ค ม อ extension สำหร บงานก อสร าง

  • 1. Extension เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสรางโมเดลสามมิติและถอดปริมาณวัสดุ (Quantity Takeoff)
  • 2. ม.อ.ก. PART-01
  • 3. FACE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับ Face EXTEND TO STRUCTURE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับชิ้นสวนอื่น GROW TO FACE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับ Face ที่ตองการ COMBINE EACH คําสั่งสําหรับการรวม Group/Component เขาดวยกัน TABLE EDITOR สราง/ปรับแก ตารางมาตรฐานเหล็กหรือโครงสรางตางๆ QUERY ATTRIBUTE แสดงคา Attribute ของ Group/Component ที่สรางขึ้น BST SOLID FROM FOOT PRINT ใชสราง Group จาก Footprint PROFILE SCHEMA EDIT สําหรับตรวจสอบการใสคาตัวแปรตางๆ 1) คลิ๊กที่ SHOW_TOOLS แสดงชื่อหมวดของ Structure ตางๆ Structure ที่อยูในหมวดตางๆ คําสั่งสําหรับจัดการขอมูลทั้งหมด 2) คลิ๊กที่ Load เพื่อเปด Database ที่ตองการ 3) คลิ๊กที่ Sample_pflist_japan เพื่อโหลด Structure ตามมาตรฐานของญี่ปุนหรือ JIS 4) คลิ๊ก Open
  • 4. Add Row เพื่อสราง Database ใหม ตรงตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 6) คลิ๊ก DELETE ROWS เพื่อลบ Database ทั้งหมด 8) คลิ๊กตําแหนงนี้เพื่อเลือกหนาตัดของ Structure 9) เลือกหนาตัดของเหล็กกลอง 10) พิมพ " SHS-100x100x3.2-9.52 kg/m เพื่อสรางเหล็กกลองขนาดหนาตัด 100x100 มม. หนา 3.2 มม. โดยมีน้ําหนักเฉลี่ยเทากับ 9.52 กก./ม. 11) จากนั้นคลิ๊ก Add Row เพิ่มเติม จากนั้น เพิ่มหนาตัดเหล็กกลองเพิ่มอีก 1 ตัว โดยพิมพ "SHS-50x50x3.2-4.5 kg/m"
  • 5. (TSV) AS เพื่อ Save Database เก็บไวใชในภายหลัง 13) พิมพ "มาตรฐาน TIS" เพื่อสรางไฟล Database ของวัสดุตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 14) คลิ๊ก Save จากนั้นปดหนาตาง ทั้งหมด 15) คลิ๊ก SHOW_TOOLS 16) คลิ๊ก OK 17) คลิ๊ก Property 17) เลือกหนาตัดเหล็กกลอง 18) เลือกเหล็กกลองขนาด 100x100x3.2-9.52 kg/m 19) คลิ๊กที่บริเวณนอกกรอบ 1 ครั้งเพื่อปดหนาตาง
  • 6. By Clicks เพื่อเริ่มตน การสราง Structure ของเหล็กกลอง 21) คลิ๊กเสนเสนในแนวดิ่งดังภาพเพื่อสรางโครงสราง ของเหล็กกลอง 22) คลิ๊กขวา เพื่อเปด Entity Info 23) สังเกตชื่อของเหล็กกลองถูกสรางขึ้นมา ทําการ Copy ชื่อของ Component ไวโดยการเลือก ชื่อทั้งหมดแลวกด Ctrl+C 24) คลิ๊กขวาที่ Component 25) คลิ๊กที่ Explode เพื่อทําการระเบิด Component 26) เลือกชิ้นสวนดานบนสุดแลว กด Delete หรือลบทิ้ง 27 ถาทําถูกตองเราจะไดหนาตัดเหล็กดังภาพ
