูมคิ ุมกันตํ่า โรงพยาบาลรามาธบิ ด.ี 2558[อนิ เทอรเน็ต]. [เขาถงึ เม่อื 3 ม.ิ ย. 2565]. เขา ถงึ ได จาก: Guideline ASU Ramathibodi. Mar 2015.pdf (mahidol.ac.th)

7. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิ การวนิ จิ ฉยั ดแู ลรกั ษา และปอ งกนั การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2565[อนิ เทอรเน็ต]. [เขา ถงึ เมื่อ 3 ม.ิ ย. 2565]. เขาถึงไดจ าก: file:///C:/Users/USER/Desktop/extra/fever/covid18%E0%B8%9E%E0%B8%8465.pdf

8. บญั ชยี าหลกั แหง ชาต.ิ บญั ชยี าจากสมนุ ไพร. 2556[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขา ถงึ เมอ่ื 4 ม.ิ ย. 2565]. เขา ถงึ ไดจ าก : //kpo.moph.go.th/webkpo/tool/Thaimed2555.pdf

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรบั อาการไข ไอ เจบ็ คอ ในรานยา 61 9. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหงชาติ เร่ือง บญั ชียาหลักแหงชาตดิ านสมนุ ไพร (ฉบบั

ท่ี 2) พ.ศ. 2564. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม 138 ตอนพิเศษ 120 ง. 2564[อนิ เทอรเนต็ ]. [เขา ถึง เมื่อ 4 มิ.ย. 2565]. เขาถึงไดจาก: //www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PD- F/2564/E/120/T_0046.PDF 10. ประยุทธ ภูวรัตนาวิวธิ , ฤทัยรัตน ศรีขวญั , สรุ ัตน วรรณเลศิ สกลุ . การทบทวนแนวทางการแยก โรคคอหอยอกั เสบและตอ มทอ นซลิ อกั เสบเฉยี บพลนั ในปจ จบุ นั . 2563[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขา ถงึ เมอื่ 3 ม.ิ ย. 2565]. เขาถงึ ไดจ าก: file:///C:/Users/USER/Downloads/sanguan,+Journal+ed- itor,+61-97final.pdf 11. วิวรรธน อัครวิเชียร. การบริบาลผูปวยเจ็บปวยเล็กนอยท่ีพบบอยในรานยาและหลักฐาน เชิงประจักษ. ขอนแกน : โรงพมิ พขอนแกน พิมพพ ัฒนา; 2557. 12. สุณี เลศิ สนิ อดุ ม. โรคจมูกอักเสบจากภมู แิ พ (Allergic Rhinitis; AR). ใน : สุณี เลิศสนิ อุดม, บรรณาธกิ าร. การดแู ลผปู ว ยโรคไมต ิดตอเร้ือรัง (Allergic rhinitis, Asthma and COPD) และ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพโดยเภสชั กร. ขอนแกน : โรงพมิ พค ลงั นานาธรรมวทิ ยา; 2563. หนา 1-15. 13. สรุ เกียรติ อาชานภุ าพ. ตําราการตรวจรกั ษาโรคทว่ั ไป 1 : แนวทางการตรวจรกั ษาโรคและการ ใชยา พมิ พครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรงุ กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พบั ลิชชิ่ง; 2553. 14. สุรเกียรติ อาชานภุ าพ. ตําราการตรวจรกั ษาโรคทวั่ ไป 2 : แนวทางการตรวจรกั ษาโรคและการ ใชยา พมิ พค รงั้ ที่ 5 ฉบับปรับปรุง กรงุ เทพฯ: โฮลสิ ตกิ พับลชิ ช่ิง; 2553. 15. สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา. วิธีเช็ดตัวเด็กท่ีถูกตอง เม่ือลูกนอยเปนไข. 2562 [อินเทอรเน็ต]. [เขาถึงเม่ือ 3 มิ.ย. 2565]. เขาถึงไดจาก: //oryor.com/%E0%B8 %AD%E0%B 8%A2/detail/media_printing/1761 16. หวดั เจบ็ คอหายได ไมต อ งใชย าปฏชิ วี นะ.[อนิ เทอรเ นต็ ]. [เขา ถงึ เมอ่ื 3 ม.ิ ย. 2565]. เขา ถงึ ไดจ าก: //newsser.fda.moph.go.th/rumthai/userfiledownload/asu136dl.pdf 17. Carol K, Jane H, Donna M. Pediatric & neonatal dosage handbook. 19th edition. 18. Laura Nortona, Angela Myers. The treatment of streptococcal tonsillitis/pharyn- gitis in young children. World J Otorhinolaryngol Head Neck Surg 2021 Jul; 7(3): 161-165. Doi: 10.1016/j.wjorl.2021.05.005 19. MIMS: drug reference concise prescribing information established since 1968. 166th edition 2022. 20. The National Institutes of Health. Is It Flu, COVID-19, Allergies, or a Cold? Staying Healthy This Winter. 2565[อนิ เทอรเนต็ ]. [เขาถึงเมอ่ื 4 มิ.ย. 2565]. เขา ถงึ ไดจ าก: // newsinhealth.nih.gov/2022/01/it-flu-covid-19-allergies-or-cold

การบรบิ าลเภสัชกรรม สำหรบั อาการปวดทอ ง ทอ งเสยี ทอ งผกู ในรานยา

การบรบิ าลเภสัชกรรมสำหรบั อาการปวดทอ ง ทอ งเสยี ทอ งผกู ในรา นยา 65

การบรบิ าลเภสัชกรรม สาํ หรับอาการปวดทอ ง ทอ งเสยี ทอ งผกู ในรา นยา

ศาสตราจารย เภสัชกรวิวรรธน อคั รวเิ ชียร

การบรบิ าลเภสัชกรรมสาํ หรับอาการปวดทองในรา นยา

ผูป วยทมี่ าดวยการปวดทอ งเปนอาการนํา อาจเปนโรคหรอื ความผดิ ปกติท่ไี มรา ยแรง ที่พบ ไดบ อย ๆ (non severe common illness) ที่เภสัชกรสามารถใหก ารบรบิ าล หรืออาจเปน โรคท่มี ี ความรายแรง (severe disease) ทต่ี อ งการวนิ จิ ฉัยที่แนน อนจากแพทยก อน และตอ งการการรักษา ทถี่ กู ตอ งเหมาะสมกไ็ ด และบางกรณคี วามผดิ ปกตหิ รอื โรคนน้ั เปน โรคทตี่ อ งการการรกั ษาอยา งเรง ดว น มฉิ ะนนั้ อาจทําใหผ ปู ว ยเสยี ชวี ติ ได เชน กรณกี ระเพาะอาหารทะลจุ ากการกนิ ยา NSAIDs กระเพาะอาหาร ทะลุจากการดื่มแอลกอฮอล กลามเน้ือหัวใจขาดเลือดแลวแสดงอาการดวยการปวดจุกแนนยอดอก เปน ตน ดงั นน้ั เภสชั กรชมุ ชนมคี วามจําเปน ทจี่ ะตอ งเขา ใจภาพรวมของโรค หรอื ความผดิ ปกตทิ ผี่ ปู ว ย มอี าการปวดทองเปน อาการนํา และมาปรกึ ษาท่ีรานยา และบทบาทของเภสัชกรชมุ ชนก็จะมีในหลาย ๆ บทบาท ไดแก

- ใหก ารบรบิ าลโดยการจา ยยาในกรณที ผ่ี ปู ว ยเปน โรคหรอื ความผดิ ปกตทิ ไ่ี มร า ยแรง ทพ่ี บ ได บอ ย ๆ (non severe common illness) เชน โรคกระเพาะอาหาร โรคกรดไหล ยอน ทอ งเสยี ไมรุนแรง ทอ งผูก อาหารไมย อย

- ทาํ การสง ตอ ผปู ว ยพบแพทย ในกรณที ต่ี อ งการการวนิ จิ ฉยั ทแี่ นน อน หรอื เปน โรคทต่ี อ ง ทําการรกั ษาโดยแพทย

- ประสานนําตัวผูปวยสงโรงพยาบาลกรณีท่ีเปนภาวะฉุกเฉิน (emergency case) เชน สงสัยกระเพาะอาหารทะลุ สงสยั กลา มเนอ้ื หวั ใจขาดเลือด

- ตรวจสอบและแกปญหาปญ หาท่ีสบื เนือ่ งจากยา (drug related problems) ในกรณที ่ี ผปู วยมาเติมยา (ทงั้ โดยการมาระบุยาทีต่ อ งการ หรือในกรณที นี่ ําตวั อยางยามาขอซือ้ )

- ใหคาํ แนะนําการใชย าแกผปู ว ยทต่ี อ งใชยา - ใหค ําแนะนาํ ปรกึ ษาเพ่ือปอ งกนั ผลไมพงึ ประสงคจ ากยา - ใหค ําแนะนาํ ปรกึ ษาในเรอื่ งพฤติกรรม การใชช วี ติ ประจําวัน เพือ่ ใหผลการรกั ษาดีขนึ้ - บนั ทกึ และตดิ ตามประเมนิ ผลการใหก ารบรบิ าลทางเภสชั กรรม (monitoring of phar-

maceutical care) สําหรบั การเขาใจภาพรวมของโรค หรอื ความผดิ ปกตทิ ผี่ ูป ว ยมาดวยอาการนําเร่อื งปวดทอง น้นั แสดงไดด ังตารางท่ี 26 และตารางที่ 27 โดยตารางท่ี 26 แสดงโรคหรอื ความผดิ ปกติทค่ี วรนกึ ถึง

66 คูม อื เภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปว ยเล็กนอยในรานยา

หากผูป วยมอี าการปวดทองทต่ี ําแหนงตาง ๆ คอื ปวดทอ งทบี่ รเิ วณตาํ แหนง ยอดอก (Epigastrium), ปวดทองทบ่ี รเิ วณดา นขวาบนของชอ งทอง (Right Upper Quadrant), ปวดทองท่ีบริเวณดานซา ย บนของชอ งทอ ง (Left Upper Quadrant), ปวดทอ งทบี่ รเิ วณดา นขวาลา งของชอ งทอ ง (Right Low- er Quadrant) และปวดทอ งทบี่ ริเวณดานซายลา งของชอ งทอง (Left Lower Quadrant) สาํ หรบั ตารางท่ี 27 เปน ภาพรวมทแี่ สดงถงึ โรคหรอื ความผดิ ปกตทิ คี่ วรนกึ ถงึ เมอ่ื ผปู ว ยมาดว ยอาการปวดทอ ง แบบเฉียบพลัน (acute onset) มาดว ยอาการปวดทอ งแบบคอย ๆ ปวดมากข้ึน ๆ (gradual onset) มาดวยอาการปวดทอ งแบบเปน ๆ หาย ๆ เปนระยะ ๆ (intermittent abdominal pain) และมา ดวยอาการปวดทองแบบปวดทองเรื้อรัง กําเริบเปนระยะ ๆ (constant pain with acute exacerbation)

ตารางท่ี 26 โรคท่ีเปน ไปไดจากการปวดทอ งในตําแหนงตา ง ๆ

ตาํ แหนงยอดอก (Epigastrium)