  • 7. ของเหล็กอื่นๆ เพิ่มเติมดังภาพ เชน เหล็กฉาก เหล็กตัวเอช เหล็กรางน้ํา และเหล็กรูปตัวซี เปนตน WORK SHOP 01 ทดลองการใช T2HBuilding Structure Tool สรางเหล็กรูปพรรณขนาดตางๆ กัน
  • 8. Database เก็บไวใชงานดวย Extension ที่ชื่อวา Profile Builder 2
  • 9. ใชสําหรับการปรับแก Profile Member Trim to Face ใชสําหรับตัด Profile Member เขา กับ Face ที่เราเลือกไว Trim to Solid ใชสําหรับตัด Profile Member เขา กับ Solid Group/Component ที่เราเลือกไว Extend Tool ใชสําหรับการยืดและหด Profile Member Smart-Patch Select ใชสราง Profile Member จากเสนที่เราเลือก สวนที่ใชในการหาปริมาณและราคา สวนที่ใชในการปรับแก/เปลี่ยนแปลง Profile Member สวนที่ใชในการสราง Profile Member Assembler Dialog ใชสําหรับสรางชิ้นสวนงานที่ซับซอน แบบ Auto คลาย Dynamic Component Profile Builder Dialog ใชสําหรับสราง Profile 1) สรางวงกลมเสนผาศูนยกลาง 60.5 มม. 2) Offset ใหมีความหนา 3.2 มม. เพื่อสราง Profile ของทอเหล็กกลมขนาด 2" หนา 3.2 มม.ดังภาพ 3) ลบ Face ตรงกลางออก เมื่อแลวเสร็จก็ได Profile ของทอเหล็ก กลมขนาด 2" ที่มีความหนา 3.2 มม. ดังภาพ
  • 10. Builder Dialog 5) เลือก Profile ทั้งหมด 6) คลิ๊กเครื่องหมายบวกเพื่อ สราง Profile ของทอเหล็กกลม 7) ตั้งชื่อวา CarbonSteelPipe50x32mm 8) คลิ๊ก Save 9) คลิ๊กสราง Folder ใหมเพื่อเก็บ Profile ที่เราสรางขึ้นมา 10) เลือก Save ใน Folder ที่เราสรางขึ้นมา 11) คลิ๊ก Save 12) สราง Profile ทอเหล็กกลมขนาด 34 มม. หนา 3.2 มม. อีกตัวขึ้นมา จากนั้นทําแบบเดิมซ้ําอีกครั้งโดยตั้งชื่อ Profile วา CarbonSteelPipe25x3.2mm 13) เมื่อทําเสร็จแลวเราจะได Profile เปน Database เก็บไวใชประโยชน ในอนาคต
  • 11. Profile ของเหล็กรูปพรรณตางๆ ตามมาตรฐาน ม.อ.ก.
  • 12. 2 PART-03
  • 13. ของ เหล็ก รูปตัวเอชขนาด 300x300x10x15x13 2)คลิ๊ก Build เพื่อสราง Profile member 3) คลิ๊กจุดแรก 4) ลากเสนขึ้นแนวดิ่งจากนั้นคลิ๊กอีก 1 ครั้ง เพื่อสราง Profile Member 5) ถาทําถูกตองจะได Profile Member ดังภาพ 6) สรางเสนรูปตัว L กลับดานดังภาพ 7) คลิ๊กสองครั้งเพื่อเลือกเสนทั้งหมด 8) คลิ๊ก Build along patch เพื่อสราง Profile member 3.1 การสราง Profile Member
  • 14. Member ของเหล็กH-250x125x6x9x8 อีก 1 ตัวดังภาพ สังเกตภาพและชื่อของ Profile 10) คลิ๊กที่ Get Attribute เพื่อทําการเปลี่ยน Profile ใหเกลับไปเปน H-300x300x10x15x13 อีกครั้ง 11) จากนั้นไปคลิ๊กที่ Profile member ของเหล็ก H-300x300x10x15x13 12) ถาทําถูกตอง ภาพและชื่อของ Profile จะเปลี่ยนไปเปน H-300x300x10x15x13 ตรงตามตัวที่เราคลิ๊ก 13) คลิ๊ก Stamp Profile 14) คลิ๊กอีกครั้งในตําแหนงที่ตองการเพื่อทดสอบ การ Copy Profile ของ Profile Member H-300x300x10x15x13 H-300x300x10x15x13 H-300x300x10x15x13
  • 15. Member 1) คลิ๊ก Extend Tool เพื่อยืดหรือหด Profile Member 2) คลิ๊กที่ปลายของ Profile member ที่ตองการ 3) จากนั้นลากเหล็กขึ้นมาตามระยะที่ตองการหรือพิมพ ระยะที่ตองการแลวกด Enter 4) สังเกตเหล็กจะยาวขึ้นตามระยะที่ตองการ 5) คลิ๊กสองครั้งที่ Profile Member เพื่อทําการ Edit 6) คลิ๊ก Edit Patch เพื่อปรับแก 7) ลากเสนออกมาตามแกนแดงเพื่อปรับแกขนาดของ Profile Member
  • 16. Member ของเหล็กก็จะเปลี่ยนขนาดใหม ตามเสนที่เรา Edit 10) คลิ๊ก Trim to Solid 9) สราง Profile Member สองตัวดังภาพ โดยตัวดานขวาเอียงทํามุม 45 องศากับแนวราบ 11) คลิ๊กครั้งที่ 1 12) คลิ๊กครั้งที่ 2 13) เมื่อทําถูกตอง Profile Meber ตัวเอียงจะเชื่อมติด กับ Profile Member แนวตั้งดังรูปโดยปลายจะโดนเฉือนหรือ Trim ดังภาพ
  • 17. Member สองตัวมาติดกันดังภาพ 15) สราง Face เอียงทํามุม 45 องศาดังรูป จําลองแนวตัดของเหล็กเอียงทํามุม 45 องศา 16) คลิ๊ก Trim to Face 17) คลิ๊กครั้งแรกที่ Face 18) คลิ๊กครั้งที่สองที่ Profile Member ตัวนอน 19) คลิ๊กครั้งที่สามที่ Profile Member แนวตั้ง 20) ลบ Face ออกจะเห็นวาเหล็กตัด กันทํามุม 45 องศาดังรูป
  • 18. Materials และการคิดราคา (Cost Estimation) ดวย Profile Builder 2 PART-04
  • 19. Memeber ของเหล็ก H-300x300x10x15x13 2) สราง Layer ที่ชื่อวา H-300x300x10x15x18-94 kg/m 3) คลิ๊กที่ Quantifier เพื่อเปดคําสั่งในการคิดปริมาณงานและราคา 4) คลิ๊กที่ Profile Member H-300x300x10x15x18 5) อานคาความยาวของเหล็ก 6) อานคาพื้นที่ผิวของเหล็ก 7) อานคาปริมาตรของเหล็ก
  • 20. Member เพิ่มเติม ดังภาพ 10) ตรวจสอบความยาวรวมของเหล็กทั้งหมด 11) ตรวจสอบพื้นที่ผิวของเหล็กทั้งหมด 12) ตรวจสอบปริมาตรรวมของเหล็กทั้งหมด 9) ตรวจสอบจํานวนเหล็กทั้งหมด 13 คลิ๊กที่ HTML Report เพื่อตรวจสอบ ปริมาณงานทั้งหมด ชื่อ Group ของ Profile Member ชื่อของ Profile ความยาวของ Profile Member พื้นที่ผิวของ Profile Member