- กลามเนอ้ื หัวใจขาดเลือด (Myocardial infarct) - กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic ulcer) - ถงุ นา้ํ ดีอักเสบเฉียบพลนั (Acute cholecystitis) - หลอดอาหารทะลุ (Perforated esophagus)

ดา นขวาบนชองทอง (Right Upper Quadrant) ดานซายบนชองทอ ง (Left Upper Quadrant)

- ถงุ นา้ํ ดอี ักเสบเฉียบพลัน (Acute cholecystitis) - กระเพาะอาหารอกั เสบ (Gastric ulcer) - ลําไสสว นดูโอดนิ ัมอกั เสบ (Duodenal ulcer) - โรคหลอดเลอื ดแดงใหญโ ปง พอง (Aortic aneurysm) - ตบั โต (Congestive hepatomegaly) - ลําไสใ หญท ะลุ (Perforated colon) - กรวยไตอกั เสบ (Pyelonephritis) - กรวยไตอกั เสบ (Pyelonephritis) - ปอดบวม (Pneumonia) - ปอดบวม (Pneumonia) - ไสต่ิงอกั เสบ (Appendicitis)

ดา นขวาลางชองทอง (Right Lower Quadrant) ดานซา ยลางชอ งทอ ง (Left Lower Quadrant)

- ไสต ง่ิ อกั เสบ (Appendicitis) - ลําไสอุดตนั (Intestinal obstruction) - ปกมดลูกอกั เสบ (Salpingitis) - ตับออ นอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis) - ฝข องรงั ไขแ ละปก มดลกู (Tubulo-ovarian abscess) - อาการเรม่ิ แรกของไสต ง่ิ อกั เสบ (Early appendicitis) - ครรภน อกมดลกู แตก (Ruptured ectopic pregnancy) - ลมิ่ เลอื ดอดุ ตนั เสน เลอื ด mesentery (Mesenteric - น่ิวในไต (Renal stone/ Ureteric stone) thrombosis) - ไสเ ลอ่ื นตดิ คา (Incarcerated hernia) - โรคหลอดเลอื ดแดงใหญโ ปง พอง (Aortic aneurysm) - การอกั เสบเรอ้ื รงั ของระบบทางเดนิ อาหารหรอื ลําไส - ถุงผนงั ลาํ ไสอ กั เสบ (Diverticulitis and Sigmoid โครหน (Crohn’s disease) diverticulitis)

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรับอาการปวดทอ ง ทองเสยี ทองผูกในรานยา 67

ดานขวาลา งชอ งทอง (Right Lower Quadrant) ดานซายลา งชองทอ ง (Left Lower Quadrant)

- ลาํ ไสส ว นซกี ัมทะลุ (Perforated caecum) - ปก มดลูกอักเสบ (Salpingitis) - ฝโ ซแอส (Psoas abscess) - ฝข องรงั ไขแ ละปก มดลกู (Tubulo-ovarian abscess) - ครรภน อกมดลกู แตก (Ruptured ectopic pregnancy) - ไสเ ลอ่ื นตดิ คา (Incarcerated hernia) - ลาํ ไสทะลุ (Perforated colon) - การอกั เสบเรอื้ รงั ของระบบทางเดนิ อาหารหรอื ลําไส

โครหน (Crohn’s disease) - ลําไสใหญอ กั เสบเรอื้ รงั (Ulcerative colitis) - นิ่วในไต (Renal stone/ Ureteric stone)

ตารางท่ี 27 โรคทีอ่ าจจะเปนไปไดจ ากลกั ษณะชว งเวลาของการปวดทอง

ปวดทองเฉียบพลัน คอ ย ๆ ปวดมากข้นึ ๆ ปวด ๆ หาย ๆ ปวดทองเร้ือรัง (Acute onset) (Gradual onset) (Intermittent กําเรบิ เปนระยะ ๆ (Constant pain with acute pain) exacerbation)

- ลําไสบ ดิ ตวั อดุ ตนั - ไสต ิง่ อักเสบ (Appen- - กระเพาะอาหาร - กระเพาะอาหารอกั เสบ (Volvulus) dicitis) อักเสบ (Peptic (Peptic ulcer) - มสี ่ิงอุดตันลําไสข้นั - ถุงผนังลาํ ไสอักเสบ ulcer) - กระเพาะอาหารบีบตวั ชา รุนแรง (Higher (Diverticulitis) - กรดไหลยอน (Gastroparesis) intestinal obstruc- - ถงุ นา้ํ ดอี กั เสบ (Reflux eso- - มะเรง็ กระเพาะอาหาร tion) (Cholecystitis) phagitis) (Carcinoma of the - ลาํ ไสอุดตันกลนื กนั - เสนเลือด mesentery - น่ิวในทอ น้ําดี stomach) (Intussusception) ขาดเลือด (Mesenter- (Cholelithiasis) - มะเรง็ ตบั ออน (Carcinoma - น่ิวไปอุดตันถงุ ic ischemia) - การอกั เสบเรื้อรงั of the pancreas) น้าํ ด-ี ทอ น้าํ ดี - มีสง่ิ อุดตันลําไสไมใ ชข ้ัน ของระบบทางเดิน - มะเร็งลาํ ไสใ หญ (Passage of stone รนุ แรง (Lower อาหารหรอื ลาํ ไส (Colon cancer) to gallbladder) intestinal obstruc- โครหน (Crohn’s - การอักเสบเรื้อรงั ของระบบ - นิว่ อุดตนั ทีไ่ ต tion) disease) ทางเดนิ อาหารหรือลาํ ไส (Passage of stone - ต้ังครรภนอกมดลกู - ถุงผนงั ลําไสอกั เสบ โครหน (Crohn’s disease) to kidney) (Ectopic pregnancy) (Diverticulitis) - ลําไสใหญอ ักเสบ (Ulcerative - ลมิ่ เลือดอุดตนั - เยือ่ บโุ พรงมดลกู เจริญ - ตบั ออ นอกั เสบ colitis) เสน เลือด mes- ผิดท่ี (Endometriosis) เรือ้ รงั (Chronic - ทอ งผูกเรอื้ งรงั (Chronic entery (Mesenter- - ลําไสอ ักเสบ (Gastro- pancreatitis) constipation) ic embolism) enteritis)

68 คูม ือเภสชั กรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปวยเลก็ นอยในรา นยา

ปวดทอ งเฉียบพลัน คอย ๆ ปวดมากขนึ้ ๆ ปวด ๆ หาย ๆ ปวดทองเรื้อรัง ทันใด (Gradual onset) (Intermittent กาํ เรบิ เปน ระยะ ๆ (Constant pain with acute (Acute onset) pain) exacerbation)

- ครรภนอกมดลกู แตก - กระเพาะอาหารอักเสบ - เสนเลือด - ถงุ ผนงั ลําไสอกั เสบ (Divertic- (Ruptured ectopic (Peptic ulcer) mesentery ขาด ulitis) pregnancy) - ตบั ออนอักเสบ เลอื ดเรื้อรงั - ลาํ ไสอ ุดตัน (Intestinal - ถงุ ซสี ตข องรงั ไขแตก (Pancreatitis) (Chronic mesen- obstruction) (Ruptured ovarian - ปก มดลูกอักเสบ teric ischemia) - เสน เลอื ด mesentery ขาด cyst) (Salpingitis) - มกี ารอกั เสบในองุ เลือดเรือ้ รัง (Chronic - กลา มเนือ้ หวั ใจขาด - ลาํ ไสใ หญอ ักเสบ เชงิ กราน (Pelvic mesenteric ischemia) เลอื ด (Myocardial (Ulcerative colitis) inflammatory - เยื่อผงั พืดลําไส (Abdominal infarction) - กรวยไตอักเสบ disease) adhesion) - ตกเลอื ดในชองทอ ง (Pyelonephritis) - เยอ่ื บุโพรงมดลูก - ตบั ออนอักเสบเรอ้ื รัง (Chron- (Intraperitoneal - ล่มิ เลอื ดอดุ ตัน เจริญผดิ ท่ี ic pancreatitis) bleeding) เสน เลอื ดดําของมาม (Endometriosis) - การอกั เสบของลําไสใหญสวน (Splenic vein ปลายเร้อื รงั (Radiation of thrombosis) Enterocolitis) - ตับอักเสบ (Hepatitis) - โรคของถงุ น้าํ ดี (Gall bladder disease)

แนวทางการซักประวัตแิ ละประเมินรางกายเบ้อื งตน สาํ หรบั อาการปวดทอง

การซกั ประวัติ รวบรวมขอ มูลใหครบถวนจะชวยในการแยกโรคและความรุนแรงของโรคได ถกู ตอ งเหมาะสมมากขนึ้ รวมทงั้ สามารถใหก ารบรบิ าลหรอื สง ตอ ผปู ว ยไดอ ยา งเหมาะสม ทงั้ นกี้ ารซกั ประวตั ิ รวบรวมขอ มูลควรประกอบดว ย

1. ตาํ แหนงและบรเิ วณของอาการปวดทอง (location) ซึง่ จะบอกถงึ อวัยวะทมี่ รี อยโรคได 2. ตาํ แหนงของการปวด การแพร/รา วไป (radiation referred pain) เชน

ปวดราวไปสะบักขวา ควรคิดถงึ ถุงนํา้ ดี เชน chronic cholecystitis ปวดราวไปกลางหลัง ควรคิดถึงตับออน เชน acute pancreatitis ปวดราวไปขาหนีบ ควรคดิ ถึงทอไต เชน ureteric stone 3. ชนดิ และลักษณะของอาการปวด (type and character of pain) เชน ปวดเปนพัก ๆ และเวลาหายจะหายปวดเลย (colicky pain) ปวดคงทส่ี มา่ํ เสมอ (steady/constant pain) ปวดแสบรอน (burning pain) ปวดเกรง็ (cramping pain) ปวดเจบ็ แปลบหรือ ปวดตื้อ ๆ (sharp or dull pain)

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรบั อาการปวดทอง ทอ งเสีย ทองผูกในรานยา 69

4. ความสมั พนั ธร ะหวา งเวลากบั การปวดทอ ง (chronology) เชน ปวดเฉยี บพลนั ตดิ ตอ กนั นานกวา 4 ชั่วโมง ปวดเรื้อรังเปน ๆ หาย ๆ และสัมพันธกับการรับประทานอาหาร ปวดเกรง็ เปน ระยะ ๆ

5. เริ่มปวดเม่อื ไร (onset) เชน เกดิ ปวดอยางเฉียบพลนั (acute or sudden onset) เกดิ ในระยะเวลาไมเกิน 24 ชัว่ โมง (subacute onset) อาการปวดคอ ย ๆ มากข้ึน ๆ ใน ระยะเปนวนั /สัปดาห (gradual onset)

6. อะไรทาํ ใหการปวดบรรเทาลงไป หรือ ทําใหปวดมากข้ึน (relieving & aggravating factors) เชน ปวดมากเวลาหิว และอาการดีขนึ้ หลังรบั ประทานอาหารหรือยาลดกรด อาการปวดดขี นึ้ ถา นงั่ ชนั เขา หรอื กม ตวั ไปขา งหนา กนิ อาหารมนั แลว ปวดมากขนึ้ เปน ตน

7. อาการรวม (associated symptoms) เชน ปวดทองรวมกับเบื่ออาหาร น้าํ หนักลด ปวดทองรวมกับมีไข ปวดทองรวมกับมีอาการตัวเหลือง-ตาเหลือง ปวดทองรวมกับมี อาการซีด ปวดทอ งรวมกบั อืดแนนทอง ไมผ ายลม ปวดทองรว มกบั ถา ยอุจจาระลาํ บาก ปวดทองรว มกับถา ยเหลว มีมูกเลือดปน เปนตน

8. ประวัตปิ ระจาํ เดือนในผูหญงิ ซ่ึงอาจจะชวยใหน ึกถงึ โรคตอ งสงสัย เชน ปวดทองพรอม กับการมีประจาํ เดือนอาจจะเปน dysmenorrhea หรือ endometriosis ปวดทอง รว มกับมตี กขาวผดิ ปกตติ องนึกถึงภาวะองุ เชิงกรานอักเสบ (PID)

9. ประวัติการใชยา การเจ็บปวย การผาตัดในอดีต (medication history and past medical history) เชน ประวัติการกินยา NSAIDs ประวัติการกินยาระบายตอเนื่อง ประวตั กิ ารทรี่ ะคายเคอื งทางเดนิ อาหาร ประวตั กิ ารดมื่ สรุ า ประวตั กิ ารประสบอบุ ตั เิ หตุ กอ นจะเริ่มมอี าการปวดทอ ง ประวัติการถายเปน เลือด เปนตน

เกณฑก ารพจิ ารณาสง ตอผปู วยพบแพทย

ในกรณีที่เภสัชกรซักประวัติ รวบรวมขอมูลผูปวยที่มีอาการนําดวยเรื่องปวดทองแลวพบวา เขาเกณฑขอ ใด ขอ หนึ่งตอ ไปนี้ ใหเ ภสัชกรทําการสงตอผูปว ยพบแพทย

- มีชพี จรและสญั ญาณชพี ผิดปกติ - เหน่ือยหอบ - อาเจียนเปนเลอื ด - ตัวซดี ตวั เหลือง ตาเหลือง - ไขสงู - ปวดทอ งเฉียบพลัน แลวรนุ แรงขึ้น - ปวดสีขาง

70 คูมอื เภสชั กรชมุ ชนในการดแู ลอาการเจบ็ ปว ยเลก็ นอ ยในรานยา - มคี วามผิดปกติในการถา ยปส สาวะ - น้ําหนักลดโดยไมตง้ั ใจ - ถายอุจจาระมมี ูก มีเลอื ด - ทอ งผูกสลบั ทองเสยี - คลําไดกอนผิดปกติในชอ งทอ ง แผนภูมิที่ 4 แนวทางการบริบาลเภสชั กรรมสาํ หรับอาการปวดทองในรานยา

ปวดทองเปนอาการนํา

ซักประวตั ิ หาขอ มูลผปู วย

หา Alarm signs and symptoms พบ ไมพบ

สงตอผูป วยพบแพทย ประวตั ิและขอมูลทีห่ าไดเ ขา ไดก บั ผูปวย PU/ GERD/ Dyspepsia/ Constipation/ Diarrhea

ไมม ่ันใจ ใช

มี complication ทค่ี วรพบแพทย มี ไมม ี

ไมด ีขึ้นในเวลาท่ีเหมาะสม ใหก ารบริบาลทางเภสชั กรรม จา ยยา/ ใหคาํ ปรกึ ษาแนะนํา/ แกปญหา DRP/ ติดตามผล

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรับอาการปวดทอง ทอ งเสีย ทอ งผกู ในรา นยา 71

การบริบาลเภสัชกรรมสําหรับโรคกระเพาะอาหารอกั เสบในรานยา

กระเพาะอาหารอกั เสบ (peptic ulcer) คอื ภาวะทเ่ี ยอ่ื บผุ วิ ทางเดนิ อาหารบรเิ วณกระเพาะ อาหารและลาํ ไสเล็กถูกกัดกรอนหรือถูกทําลายจนเกิดเปนแผลอักเสบขึ้น หากแผลอักเสบเกิดที่ กระเพาะอาหารจะเรยี กชอื่ วา gastric ulcer และหากแผลอกั เสบเกดิ ทลี่ าํ ไสเ ลก็ สว นตน (duodenum) จะเรียกวา duodenal ulcer มีสวนนอยที่จะเกดิ แผลอกั เสบที่ลําไสเ ลก็ บรเิ วณ jejunum สําหรับ ตนเหตทุ ีท่ ําใหเ กดิ การอักเสบของกระเพาะอาหารและลําไสเ ลก็ มีมากมายหลายสาเหตุ เชน เกดิ จาก กรดและเอนไซม pepsin ในกระเพาะอาหาร เกดิ จากการตดิ เชื้อ H. pyroli เกดิ จากการใชย าบางชนิด (ยาทเ่ี ปน ตน เหตทุ พ่ี บบอ ย ๆ คอื ยากลมุ NSAIDs ยากลมุ bisphosphonate ยากลมุ immunosup- pressant) เกดิ จากความเครยี ด (ทําใหเกิดแผลทีเ่ รียกวา stress induced ulcer) เกิดจากการรับ รงั สี (radiation damage) เกดิ จากการมีความผดิ ปกติทีก่ อใหเ กดิ มกี ารหลง่ั กรดมากกวา ปกติ (Gas- trinoma or Zollinger-Ellison syndrome) ในบางกรณีจะไมทราบสาเหตุของโรคท่แี นนอนซึง่ จะ เรยี กวา idiopathic ulcer

อาการและอาการแสดงของผปู ว ยทคี่ วรนกึ ถึงโรคกระเพาะอาหารอกั เสบ

ผปู ว ยโรคกระเพาะอาหารอักเสบมักจะมาดวยอาการ จกุ แนนยอดอก-เจบ็ ใตล ้ินป (epigas- tric pain) แสบทอ ง แสบกลางอก (heart burn) โดยเฉพาะเวลาหิว ผปู ว ยมักจะรสู ึกดีขนึ้ บา งเมอื่ รับ ประทานอาหารหรือยาลดกรด ผูปวยอาจจะมีอาการอืดแนนทองเหมือนอาหารไมยอย บางทีอาจมี คลนื่ ไส พะอดื พะอมเหมอื นอยากอาเจยี น แตม กั จะไมอ าเจยี น ผปู ว ยบางรายอาจจะมอี าการปวดทอ ง แสบทองตอนกลางคืนจนรบกวนการนอน (nocturnal gastric pain) การรบั ประทานอาหารที่มีรส เผ็ด หรือรสชาติรอนแรงจะกระตุนใหผูปวยมีอาการปวดทอง-แสบทองมากข้ึน สาํ หรับผูปวยท่ีเปน โรคกระเพาะอาหารจากยา NSAID อาจจะไมไ ดแ สดงอาการใหเห็นเดนชดั ก็เปนได

การแยกระหวางผูปวย gastric ulcer และผูป ว ย duodenal ulcer จากขอมูลของอาการ นัน้ ในทางปฏิบตั ิ จะแยกกนั ยาก แมว าในทางทฤษฎจี ะระบวุ าผปู ว ย gastric ulcer จะมอี าการปวด- แสบทองขณะรบั ประทานอาหาร สว นผปู ว ย duodenal ulcer จะมีอาการหลงั รบั ประทานอาหาร 1-3 ชั่วโมง แตก็ไมเ ปนเชน นน้ั ในผูป วยทุกราย ผปู วยทมี่ แี ผลจนกระทัง่ มเี ลือดออกในทางเดินอาหาร จะใหป ระวัติวา ถา ยอุจจาระดํา (melena) ซ่งึ เกดิ เน่ืองจากมีเลือดเกาซึ่งถูก oxidized ปนออกมาใน อุจจาระ

หลุมพรางทีค่ วรระวัง

- ผปู ว ยกลา มเนอ้ื หวั ใจขาดเลอื ดจํานวนหนงึ่ ทจ่ี ะมอี าการปวดทอ ง โดยเฉพาะปวดจกุ แนน บรเิ วณยอดอก ดงั นน้ั ในการซกั ประวตั ิ หาขอ มลู ผปู ว ย เภสชั กรจําเปน ตอ งใหค วามใสใ จ

72 คมู ือเภสชั กรชุมชนในการดแู ลอาการเจบ็ ปวยเล็กนอยในรานยา

เปนพเิ ศษแกผ ูท่ีมีประวัตโิ รคหลอดเลือดและหวั ใจมากอน ผูปว ยสงู อายุ ผูปว ยสบู บหุ รี่ จดั ผปู ว ยทเี่ คยมีประวัตคิ รอบครัวเปนโรคหัวใจขาดเลอื ด - ผปู ว ยทด่ี ม่ื แอลกอฮอล หรอื กนิ ยา NSAIDs จนเกดิ กระเพาะทะลจุ ะคอ ย ๆ เสยี เลอื ดจน เกิด hypovolemic shock ได จึงตองระมัดระวงั - ผูปว ยท่มี ีกรดหล่งั มากจาก Zollinger-Ellison syndrome จํานวนหนงึ่ จะมีการพฒั นา ไปเปน เซลลมะเรง็ ได ดังน้ันหากใหก ารบริบาลผปู วยแลวไมดีขนึ้ สมควรสงตอ ผูป วยพบ แพทย

การบรบิ าลโดยใชย าสําหรับโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

ตารางที่ 28 การใชยาเพอื่ รักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

ยา ขนาด - วธิ ใี ช ผลไมพ งึ ประสงคจ ากยา หมายเหตุ

ยาทใ่ี ชเพ่อื สะเทินกรดในกระเพาะอาหาร (antacid)

Antacid เปนยาสูตรผสมซ่งึ แตละ - หากใชพรอ มกบั ยาอื่น ๆ - เวลาทเ่ี หมาะสมท่ีสดุ ยากลมุ น้ใี นประเทศไทย ตํารบั จะมีตวั ยาไมเทา กัน ยาในกลุม น้ีอาจจะ สาํ หรับการใชย ากลุมน้ี มักจะเปนยาสตู รผสม ซึง่ โดยทั่วไปขนาดการใชคอื รบกวนการดูดซมึ ของ คือ หลงั อาหาร แตละตาํ รับจะมีสวนผสม ยาน้ํา : ยากลุมอืน่ ๆ ดวยการ ประมาณ 1-2 ช่ัวโมง ตางกนั ไป แตจ ะมีตวั ยา ผใู หญ 15-30 มล.วันละ ไปดูดซับหรอื ไป หรอื ระหวางมื้ออาหาร แMcสaลําgtคะ(eOญัอ,าHเMปจ)2ผgน ,CสMAOมlgย3(OาtNขrHaiบัs)Hi3ลl,iC-มO3 3-4 ครัง้ หลงั อาหารและ chelate กบั ยาอน่ื ๆ เพราะการรับประทาน กอนนอน ซึ่งยาหลายตัวท่ถี กู ยาหลังอาหาร 15-30 เดก็ ลดลงตามสว น รบกวนจะมีฤทธทิ์ าง นาที จะทาํ ใหยาไป ยาเมด็ : เภสชั วทิ ยาลดนอยลง สะเทินกรด และเมอื่ พวก simethicone หรอื ผใู หญ 1-2 เมด็ วนั ละ ได กรดไมพอยอ ยอาหาร dimethylpolyxylox- 3-4 คร้งั หลงั อาหารและ จะเกิดอาการทอ งอืด ane ไวดว ย กอนนอน - ถา เปนยาเมด็ จะตองให เดก็ ลดลงตามสวน ผูปว ยเคีย้ วยาให ละเอียดกอนกลืนเพื่อ เพมิ่ พื้นท่ผี วิ ของยาท่จี ะ ไปสะเทินกรด