  • 21. เพื่อกําหนดน้ําหนักและราคาของเหล็ก 15) เลือก Layer ที่เราสรางไว 16) เลือกหนวย kg/m และกําหนดใหมีคา 94 kg/m 17) กําหนดราคาคาของและคาแรงเทากับ 32 บาท/kg 18) คลิ๊ก ok 19) กําหนดให Profile Member ทั้งหมด อยูใน Layer ที่ชื่อวา H-300x300x15x18-94 kg/m ซึ่งเปน Layer ที่กําหนดน้ําหนักและราคาไว 20) คลิ๊กที่ Profile Member 1 ชิ้น 21) ถาทําถูกตองเราจะเห็นสูตรคํานวณราคาขึ้นมา ในที่นี้คือ ราคา = ความยาวเหล็กxน้ําหนัก/เมตรxราคาตอน้ําหนัก
  • 22. kg/m3 23) สังเกตราคาจะเปลี่ยนไปตามสูตรใหม ราคา =ปริมาตรxความหนาแนนxราคาตอกิโลกรัม 24) เลือกเหล็กทั้งหมด 25) ดูราคาทั้งหมด26) คลิ๊ก Show Missing เพื่อตรวจสอบวา Profile Member ตัวใดไมมีการบันทึกขอมูล 27) Profile Member ที่มีการบันทึกขอมูล จะขึ้นกรอบสีเขียวทั้งหมด 28) ในกรณีที่ไมมีการบันทึกขอมูลผาน Layer Profile Member นั้นจะขึ้นกรอบสีแดง
  • 23. Group ของ Profile Member ทุกตัวโดย การ Paint สีเหลืองที่ผิวดังภาพ 30) เลือก In Model 31) เลือกสีเหลือง 32) เปลี่ยนชื่อของสีใหมวา "สีเหลือง" 33) คลิ๊กที่ Material เพื่อกําหนดราคางานทาสี 34) เลือก Material ที่ชื่อวา สีเหลือง 35) กําหนดราคาคาของและคาสีเทากับ 150 บาท/m2 36) คลิ๊ก Ok 37) คลิ๊กที่เหล็ก 1 ชิ้นดังภาพ 38) สังเกตราคาของเหล็กจะมีสูตรคํานวณพื้นที่เพิ่มเขาไป
  • 24.
  • 25. Materials ใชสําหรับ Copy ตัวแปรตางๆ ใชสําหรับการ Edit คาตางๆ ใชสําหรับสราง Component ของ Coolpipe ใชสําหรับการสรางหนาแปลน ใชสําหรับการสราง Cap ใชสําหรับการสรางสามทาง ใชสําหรับการสรางขอลด (Reducer) ใชสําหรับการสรางของอ (ELBOW) ใชสําหรับการสรางทอตรง 1) คลิ๊กสําหรับการปรับภาษาและตั้งคาตางๆ 2) ปรับเปนภาษา English 3) ปรับขอบของทอใหเปน 12 ขอบ 4) กดหนดใหทอมีความหนา (ไมไชทอตัน) เมื่อเสร็จแลว คลิ๊ก Save 6) ใชสําหรับสรางหัวขอมาตรฐานตางๆ เชน DIN, JIS หรือ TIS 7) ใชสําหรับสรางทอชนิดตางๆ 8) ใชสําหรับสรางทอขนาดตางๆ 9) ใชสําหรับกําหนด Layer ของทอ 10) ใชสําหรับกําหนด Materials ของทอ 5) คลิ๊กที่เครื่องมือทอเพื่อตรวจสอบคําสั่งตางๆ