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการปวดทอง ทองเสยี ทอ งผูกในรา นยา 73

ยา ขนาด - วิธใี ช ผลไมพงึ ประสงคจากยา หมายเหตุ

ยาท่ใี ชล ดการหลัง่ ของกรดในกระเพาะอาหารกลุม H2RA

Cimetidine ผูใหญ : 400 มก. - Cimetidine จะเกดิ - ตามทฤษฎแี ลว ใหใ ชยา หลงั อาหารเชา-เยน็ อันตรกิริยากบั ยาหลาย นาน 4-6 สัปดาห 4-8 สัปดาห ตัวที่ metabolise สาํ หรับ duodenal เดก็ : 10-20 มก/กก. ดว ย CYP 1A2, 2C9, ulcer และใหใ ชย านาน หลังอาหารเชา-เยน็ 2D6 และ 3A4 แตการ 6-8 สปั ดาห สําหรับ 4-8 สปั ดาห ใชย า Famotidine gastric ulcer Ranitidine จะไมเ กิด Famotidine ผูใ หญ : 20 มก. ปญ หาน้ี หลงั อาหารเชา-เยน็ 4-8 สัปดาห เด็ก : 0.25-0.5 มก/กก. หลังอาหารเชา-เยน็ 4-8 สปั ดาห

Ranitidine ผูใหญ : 150 มก. หลังอาหารเชา-เย็น 4-8 สัปดาห เดก็ : 2-4 มก/กก. หลังอาหารเชา -เยน็ 4-8 สปั ดาห

ยาทีใ่ ชลดการหลั่งของกรดในกระเพาะอาหารกลุม PPI

Esomeprazole ผูใหญ : 20 มก. - ปวดศรี ษะ 5% - ผูปวยที่ใชย า PPI มา กอนอาหารเชา 4-8 สปั ดาห เปน ระยะเวลานาน หาก เด็ก : 10 มก/กก. หยุดยาทันที อาจเกิด กอ นอาหารเชา 4-8 สปั ดาห acid rebound ได จงึ ควรจะคอ ย ๆ ถอนยา เมื่อจะหยุดใช

- การใชย ากลมุ PPI เปน เวลาตอ เนื่องกันนานจะ เพิ่มความเสี่ยงตอ การ เกิดกระดูกหกั โดย เฉพาะในผูปวยสตรีทส่ี ูง อายุ

74 คูมอื เภสชั กรชมุ ชนในการดแู ลอาการเจบ็ ปวยเล็กนอ ยในรา นยา

ยา ขนาด - วธิ ใี ช ผลไมพึงประสงคจากยา หมายเหตุ

Lansoprazole ผใู หญ : 15-30 มก. - ปวดศีรษะ ทอ งเสยี กอ นอาหาร วนั ละครงั้ 6-7% 4-8 สัปดาห เดก็ : 10 มก/กก. กอนอาหารวนั ละครงั้ 4-8 สัปดาห

Omeprazole ผูใหญ : 20 มก. - ปวดศีรษะ 7% กอนอาหารเชา 4-8 สปั ดาห เดก็ : 10 มก/กก. กอ นอาหารเชา 4-8 สปั ดาห

Rabeprazole ผใู หญ : 20 มก. - ปวดศรี ษะ 2-10% กอนอาหารเชา 4-8 สปั ดาห เด็ก : 10 มก/กก. กอนอาหารเชา 4-8 สัปดาห

ยาที่ออกฤทธปิ์ กปอ งเยอ่ื บุของทางเดนิ อาหาร (mucosa barrier)

Bismuth subsalicylate ผูใหญ : 524 มก. เวลามี - ยาจะทาํ ใหล ิน้ ดาํ และ - สามารถใชยาน้เี ปนยา อาการปวดทอ ง แสบทอง ถา ยอุจจาระดาํ รกั ษาอาการทอ งเสยี ได ไมเ กินวันละ 8 คร้ัง ดวย เด็ก : ลดขนาดลงตาม สดั สวน

Misoprostol 200 mcg หลงั อาหาร - อาจเสี่ยงตอการแทง - เปน ยาท่ีหา มครอบ เชา -กลางวัน-เยน็ -กอ น บุตรหากใชในสตรีมี ครองและจาํ หนายใน นอน สาํ หรบั ปองกันแผล ครรภ รา นยา เนอื่ งจากมีผูนาํ กระเพาะอักเสบจากยา - ปวดทอง ทองเสีย มาใชใ นทางทผี่ ิดเพอ่ื NSAIDs 10% การทําแทง

Rebamipride 100 มก. กอนอาหาร - พบคลืน่ ไส ทองเสยี - ยงั ไมมีขอมลู ความ วันละ 3 ครัง้ และผื่นคันบา ง ปลอดภัยของการใชใ น สตรมี คี รรภ และสตรีให นมบุตร

การบริบาลเภสัชกรรมสำหรับอาการปวดทอง ทอ งเสยี ทอ งผูกในรานยา 75

ยา ขนาด - วธิ ีใช ผลไมพงึ ประสงคจากยา หมายเหตุ

Sucralfate ผใู หญ : 1 ก. กอนอาหาร - ทอ งผกู 2% - ใหร ะวงั การใชใ นผปู วย เชา-กลางวนั -เย็น- - ยาน้ีอาจรบกวน โรคไต เพราะ กอนนอน 4-8 สัปดาห การดูดซมึ ยาอืน่ aluminium ในยานี้ เดก็ : 10-20 มก/กก. จะถกู ดดู ซึมเขา สู กอ นอาหาร เชา -กลาง กระแสเลือด วนั -เยน็ -กอนนอน 4-8 สปั ดาห

ยากลุม prokinetic เพอ่ื ลดอาการคลนื่ ไส พะอืดพะอม

Domperidone ผูใหญ : 10-20 มก. - ในขนาดสงู อาจทําให - การเกิดคอแข็ง ลิน้ แขง็ กอ นอาหาร วันละ 3 คร้ัง เกดิ คอแข็ง ลนิ้ แขง็ (tardive dyskinesia) เด็ก : 2.5 - 5 มก. (tardive dyskinesia) จะข้นึ กบั ขนาดยาที่ใช กอนอาหาร วนั ละ 3 ครง้ั แตอ บุ ัติการณ < 1% และปรมิ าณสะสมของ ยาทีใ่ ช - หา มใช domperidone ในผูปวยทมี่ โี รคหัวใจ และหา มใชรว มกับยาท่ี อาจกอใหเ กดิ QT prolongation

Metoclopramide ผใู หญ : 10-20 มก. - งว งซึม 10% กอ นอาหาร วนั ละ 3 ครง้ั - ในขนาดสงู อาจทาํ ให เดก็ : 2.5 - 5 มก. เกิด คอแขง็ ลิ้นแข็ง กอ นอาหาร วนั ละ 3 คร้ัง (tardive dyskinesia)

ยากลมุ antiflatulence เพอื่ ลดอาการทอ งอืด ทอ งเฟอ

Simethicone ผูใ หญ : 40-80 มก. เมื่อ - ยานี้ไมถ กู ดูดซมึ เขา - หากเปนยาเม็ด ให มีอาการทองอดื ทอ งเฟอ กระแสเลอื ด จงึ ไมค อ ย แนะนาํ ผูปวยเคย้ี วให เดก็ : 20-40 มก. เมื่อมี พบผลไมพ ึงประสงค ละเอยี ดกอ นกลนื เพื่อ อาการ เพิม่ พนื้ ที่ผวิ ของยาท่จี ะ

ไปจับแกส

76 คูมือเภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปว ยเล็กนอยในรา นยา

การบรบิ าลเภสชั กรรมสําหรบั อาการอดื แนน ทอ ง เรอเปรยี้ วจากกรดไหลยอ นในรา นยา

กรดไหลยอน (gastroesophageal reflux disease - GERD) เปน โรคท่พี บบอยโรคหน่งึ ใน ประชากรทวั่ ไป โดยเฉพาะประชากรสงู อายุ โรคนเี้ กดิ เนอื่ งจากมกี ารขยอ นกลบั ของกรดและเอนไซม pepsin จากกระเพาะอาหารยอ นกลบั ข้ึนมาในหลอดอาหาร ทาํ ใหผ ปู ว ยรสู ึกแสบรอ นบรเิ วณกลาง อก (heartburn) อืดแนน ทอ ง เรอเปน ลมหรอื เรอเปรี้ยว คล่ืนไส และทานอาหารไดไ มม ากเนอ่ื งจาก จะรูส กึ อิ่มเร็วกวา ปกติ โรคกรดไหลยอนจะแบงไดเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คอื

Reflux oesophagitis หรือ Erosive reflux disease คือ ความผิดปกตชิ นดิ ที่กรดและ pepsin ที่ยอนกลับข้นึ มาท่ีหลอดอาหารไปทําใหช้ันของเยื่อบหุ ลอดอาหารฝอลงและหลุดลอก แลว เกดิ เปน แผลอกั เสบของหลอดอาหาร

Endoscopy-negative reflux disease หรือ Non-erosive reflux disease หรือ Non-erosive oesophagitis คือ ความผิดปกติชนิดท่ีผปู วยแสดงอาการของกรดไหลยอ น แตเ ม่อื สอ งกลองดจู ะไมพ บแผลของหลอดอาหาร

กลไกการเกิดกรดไหลยอนอธิบายดวยการคลายตัวของกลามเนื้อหูรูดบริเวณสวนลางของ หลอดอาหาร (relaxation of the lower oesophageal sphincter) ทง้ั นมี้ กี ารศกึ ษาทแ่ี สดงใหเ หน็ วาผูปวยกรดไหลยอนจะมีความสามารถในการบีบตัวใหเปนจังหวะของหลอดอาหารท่ีผิดปกติไป (oesphargeal peristaltic dysfunction) การบีบไลอาหารออกจากกระเพาะอาหารไปสลู ําไสเล็ก เกดิ ชา กวา ปกติ (delayed gastric emptying) ผปู ว ยจะมกี รดเหลอื คา งเปน กระเปาะอยทู สี่ ว นบนของ กระเพาะอาหาร (acid pocket) หลงั รับประทานอาหาร ซึ่งทําใหมคี วามดันในกระเพาะอาหารเพ่มิ มากขนึ้ และหลอดอาหารของผูปวยจะไวตอ กรดมากกวาปกติ (oesophargeal hypersensitivity) จงึ บบี ตัวมากขึน้ สวนเรอ่ื งการตดิ เชอ้ื H. pyroli นัน้ ขอมูลชี้ไปในทางวา การเกดิ ภาวะกรดไหลยอ น ไมไดสมั พันธกบั การติดเชอื้ H. pyroli แตอยางไร อีกท้งั การพบเช้ือ H. pyroli ในผปู ว ยบางรายก็ ไมไ ดท ําใหอ าการของโรคกรดไหลยอ นรนุ แรงขนึ้ หรอื เกดิ เปน ซ้าํ บอ ยขน้ึ แตอ ยา งใด มปี จ จยั หลายอยา ง ท่ีทาํ ใหผูปวยเกิดอาการของโรคกรดไหลยอนมากขึ้น เชน การรับประทานอาหารท่ีรสจัด การรับประทานอาหารเผ็ด การรับประทานกระเทียม การสูบบุหร่ี การนอนในทาท่ีหัวต้ังสูงไมมาก พอ ซง่ึ ในการบรบิ าลผปู ว ย เภสชั กรจะตอ งพยายามสอนใหผ ปู ว ยคน หาปจ จยั กระตนุ และแนะนาํ การ หลีกเล่ียงปจจัยกระตุนเหลาน้ัน แมกรดไหลยอนจะเปนโรคที่ไมไดเปนอันตรายรายแรง แตโรคน้ีก็ ทาํ ใหผ ปู ว ยรสู กึ ไมส บายและทาํ ใหค ณุ ภาพชวี ติ ของผปู ว ยถดถอยลง ผปู ว ยทไี่ มไ ดร บั การรกั ษาหรอื รบั การรกั ษาทไ่ี มเ หมาะสมอาจเกดิ ภาวะแทรกซอ นเรอ่ื งเลอื ดออกในทางเดนิ อาหาร (GI bleeding) หรอื อาจเกดิ หลอดอาหารตีบ (peptic stricture) ซ่ึงเกดิ จากกลไกการพยายามรักษาแผลตามธรรมชาติ ของรา งกายแลว เกดิ เปนเนือ้ เย่ือคลายพงั ผดื ท่สี ว นปลายของหลอดอาหาร

การบรบิ าลเภสัชกรรมสำหรับอาการปวดทอง ทอ งเสยี ทอ งผูกในรานยา 77

อาการและอาการแสดงของผูป ว ยทีค่ วรนกึ ถงึ กรดไหลยอ น

ผูปวยกรดไหลยอ นอาจจะมาดวยอาการไดห ลากหลาย เชน แสบรอ นกลางอก มคี วามรูสึก เหมือนมีบางสิ่งขยอนจากกระเพาะอาหารทนขึ้นมาท่ีหลอดอาหารหรือคอหอย อาหารไมยอย ทอ งอืดแนน เรอเปนลม หรือเรอเปรย้ี ว พะอดื พะอม คล่ืนไสแ ตไ มอ าเจยี น บางรายอาจมีปญหากลืน ลาํ บาก รูสึกเหมือนมีกอ นอยูใ นลาํ คอ สําหรับเร่อื งอาการแสบรอนกลางอกและการขยอ นสิ่งของบาง อยางออกมาจากกระเพาะอาหารนั้นพบไดท้ังในเวลากลางวันและกลางคืน แตผูปวยสวนใหญจะมี อาการมากหลงั รบั ประทานอาหารเสรจ็ ใหม ๆ หรอื หลงั รบั ประทานอาหารบางชนดิ ทกี่ อ ความระคาย เคืองทางเดินอาหาร ผูปวยบางรายจะบอกวาหลังจากรูสึกเหมือนขยอนสิ่งของบางอยางประมาณ 1 นาที กจ็ ะรสู กึ แสบรอ นกลางอก และเปน ทนี่ า สงั เกตวา ผปู ว ยกรดไหลยอ นชนดิ non erosive reflux disease จะมอี าการของอาหารไมย อ ย (dyspepsia) มากกวา ผปู ว ยกรดไหลยอ นชนดิ erosive reflux disease

อาการของโรคกรดไหลยอ นอาจจะแสดงออกดว ยอาการทางระบบอน่ื ทไ่ี มไ ดเ กย่ี วกบั ทางเดนิ อาหารโดยตรงเลยก็ได เชน อาจพบเรื่องเสียงแหบเพราะกรดที่ไหลยอนข้ึนมาไปสัมผัสถูกเสนเสียง และทําใหเกิดการอักเสบของเสนเสียง อาจพบเร่ืองอาการไอเรื้อรังหรืออาการหอบกําเริบข้ึนโดยไม พบสาเหตอุ ื่น ท้งั นีเ้ นอื่ งจากกรดท่ไี หลทน ขนึ้ มาไประคายเคืองหลอดลมของผูป วย

หลุมพรางทค่ี วรระวัง

- ผปู ว ยทมี่ อี าการแสบรอ นกลางยอดอก อาจเปน อาการของกลา มเนอ้ื หวั ใจขาดเลอื ดกไ็ ด ดังนนั้ ในการซักประวัติ หาขอมลู ผปู ว ย เภสชั กรจาํ เปนตอ งใหค วามใสใจเปนพิเศษแก ผทู ม่ี ปี ระวตั โิ รคหลอดเลอื ดและหวั ใจมากอ น ผปู ว ยสงู อายุ ผปู ว ยสบู บหุ รจี่ ดั ผปู ว ยทเ่ี คย มปี ระวตั ิครอบครัวเปน โรคหัวใจขาดเลอื ด

- ผูปวยที่มปี ญ หาแสบรอนกลางอกรว มกบั มีอาการกลืนอาหารลาํ บากมาก เจบ็ เวลากลืน อาหารอาจเปน มะเร็งของหลอดอาหารได หากพบอาการรว มท่ีวานี้ ใหส งตอผูป ว ยพบ แพทย

78 คมู อื เภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปว ยเลก็ นอ ยในรานยา

การบริบาลโดยใชย าสาํ หรบั อาการอืดแนนทอ ง เรอเปรี้ยวจากกรดไหลยอ น

ตารางท่ี 29 ยาทใี่ ชเพ่อื สะเทินกรดในกระเพาะอาหาร (antacid) และยา alginate

ยา ขนาด - วิธีใช ผลไมพ ึงประสงค หมายเหตุ จากยา

ยาท่ีใชเ พ่อื สะเทินกรดในกระเพาะอาหาร (antacid) และยา alginate

Antacid ยากลุมนี้ใน เปน ยาสตู รผสมซ่งึ แตล ะ หากใชพ รอมกับยา - เวลาที่เหมาะสมที่สุดสําหรับ ประเทศไทยมักจะเปน ยา ตาํ รับจะมีตวั ยาไมเ ทากนั อนื่ ๆ ยาในกลมุ น้ี การใชยากลุม นี้ คอื หลัง สตู รผสม ซง่ึ แตล ะตาํ รับ โดยทว่ั ไปขนาดการใชค ือ อาจจะรบกวนการ อาหารประมาณ 1-2 ช่วั โมง จะมีสว นผสมตางกนั ไป ยานํ้า : ผูใ หญ 15-30 มล. ดดู ซมึ ของยากลมุ หรอื ระหวางมอื อาหาร แตจ ะมตี วั ยาสาํ คญั เปน วนั ละ 3-4 ครั้ง หลัง อื่น ๆ ดว ยการไป เพราะการรบั ประทานยา ANยtrาlais(ขHOilบั iCHcลOa)ม3t3,พeMแ,วลMgกะ(OgอCHาOจ)2ผ3,สMมg อาหารและกอนนอน ดูดซับหรอื ไป หลังอาหาร 15-30 นาที จะ เด็ก ลดลงตามสวน chelate กบั ยา ทําใหยาไปสะเทินกรด และ ยาเม็ด : ผูใหญ 1-2 เม็ด อื่น ๆ ซึง่ ยาหลาย เมื่อกรดไมพ อยอยอาหาร จะ วันละ 3-4 ครง้ั หลัง ตัวทีถ่ กู รบกวนจะมี เกดิ อาการทอ งอดื ได simethicone หรือ อาหารและกอ นนอน ฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา dimethylpolyxyloxane เด็ก ลดลงตามสวน ลดนอ ยลง - ถา เปน ยาเม็ดจะตองใหผ ปู ว ย ไวด วย เคย้ี วยาใหละเอยี ดกอนกลืน เพ่อื เพ่มิ พ้ืนท่ผี ิวของยาที่จะ ไปสะเทินกรด

Sodium alginate เปนยาสตู รผสม ขนาดการ ยานีจ้ ะรบกวนการ - ถา เปนยาเมด็ จะตองใหผ ูปวย ที่มีจาํ หนายใน ใชคือ ดดู ซมึ ของยาทก่ี ลุม เค้ียวยาใหละเอยี ดกอ นกลนื ประเทศไทยจะเปน ยา ยาน้ํา : ผูใหญ 10-20 อน่ื ๆ ได เพอ่ื เพ่ิมพนื้ ท่ีผิวของยาทีจ่ ะ สูตรผสมระหวา ง มล.วนั ละ 3-4 ครงั้ ไปออกฤทธิ์ Sodium alginate, หลังอาหารและกอ นนอน - เนือ่ งจากมโี ซเด่ยี มเปนองค NaHCO3 และ CaCO3 เดก็ ลดลงตามสว น ประกอบ จึงตอ งระวังการใช ยาเม็ด : ผูใหญ 2-4 เมด็ ยานีใ้ นผูปวยทต่ี องจาํ กดั วันละ 3-4 ครั้ง หลงั ปรมิ าณการรับโซเดียม เชน อาหารและกอนนอน ผปู ว ยไตวาย ผูปว ยโรคหวั ใจ เด็ก ลดลงตามสว น

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรับอาการปวดทอง ทอ งเสยี ทอ งผูกในรา นยา 79

ตารางท่ี 30 ยาทใ่ี ชในการรักษากรดไหลยอน

ยา ขนาด - วธิ ีใช ผลไมพึงประสงค หมายเหตุ จากยา

ยาท่ใี ชลดการหล่ังของกรดในกระเพาะอาหารกลมุ H2RA Cimetidine ผใู หญ : 400-800 มก. Cimetidine จะเกดิ - ตามทฤษฎแี ลว จะใหใ ช หลังอาหารเชา-เยน็ 8-12 สัปดาห อันตรกิริยากับยา ยานาน 8-12 สัปดาห เดก็ : 10-20 มก/กก. หลายตวั ที่ แตหากผปู วยมอี าการดี หลังอาหาร เชา-เยน็ 8-12 สัปดาห metabolise ดวย ขึ้นแลวอาจพจิ ารณาลด CYP 1A2, 2C9, ขนาดยาลงในชว ง Famotidine ผใู หญ : 20-40 มก. 2D6 และ 3A4 แต maintenance ตาม Ranitidine หลงั อาหารเชา -เยน็ 8-12 สัปดาห การใชย า เหมาะสม จนครบเวลา เด็ก : 0.5 มก/กก. Famotidine 8-12 สปั ดาห หลงั อาหาร เชา-เยน็ 8-12สัปดาห Ranitidine ผใู หญ : 150 มก. จะไมเ กดิ ปญ หานี้ หลงั อาหาร เชา-เยน็ 8-12 สปั ดาห เด็ก : 2-4 มก/กก. หลงั อาหาร เชา -เย็น 8-12 สัปดาห