  • 26. ตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 13) คลิ๊กเพิ่มชื่อ โดยพิมพ TIS หรือ มาตรฐาน ม.อ.ก. 14) คลิ๊ก Save 12) คลิ๊ก New เพื่อสรางมาตรฐานใหม 15) คลิ๊กเพื่อสรางประเภทของทอเพิ่มเติม 16) คลิ๊ก New 17) ตั้งชื่อ TIS 982-2548 18) กําหนดชื่อใหเปนทอ HDPE PIPE PE 100 PN 10 19) คลิ๊ก Save 20) เลือกมาตรฐาน TIS 21) เลือก STANDARD ที่เราสรางไว 22) คลิ๊กบวกเพื่อสรางขนาดทอที่ตองการ 23) คลิ๊ก New เพื่อสรางขนาดทอใหม 24) กําหนดคาขนาดมาตรฐาน 25) กําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางวงนอก 26) กําหนดขนาดความหนาของทอ 27) กําหนดน้ําหนักทอความยาว 1 เมตร 28) กําหนดชื่อของทอที่ตองการใหผูใชเห็น เสร็จแลวคลิ๊ก Save
  • 27. Use layers 31) กําหนด Layer ใหมที่ชื่อวา HDPE PIPE 32) เลือกทอขนาด 125 33) คลิ๊ก Draft เพื่อดําเนินการสรางทอ HDPE 34) คลิ๊กหนึ่งครั้งเพื่อกําหนดจุดเริ่มตนของทอจากนั้น ลากลูกศรขึ้นในแนวดิ่ง 1 เมตร คลิ๊กอีกครั้งเพื่อสราง ทอ HDPE ขนาด 125 OD PE 100 PN 8
  • 28. คลิ๊กที่ปลายทอดานบน 1 ครั้งเพื่อสรางของอ (ELBOW) 37) หมุนใหไดมุมเอียงใหเทากับ 90 องศาดังรูป 38) กําหนดชนิดของของอเปน 90 องศาดังรูป 39) เมื่อทําเสร็จแลวจะไดของอ 90 องศาดังรูป
  • 29. กําหนดมาตรฐานเหมือนกับทอที่ทําไว 42) คลิ๊กเพื่อสรางขอลด (Reducer) 43) กําหนดขนาดมาตรฐานทอ 1 44) กําหนดขนาดมารตฐานทอ 2 45) กําหนดขนาดวงนอกทอหมายเลข 1 46) กําหนดทอวงนอกทอหมายเลข 2 47) กําหนดความหนาทอหมายเลข 1 48) กําหนดความหนาทอหมายเลข 2 49) กําหนดความยาวของขอลด 50) ตั้งชื่อขอลดวา " ขอลดกลม 140x125 PE 100 PN 10 51) คลิ๊กขอลด 52) เลือกทอ 140 53) เลือกทอ 125 54) เลือก Option 2 55) คลิ๊ก Draft เพื่อสราง ขอลด 56) คลิ๊ก 1 ครั้งที่ปลายของอเพื่อสรางขอลด 57) ขอลดถูกสรางขึ้น ตามขอมูลที่สรางไว
  • 30. เพิ่มดังภาพ จากนั้นเลือกทั้งหมด 59) คลิ๊กเพื่อสราง Bill of Materials 60) เมื่อทําถูกตองจะเห็น Bill of Materials แสดงบัญชีวัสดุทั้งหมดที่เราเลือกไว 61) กําหนด Fitting ทั้งหมดใหอยูใน Layer ที่ชื่อวา HDPE FITTING 62) เลือกทอทั้งหมดอีกครั้ง 63) เลือกแบงหมวดงานตาม Layer 64) สังเกตวา Bill of Materials จะแบงตามหมวดงาน
  • 31. SKETCHUP PART-06
  • 32. for SketchUp 2) ใชสําหรับการแบงหมวดงานตาม Components, Layers, Materials และ Quotes ที่เรากําหนด 3) ใชสําหรับการกําหนดคาตางๆ 4) ใชสําหรับการสราง Reports เพื่อรายงานปริมาณวัสดุ และราคา 5) หนาตางสําหรับการบันทึกขอมูล 6) คลิ๊กเพื่อปรับแกคาพื้นฐาน 7) ผูใชสามารถสรางเอกสารพื้นฐาน ที่เกี่ยวกับขอมูลราคา ขอมูล Supplier และหนวยตาง ในโปรแกรม Excel แลว นํามา Link เขากับ Estimator ได 8) พื้นที่สําหรับกรอกขอมูลบริษัท 9) คลิ๊กเพื่อ Upload โลโกของบริษัท 10) คลิ๊ก Save Company Changes เพื่อบันทึกขอมูล10) คลิ๊ก Save Company Changes เพื่อบันทึกขอมูล