ยาท่ใี ชล ดการหลงั่ ของกรดในกระเพาะอาหารกลมุ PPI

Esomeprazole ผใู หญ : 20-40 มก. กอนอาหารเชา - ปวดศรี ษะ 5% - ผูปว ยท่ีใชยา PPI มา 8-12 สัปดาห - ปวดศรี ษะ เปนระยะเวลานาน หาก เด็ก : 10-20 มก. กอนอาหารเชา หยุดยาทนั ที อาจเกิด 8-12 สปั ดาห ทอ งเสยี 6-7% acid rebound ได จึง - ปวดศรี ษะ 7% ควร คอย ๆ ถอนยาเมอื่ Lansoprazole ผูใหญ : 15-30 มก. กอ นอาหาร จะหยุดยา วันละครง้ั 8 สปั ดาห เดก็ : 10 มก/กก. กอนอาหาร - การใชย ากลุม PPI เปน วนั ละครัง้ 8 สัปดาห เวลาตอเนือ่ งกนั นานจะ เพิ่มความเสี่ยงตอการ Omeprazole ผใู หญ : 20-40 มก. กอ นอาหารเชา เกิดกระดกู หกั โดย 8-12 สัปดาห เฉพาะในผูปว ยสตรที ี่สงู เด็ก : 10-20 มก. กอ นอาหารเชา อายุ 8-12 สปั ดาห

Rabeprazole ผใู หญ : 20 มก. กอนอาหารเชา - ปวดศรี ษะ 8-12 สปั ดาห 2-10% เดก็ : 10 มก. กอ นอาหารเชา 8-12 สปั ดาห

80 คูมอื เภสชั กรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปว ยเลก็ นอ ยในรา นยา

ยา ขนาด - วธิ ีใช ผลไมพงึ ประสงค หมายเหตุ จากยา

ยากลมุ prokinetic เพ่อื ลดอาการคลื่นไส พะอดื พะอม

Domperidone ผูใหญ : 10-20 มก. กอ นอาหาร - ในขนาดสงู อาจ - การเกดิ คอแขง็ ลิ้นแขง็ เชา -กลางวนั -เยน็ ทาํ ใหเ กิด คอแข็ง (tardive dyskinesia) เด็ก : 2.5 - 5 มก. กอนอาหาร ลน้ิ แขง็ (tardive จะขน้ึ กับขนาดยาท่ีใช เชา-กลางวนั -เย็น dyskinesia) แต และปรมิ าณสะสมของ อุบัตกิ ารณ < ยาที่ใช 1%

Metoclopramide ผูใหญ : 10-20 มก. กอ นอาหาร - งว งซมึ 10% เชา -กลางวนั -เยน็ - ในขนาดสูงอาจ เด็ก : 2.5 - 5 มก. กอนอาหาร เชา -กลางวนั -เยน็ ทําใหเกิด คอแข็ง ล้ินแขง็ (tardive dyskinesia)

ยากลุม antiflatulence เพอ่ื ลดอาการทองอดื ทองเฟอ

Simethicone ผใู หญ : 40-80 มก. เมือ่ มอี าการทอ งอดื - ยานีไ้ มถ กู ดูดซมึ - หากเปน ยาเมด็ ให ทอ งเฟอ เขากระแสเลือด แนะนาํ ผปู วยเคีย้ วให เดก็ : 20-40 มก. เมอื่ มอี าการ จึงไมคอ ยพบผล ละเอยี ดกอ นกลืน เพอื่ ไมพ งึ ประสงค เพม่ิ พน้ื ท่ีผิวของยาที่จะ ไปจับแกส

การบรบิ าลเภสชั กรรมสาํ หรบั อาการทองเสียในรา นยา

ตามคําจัดความขององคการอนามยั โลก ทองเสีย คือ การถายเหลวหรือถายเปน น้ําตง้ั แต 3 ครง้ั ข้นึ ไปใน 24 ชวั่ โมง หรอื ถา ยเหลว-ถา ยเปน นํ้าบอ ยครัง้ กวา ปกติ สําหรับผูท่ปี กติถา ยอจุ จาระวนั ละหลายครั้ง (WHO, 2013) ทองเสียท่ีเกิดขึ้นทันทีทันใดแลวในเวลาไมนานก็กลับเขาสูภาวะปกติ เรียกวา ทอ งเสียเฉยี บพลัน (acute diarrhoea) แตห ากผูปว ยรายใดมอี าการทอ งเสียคงอยูน านกวา 2 สปั ดาห จะเรยี กวาทอ งเสยี เร้ือรงั (chronic or persistent diarrhoea) อาการทอ งเสยี อาจเกิดขึ้น เปน อาการเดีย่ ว ๆ หรือเกดิ รว มกบั อาการอน่ื ดวยกไ็ ด เชน ปวดทอ ง คล่นื ไส อาเจยี น มีไข อาการ ทองเสยี จะทาํ ใหร า งกายเสยี นาํ้ และเกลือแร (dehydration & electrolyte imbalance) ซง่ึ หาก ผูปว ยเปนเด็ก การเสยี นา้ํ และเสียเกลือแรมาก ๆ อาจเปน ตนเหตุของการเสียชวี ติ ได

ตน เหตขุ องทองเสยี มีไดม ากมาย โดยอาจมีตนเหตุจากระบบประสาทอตั โนมตั พิ าราซมิ พาเธตกิ บริเวณลาํ ไสทํางานมากเกินไปเนื่องจากมีส่ิงกระตุนหรือเกิดจากอารมณท่ีผันแปรไป หรือมีตนเหตุ จากความผิดปกติของทางเดนิ อาหารทั้งสวนลําไสและสว นอืน่ นอกเหนอื จากลาํ ไส หรือมตี น เหตจุ าก

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรับอาการปวดทอง ทองเสีย ทองผูกในรา นยา 81

การไดรับยา-สารเคมีบางชนิด หรือมีตนเหตุจากการติดเชื้อก็ได ดังน้ัน จึงอาจแบงประเภทของ ทอ งเสยี ไดเ ปน ทอ งเสยี จากการตดิ เชอ้ื และทอ งเสยี ทไ่ี มใ ชจ ากการตดิ เชอ้ื หรอื ถา แบง ตามระยะเวลา ของการมอี าการจะแบง เปน ทอ งเสยี เฉยี บพลนั และทอ งเสยี เรอื้ รงั สว นคําวา ทอ งเสยี จากอาหารเปน พษิ หมายความถงึ ทอ งเสยี ทเี่ กดิ เนอ่ื งจากการรบั ประทานอาหารทเ่ี ปน พษิ เชน เหด็ พษิ หรอื อาจเกดิ เพราะ รับประทานอาหารทม่ี ีส่ิงปนเปอนทกี่ อใหเกิดอาการทอ งเสีย โดยสง่ิ ปนเปอ นอาจจะเปน ตวั เชอ้ื หรือ toxin ของเช้ือ หรอื สารเคมบี างชนิดท่ีปนเปอนอยู

เภสัชกรมีโอกาสพบผูปวยทองเสียบอยมากทั้งผูปวยเด็กและผูใหญ โดยเฉพาะอยางย่ิงใน ฤดรู อ นทอี่ ณุ หภมู ขิ องอากาศเหมาะแกก ารแบง ตวั ของเชอ้ื ตน เหตทุ อ งเสยี และมกี ารแพรพ นั ธขุ องแมลง ทเี่ ปน พาหะ แมว า ผูปวยทอ งเสยี จาํ นวนหน่ึงจะไมรนุ แรงและหายเองได (self-limited) แตก็มีความ จําเปนที่เภสัชกรตองรูจักวิธีการแยกผูปวยที่ทองเสียรุนแรงท่ีตองการการบริบาลอยางจาํ เพาะและ ทอ งเสยี แบบไมร นุ แรง และตอ งสามารถประเมนิ ภาวะขาดนํา้ ในผปู ว ย (dehydration) ได โดยเฉพาะ อยางย่ิงกรณีทอ งเสยี ในเดก็

ผปู ว ยท่ีมาดว ยอาการทองเสยี อาจเปน อะไรไดบ าง

ผปู ว ยทม่ี ารับบริการท่รี านยาดวยเร่ืองทองเสยี อาจเปน ผูป วยทีท่ องเสยี จากการติดเช้ือ หรอื ทองเสียที่ไมใชจากการติดเช้ือ โดยสวนใหญของผูปวยที่มาที่รานยามักเปนผูปวยทองเสียเฉียบพลัน แตก็มีผูปวยทองเสียเร้ือรังมารับบริการและมาปรึกษาเภสัชกรท่ีรานยาดวย เภสัชกรจึงตองเขาใจถึง ตน เหตขุ องอาการทอ งเสยี ประเภทตา ง ๆ อาการแสดงของทอ งเสยี ประเภทตา ง ๆ แลว ใหก ารบรบิ าล อยา งเหมาะสม บอ ยครง้ั ทผ่ี ปู ว ยมาทร่ี า นยาแลว ระบวุ า ขอซอ้ื ยาหา มถา ย-ยาหยดุ ถา ย หรอื ระบชุ อื่ ยา ท่ีตองการเลย เภสชั กรจะตอ งใชดุลยพนิ จิ ใหด ใี นการพจิ ารณาวาสมควรจายใหหรอื ไม

ทอ งเสยี จากการตดิ เชอื้ (Infectious diarrhoea) เชอื้ ทเ่ี ปน สาเหตขุ องทอ งเสยี มที งั้ เชอ้ื ไวรสั เชอ้ื แบคทเี รยี เช้อื รา และปรสติ (parasite) ตารางท่ี 31 เปรยี บเทียบอาการและอาการแสดงแสดง ของทองเสยี จากเช้ือตา ง ๆ

ทอ งเสยี ที่ไมใชจ ากการตดิ เชื้อ (non-infectious diarrhoea) ตน เหตอุ าจเกดิ จากการไดร ับ ยาบางชนิด ทพ่ี บบอย ๆ ไดแ ก การใชยาระบายเกนิ ความจําเปน การไดร บั ยา colchicine ทอ งเสยี จากการใชสมุนไพรบางชนิด ทองเสียจากการด่ืมนมในผูที่ไมมีเอนไซม lactase ทองเสียที่เกิดจาก ความผดิ ปกติหรอื โรคของระบบเมแทบอลิซมึ ทองเสียจากอารมณท ีแ่ ปรปรวนไปจากปกติ

ทอ งเสยี เฉยี บพลนั (acute diarrhoea) ทอ งเสยี เฉยี บพลนั ในผใู หญม กั จะสมั พนั ธก บั อาหาร การกินที่ไมคอยสะอาด คือ มีเช้ือหรือ toxin ของเช้ือปนเปอนมากับอาหารและน้าํ ดื่ม ทองเสีย เฉยี บพลนั ในเดก็ มกั จะสมั พนั ธก บั การไมไ ดร บั ภมู คิ มุ กนั จากนมแมแ ละสมั พนั ธก บั การขาดสขุ อนามยั ทองเสยี เฉียบพลันในเด็กทอ่ี ายตุ ํ่ากวา 5 ป มีสาเหตจุ ากการติดเชื้อ rotavirus มากถงึ รอยละ 70-90 ซ่งึ สวนใหญอ าการมักจะไมร นุ แรง แตกม็ ีถงึ ประมาณรอยละ 10 ที่เด็กจะเสียนา้ํ และเกลอื แรรุนแรง

82 คมู ือเภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปวยเลก็ นอ ยในรา นยา จนตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล และเด็กอาจเส่ียงตอการเสียชีวิตจากการขาดน้าํ ทองเสีย เฉียบพลันอาจเกิดเน่ืองจากลําไสบีบตัวมากเกินไปโดยไมมีการอักเสบของทางเดินอาหาร หรืออาจ เพราะมพี ยาธกิ าํ เนดิ จากเยอื่ บลุ าํ ไสถ กู ทําลายและเกดิ การอกั เสบกไ็ ด กรณที ไ่ี มม กี ารอกั เสบของลาํ ไส ผปู วยจะถา ยเหลวโดยไมม มี กู ไมม ีเลอื ดปน (noninflammatory watery diarrhea) แตห ากกรณีมี การอักเสบของลําไสเล็ก และ/หรือ มีการอักเสบของลําไสใหญด วย จะมีการทาํ ลายเยอื่ บุ mucosa แลวมีเม็ดเลือดขาวมาออกันเปนจาํ นวนมาก ซึ่งจะทําใหพบมีมูก-เลือดปนออกมากับอุจจาระ และผปู วยมักจะมีไข มีปวดเกร็งทอ ง รวมท้ังอาจมอี าการอาเจียนรว มดวย

ทอ งเสยี เรอ้ื รงั (chronic or persistent diarrhea) ทอ งเสยี เรอื้ รงั อาจเกดิ เพราะมพี ยาธสิ ภาพ ทล่ี าํ ไสห รอื นอกลําไสก ไ็ ด เชน อาจมพี ยาธสิ ภาพทถี่ งุ น้ําดี ทอ นํ้าดี ตบั ออ น ฯลฯ โดยตน เหตขุ องทอ งเสยี เร้ือรังอาจเกิดเพราะการติดเชื้อ (infectious diarrhea) หรือไมใชการติดเช้ือ (noninfectious diarrhea) ตวั อยา งของทอ งเสยี เรอ้ื รงั จากการตดิ เชอื้ เชน ทอ งเสยี จากบดิ มตี วั (เกดิ จาก Entamoeba histolytica) ทอ งเสียจากปรสิต Giardia lamblia เปนตน สว นทอ งเสยี เรื้อรงั ท่ไี มใ ชการตดิ เช้อื น้นั มีตน เหตไุ ดม ากมาย เชน การอกั เสบของลาํ ไส (inflammatory bowel disease) ลําไสข าดเลอื ด (ischemic bowel disease) การใชย าระบายเปน ประจํา เปน ฝท ลี่ ําไสใ หญส ว นปลาย (rectosigmoid abscess) การดดู ซึมไขมนั และกรดนํ้าดีผดิ ปกติ (fat and bile acid malabsorption diarrhea) เปน ตน การเกดิ อาการทอ งเสยี เรอ้ื รงั มกั จะมคี วามสมั พนั ธก บั ภาวะภมู คิ มุ กนั บกพรอ ง ในเดก็ เลก็ กจ็ ะ สัมพนั ธก บั การไมไดดม่ื นมแม การขาดสารอาหาร (malnutrition) การขาดแรส งั กะสี ทองเสยี เรอ้ื รัง เปนภาวะที่ตองการการวินิจฉัยถึงสาเหตุของโรคที่แนนอนเพ่ือการรักษาที่เหมาะสม ดังน้ันหาก เภสชั กรพบผปู วยทองเสียเรอ้ื รัง ใหสง ตอผปู ว ยเพ่ือพบแพทย

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการปวดทอง ทองเสีย ทอ งผูกในรา นยา 83

ตารางที่ 31 เปรียบเทียบอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่กอใหเกิดอาการทองเสียจาก สาเหตุของเช้ือตน เหตุตาง ๆ

เชอ้ื ตนเหต/ุ ปวดทอง คลื่นไส ไข ตรวจอจุ จาระ อจุ จาระมี อาการแสดง อาเจียน พบการอกั เสบ เลอื ดปน ของลําไส* - Rotavirus ++ - +

  • Shigella +
  • Salmonella + +/- - Campylobacter + ++

Yersinia + + + - Vibrio +/- +/- +/- +/- - +/- Staphylococcus - -

Shiga toxin-producing ++ + - - Escherichia

Clostridium + - + ++

Cryptosporidium +/- +/- + +

Giardia ++ + - -

Entamoeba + +/- + +/- * ตรวจอจุ จาระพบการอกั เสบของลําไส มกั ดจู ากการพบเม็ดเลอื ดขาวในอจุ จาระ ++ หมายถึง พบบอ ย + หมายถึง พบ +/- หมายถงึ อาจพบหรือไมพ บ - หมายถึง ไมพบ

หลุมพรางท่คี วรระวงั

ผูปวยที่ทองเสียเฉียบพลันรวมกับมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท เชน คอแข็ง ล้ินแข็ง พูดลาํ บาก หนังตาตก กลามเนื้อออนแรง โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีท่ีผูปวยมีประวัติรับประทาน อาหารกระปอ งกอนจะมีอาการ 12-24 ชวั่ โมง ใหส งสัยวาเปนอาการแสดงของการไดรบั พษิ จาก เชอื้ Clostridium botulinum ซึง่ กรณีเชนนตี้ อ งสงโรงพยาบาลโดยดว น

ผปู ว ยทอ งเสยี ทเ่ี สยี น้าํ มาก เสยี แรธ าตมุ ากและเสยี สมดลุ ของแรธ าตใุ นรา งกายอาจเกดิ ภาวะ แทรกซอ นทร่ี นุ แรง และเปนเหตุใหเ สียชวี ติ ได จึงตอ งระวังและควรจะทําการประเมินภาวะการขาดน้าํ ในผูปว ยทอ งเสยี โดยเฉพาะเดก็ เลก็ ผสู งู อายุ และผปู วยทมี่ โี รคประจําตัว

84 คูมอื เภสัชกรชมุ ชนในการดูแลอาการเจบ็ ปวยเลก็ นอยในรานยา

ตารางที่ 32 การประเมนิ ภาวะการขาดน้าํ ในผปู ว ยทอ งเสีย

อาการและอาการแสดงของผปู วยในภาวะตา ง ๆ ตัวช้ีวดั การประเมิน ไมข าดนํ้า/ขาดนํ้านอ ยมาก ขาดนา้ํ ขน้ั ออ นถงึ ปานกลาง ขาดนํา้ ขน้ั รนุ แรง (นน.ลด < 3% (นน.ลด 3%-9% (นน.ลด > 9% ของนน.ตวั ) ของนน.ตัว) ของนน.ตวั )

การหายใจ หายใจปกติ หายใจปกติ หรอื หายใจเรว็ หายใจลกึ

เวลาในการคนื กลบั กลบั คืนภายใน 1-2 วินาที ใชเวลานานกวา 2 วินาที ใชเวลานานกวา 2 วินาที ของสีผวิ หนงั หลงั ใช หรอื นานกวา 2 วินาทีไป แรงกดเสน เลือดฝอย มาก (capillary refill time)*

อุณหภูมปิ ลายมอื อนุ เทา อณุ หภูมิรา งกาย ปลายมือ ปลายเทา เย็น ปลายมอื ปลายเทา ซดี -เยน็ ปลายเทา

นยั นตา ปกติ นยั นตาโบเล็กนอย นยั นตาโบ

อตั ราการเตน หัวใจ ปกติ ปกติถึงเร็ว เรว็

สภาวะทางจิตใจ และ ปกติ ตื่นตวั ดี ปกติ หรอื รูส กึ เพลยี ลา ออนแรงมาก ไมส นใจ การต่ืนตัว ไมม ีแรง หรือหงุดหงิด ส่งิ อ่นื ๆ

ปากและลิน้ ชนื้ แหง แหง ผาก

ชีพจร ปกติ ปกติ หรอื เบาลง เบามากจนคลาํ ยาก

การคนื กลบั ของผวิ หนงั กลบั คืนปกตภิ ายในทันที กลับคนื ปกติภายใน 2 วินาที ใชเวลานานกวา 2 วินาที หลังการจบั ตั้งข้นึ ในการกลบั คืนปกติ (skin turgor)

นํา้ ตา มนี าํ้ ตาปกติ นํ้าตานอยลง ไมม ีนาํ้ ตา

การกระหายนาํ้ ด่ืมน้ําปกติ กระหายน้าํ ไมไดดื่มนํ้ามา หรือดื่มนา้ํ การดื่มนา้ํ มาไมเพียงพอ

ปรมิ าณปส สาวะ ปกติ ลดลง ปส สาวะนอยมาก

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรับอาการปวดทอ ง ทอ งเสีย ทอ งผกู ในรา นยา 85

การบรบิ าลโดยใชย าสําหรับอาการทองเสยี

ตารางที่ 33 ยาทใ่ี ชส ําหรับการรักษาผูป วยทองเสยี ของยากลุมท่ีไมใ ชยาตานจุลชีพ

กลุมยาและ ขอบง ใช ขนาด - วธิ ใี ช ผลไมพ งึ ประสงค ตัวยาในกลมุ

ยาทใ่ี ชป อ งกัน-รกั ษาการขาดนา้ํ

เกลอื แรล ะลายนํ้าดมื่ ชดเชยเกลือแรและนาํ้ ละลายนาํ้ ใหไ ดค วามเขม ขน ของ - อาจทําใหผูทีเ่ ปน โรคความ (ORS) ทเ่ี สียไป โซเดียมประมาณ 75 mEq/L ดนั โลหิตสูงมีความดันทเ่ี พ่ิม

แลว ใหด มื่ 120-240 มล.ตอ ครง้ั ขนึ้ ได ท่ีถายเหลวหรืออาเจียน - ผทู ี่ไดร บั มากเกนิ ไป อาจ

เกิดการบวมนํา้ ได

ยาหยุดถา ย

Diphenoxylate หยดุ การถายเหลว ในทองตลาดจะเปนสูตรผสม - หากใชในกรณีทองเสียทม่ี ี Loperamide ลดจาํ นวนครงั้ ของการ diphenoxylate 2.5 มก. และ การติดเชือ้ จะทาํ ใหม ีการ ถายเฉยี บพลนั atropine sulphate 0.025 กักเช้ือและพิษของเช้อื ไว มก. ใหก นิ 1 เมด็ ทกุ 4-6 ชว่ั โมง ทาํ ใหผปู ว ยมอี าการแยลง - ยา diphenoxylate อาจมี ผูใหญ 2 มก.ทุก 4-6 ช่วั โมง ฤทธทิ์ ําใหเ สพติดได เด็ก ไมค วรใชยานี้ - ในทางกฎหมาย กําหนดให diphenoxylate เปน ยา เสพตดิ ใหโทษประเภทที่ 3