  • 33. ตั้งชื่อวา F1 เพื่อทําเปน Footing ขนาด 1.2x1.2x0.25 เมตร 12) ทาสีไมลงในบริเวณที่ใชเปนไมแบบดังภาพโดยเปลี่ยนชื่อ Texture ใหเปนชื่อใหมวา ไมแบบ-ฐานราก F1 13) สรางเสาตอมอขนาด 0.2x0.2x1.0 เมตร ตั้งชื่อวา C1 14) ทาสีดวย Texture ไมในบริเวณที่เปนไมแบบ โดย ตั้งชื่อ Texture วา ไมแบบ-เสาตอมอ C1 15) Copy ฐานรากและตอมอเพิ่มเติม ดังภาพ พิมพ ไมแบบ-เสาตอมอ C1
  • 34. ขนาดหนาตัด 0.2x0.4 เมตร จากนั้นทาสี Texture ตั้งชื่อวา ไมแบบ-คาน B1 ดังภาพ 17) สรางพื้น S1 ขึ้นมาขนาด 3.8x3.8x0.10 เมตรดังภาพ 18) ตั้ง Layer ใหมขึ้นมา ตั้งชื่อวา "งานคอนกรีตทั้งหมด" 20) สังเกตชื่อ Component ขึ้นวา F1 21) เลือก Cost Code ที่ชื่อวา 3400-CONCRETE 22) กําหนดรายละเอียดวา งานคอนกรีต F1 23) กําหนดชื่อ ผูรับเหมาวา บริษัท ชางไทย จํากัด 24) เลือก Attribute เปน ปริมาตรหนวย Meters3 25) กําหนดราคาเหมาคาแรง+คาของ = 2,800 บาท 26) กําหนดใหมีการสูญเสีย (Waste)=10% 27) เพิ่มกําไร 12 % 28) คลิ๊ก Save Changes เมื่อกรอกขอมูลทั้งหมดเสร็จสิ้น 19) คลิ๊กที่ฐานราก F1 หลังจากนั้นคลิ๊ก Components 3.80m 3.80m
  • 35. ทั้งหมดใหอยูใน Layer ที่ชื่อวา งานคอนกรีตทั้งหมด 30) คลิ๊กที่ F1 31) คลิ๊กที่ Layers และบันทึกขอมูล ดังแสดงไวในภาพ 32) คลิ๊กที่ Materials และ บันทึกขอมูงดังแสดงไวในภาพ
  • 36. เพื่อเริ่มบันทึกขอมูล 34) คลิ๊ก Components และบันทึกขอมูล 36) คลิ๊กคาน B1 เพื่อเริ่มตนการบันทึกขอมูล 35) คลิ๊ก Materials และบันทึกขอมูล
  • 37. และบันทึกขอมูล 38) คลิ๊ก Materials และบันทึกขอมูล 39) คลิ๊กพื้น S1 เพื่อเริ่มบันทึกขอมูล
  • 38. เพื่อบันทึกขอมูล 41) เมื่อเสร็จแลว คลิ๊ก Reports เพื่อดําเนินการ ทํารายงานปริมาณวัสดุและราคา 42) กรอกขอมูลทั้งหมดของโครงการจากนั้น คลิ๊กที่ Save Job Changes 43) คลิ๊ก HTML Report เพื่อสราง Report 44) เมื่อทําถูกตองจะเห็น BOQ แสดงการ แจกแจงหมวดงาน ปริมาณงาน และราคาทั้งหมด สังเกตวาปริมาตรคอนกรีตที่อานจาก Layer เทากับ 27 ลบ.ม. แตปริมาตรคอนกรีตจากการแยกหมวดงานตาม Component จะรวมเทากับ 28 ลบ.ม นี้ก็เปน เพราะการปดหนวยนั้นเอง
  • 39. 25,000 บาท 46) คลิ๊กบวกเพื่อเพิ่มคาใชจายอื่นๆ 47) คิดคาออกแบบเพิ่มเติมดังภาพ 48) เมื่อคลิ๊กที่ Report ก็จะเห็นวามีคาใชจายเพิ่มขึ้นในรายงานดังภาพ
  • 40.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้