ยาแกอาเจียน ผูใหญ 10-20 มก. - ยาในขนาดสงู อาจกอ ใหเ กิด Metoclopramide ระงับอาการอาเจยี น กอ นอาหาร วนั ละ 3 ครง้ั ลิ้นแขง็ คอแข็ง (acute เด็ก 2.5-5 มก. dystonic reaction) ได Domperidone กอ นอาหาร วันละ 3 คร้ัง ผูใหญ 10 มก. - งว งซมึ มึนงง ประมาณ 5% กอนอาหาร วนั ละ 3 คร้งั - ปวดศรี ษะ 1% เด็ก 2.5-5 มก. กอนอาหาร วันละ 3 ครัง้

86 คมู อื เภสชั กรชมุ ชนในการดูแลอาการเจ็บปว ยเล็กนอยในรานยา

กลมุ ยาและ ขอ บงใช ขนาด - วธิ ีใช ผลไมพ งึ ประสงค ตวั ยาในกลุม

ยาลดการหลงั่ สารน้าํ ในลําไส

Racecadotril เสริมการรักษาไป ผูใหญ 100 มก. ทุก 8 ชว่ั โมง - อาจพบงวงซึม มึนงง ปวด พรอมกบั การให เด็ก 10-15 มก/กก. ทุก 8 ศรี ษะ สารละลายเกลอื แรใ น ชวั่ โมง เด็กทที่ อ งเสยี เฉียบพลนั รวมทัง้ ทองเสยี จาก rotavirus

ยาทมี่ ีฤทธ์ดิ ดู ซบั (absorbent)

Charcoal ดดู ซับ toxin และสง่ิ ท่ี ผใู หญ 500-1000 มก. ทกุ 4-8 - หากใหพ รอมยาอน่ื ๆ ยาอน่ื กอใหล าํ ไสบ บี ตัวมาก ชัว่ โมง เวลาถา ยเหลว อาจถูกดูดซบั ไว ทาํ ใหเขา เด็ก ลดขนาดลงตามสวน กระแสเลือดนอยลง - ถายอุจจาระดาํ

Kaolin pectin ผูใหญ 60-120 มล. ทุก 4-8 - หากใหพ รอ มยาอื่น ๆ ยาอ่ืน ช่ัวโมง เวลาถา ยเหลว อาจถูกดดู ซับไว ทาํ ใหเ ขา เด็ก 30-60 มล. ทกุ 4-8 ชว่ั โมง กระแสเลอื ดนอ ยลง เวลาถายเหลว

Dioctahedral ผใู หญ 3 ซอง/วัน โดย 1 ซอง smectite ละลายนํ้าหรือนา้ํ ผลไม 1 แกว แลวด่ืม ทุก 4-8 ชั่วโมง เวลา ถายเหลว เดก็ 1-2 ซอง/วัน แบงใหวนั ละ 3-4 ครั้ง โดยแบงผงยาแลวชง เม่อื จะดม่ื (ยาท่วี างจําหนายจะมตี วั ยา 3 ก./ซอง)

ธาตุสงั กะสี

Zn acetate ชดเชยธาตุสังกะสแี ก เดก็ 6 เดือนถงึ 5 ป ใหรบั - ถาใหม ากเกนิ ไป อาจจะ Zn gluconate เด็กทองเสีย โดย ประทาน 20 มก. วนั ละคร้งั สะสมได Zn sulphate สามารถใหร วมกบั 10-14 วนั เกลอื แรล ะลายนาํ้ ดื่ม

การบริบาลเภสชั กรรมสำหรบั อาการปวดทอง ทองเสยี ทองผูกในรานยา 87

ตารางท่ี 34 ยาทใ่ี ชสําหรบั การรกั ษาผูปว ยทองเสียของยากลมุ ตานจลุ ชีพ

การติดเชอื้ ยาท่ีใชแ ละแบบแผน ผลไมพ งึ ประสงค ขอพงึ ระวงั ใหยา

กรณที องเสยี จากการตดิ เช้ือแบคทเี รยี

Salmonella Cotrimoxazole Cotrimoxazole ในรายทตี่ ิดเชื้อ typhi & ผูใหญ 160/800 มก. - ผทู แี่ พยากลมุ sulphonamide จะแพย า S. Typhi & S Salmonella เชา -เย็น 5-7 วัน น้ี ซ่ึงอาจรุนแรงถงึ ขน้ั เปน Steven paratyphi รุนแรง paratyphi เด็ก 2/10 มก/กก. เชา - Johnson syndromes อาจเกดิ เย็น 5-7 วนั Ciproflox- - ยาอาจตกตะกอนในไต ใหแ นะนาํ ผปู ว ย Disseminated acin ดมื่ นา้ํ มาก ๆ Intravascular ผใู หญ 500 มก. เชา -เยน็ Fluoroquinolone Coagulopathy 5-7 วัน - คณะกรรมการอาหารและยาของ Shock คอื ภาวะที่ เดก็ 10 มก/กก. เชา -เยน็ สหรฐั อเมรกิ า แนะนําใหห ลีกเลยี่ งการใช เลือดแข็งตัว 5-7 วนั Azithromycin ยากลมุ fluoroquinolone ในเด็กดว ย กระจายไปท่วั ผใู หญ 250 มก. เชา -เยน็ เกรงจะมีผล arthropathy แตน่นั เปน รางกาย มีเลือดออก 3 วนั เพยี งผลจากการศึกษาในสัตว ทดลอง ในลําไสหรอื ลาํ ไส เดก็ 5 มก/กก. เชา-เยน็ - พบคลื่นไส อาเจยี นจากยา ciprofloxa- ทะลุได ดังนั้น หาก 3 วัน cin ได 3-5%- พบคล่ืนไส อาเจียนจาก เภสชั กรพิจารณา ยา norfloxacin ได 3-5% แลวเหน็ วาผปู วยมี - พบคลืน่ ไส อาเจยี นจากยา ofloxacin ได อาการรุนแรงใหสง 3-10% ตอผปู วยพบแพทย Azithromycin - ผ่ืนแพ 2-10% - ทองเสยี 4-9% - คล่นื ไส อาเจยี น 10-15% - ผปู ว ยทองเสยี จาก Non typhi spp of Salmonella ในรายทีเ่ ปนรนุ แรงแลว ไม ไดร บั การรักษาอาจลกุ ลามจากลาํ ไส อกั เสบ (gastroenteritis) ไปเปน ติดเชอื้ ในกระแสเลอื ด (bacteraemia) ได - ผูปวยติดเช้อื Shigella spp แมจะไมม ี อาการแลว ก็ยงั อาจมีเช้อื หลงเหลืออยทู ่ี จะทําให แพรกระจายไปติดผอู ่ืนไดอีก นานถงึ 4 สัปดาห

88 คูม ือเภสัชกรชุมชนในการดูแลอาการเจ็บปวยเล็กนอ ยในรานยา

การติดเชื้อ ยาท่ใี ชและแบบแผน ผลไมพงึ ประสงค ขอพงึ ระวัง ใหยา มกั เกิดพรอ ม ๆ กนั ในผทู ีร่ บั ประทาน Non-typhi ถาอาการไมรุนแรงจะ อาหารทีม่ ี toxin species of หายเอง ไมต อ งใหย า ปนเปอน จึงควร Salmonella ตานจลุ ชีพ ใหรักษา สอบถามถึงผูอ่นื ท่ี ตามอาการ แตก รณี รับประทานดว ยกัน อาการรนุ แรงอาจ วา มีอาการหรอื ไม พิจารณาให Cotrimox- ดว ย azole ผใู หญ 160/800 มก. เชา-เยน็ 3 วนั เดก็ 2/10 มก/กก. เชา-เยน็ 3 วนั Norfloxacin ผูใหญ 400 มก. เชา-เย็น 3 วนั เดก็ 10 มก/กก. เชา-เย็น 3 วนั

Shigella spp Ciprofloxacin ผใู หญ 500 มก.เชา-เยน็ 3-5 วนั เด็ก 10 มก/กก.เชา- เย็น 3-5วัน Ofloxacin ผูใหญ 300 มก. เชา-เย็น 3-5 วนั เด็ก 5 มก/กก.เชา -เยน็ 3-5 วนั Azithromycin ผูใ หญ 250 มก.เชา -เย็น 3 วัน เดก็ 5 มก/กก. เชา-เยน็ 3 วัน

Staphylococ- ไมต องใชย าตานจลุ ชพี cus เนื่องจากเปน toxin aureus’s ของเชอ้ื toxin การรกั ษาคือรักษาตาม

อาการ

การบรบิ าลเภสชั กรรมสำหรบั อาการปวดทอง ทองเสีย ทองผกู ในรานยา 89

การตดิ เช้ือ ยาที่ใชแ ละแบบแผน ผลไมพึงประสงค ขอ พึงระวงั Vibrio ใหย า กรณอี าการไม parahaemo- รุนแรง แมจะไมตอ ง lyticus ถา อาการไมรนุ แรงจะ Norfloxacin ใชยาตานจุลชีพ แต หายเอง ไมต องใหยา - พบคลนื่ ไส อาเจียนจากยาได 3-5% ยงั ตองระวังเร่อื ง Vibrio ตา นจุลชีพใหรกั ษาตาม การขาดน้ําและ cholerae อาการ กรณอี าการ เกลอื แรอยู รุนแรงอาจพิจารณาให Clostridium Norfloxacin ผูป วยทีเ่ ปนรุนแรง difficile ผูใหญ 400 มก. จะเสียน้ํามาก และ Clostridium เชา -เยน็ 3 วนั อาจเสียชวี ติ จาก botulinum เดก็ 10 มก/กก. การขาดนาํ้ และแร เชา-เยน็ 3 วนั ธาตุโดยเร็ว หาก เภสัชกรพบผปู ว ย Doxycycline Doxycycline ตองสงสยั ใหทาํ การ 100 มก. เชา -เยน็ - คลนื่ ไส อาเจยี น สง ตอ ผูปวยไปโรง 5-7 วัน - อาจพบเร่ืองผิวไวตอแสงแดด (photo- พยาบาล Norfloxacin ผใู หญ 400 มก. sensitive) หากเภสชั กรพบ เชา-เย็น 5-7 วนั - หากใชใ นเด็กตา่ํ กวา 8 ป จะมผี ลทาํ ให ผูตอ งสงสัยตดิ เช้ือ เด็ก 10 มก/กก. Clostridium เชา -เย็น 5-7 วนั กระดกู และฟน เปนสีคลํา้ difficile/ Clostrid- Ciprofloxacin Fluoroquinolone ium botulinum ผใู หญ 250-500 - พบคล่ืนไส อาเจียนจากยา ciprofloxa- ใหร บี สง ตอ ผูปวยไป มก.เชา -เยน็ 5-7 วัน โรงพยาบาล เด็ก 10 มก/กก. cin และ norfloxacin ได 3-5% เชา -เยน็ 5-7 วัน

Vancomycin แตจะไม กลา วถงึ แบบแผนการให เนอื่ งจากเปน กรณที ต่ี อ ง รับตัวผูปวยเขารับการ รักษาในโรงพยาบาล

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้