Bigbike ท ม quick shifter ม ร นไหนบ าง

ล้อหน้า 41 mm inverted fork (SFF-BP) with rebound and compression damping and spring preload adjustability, and top-out springs, ล้อหลัง Bottom-Link Uni Trak, gas-charged shock with piggyback reservoir, compression and rebound damping and spring preload adjustability

ระบบเบรค

ล้อหน้า ดิสก์เบรก (310 mm Caliper- Dual radial-mount, monobloc, opposed 4-piston), ล้อหลัง ดิสก์เบรก (220 mm Caliper- Single-bore pin-slide, aluminium piston)

แบบวงล้อ

แมกซ์

ขนาดยาง

ล้อหน้า 120/70ZR17M/C (58W), ล้อหลัง 180/55ZR17M/C (73W)

ขนาด (ยาวxกว้างxสูง มม.)

2,025 x 710 x 1,100 มม. ความสูงเบาะ 830 มม.

น้ำหนักตัวรถ

196.00 กก.

คำแนะนำการใช้ข้อมูล

ภาพที่แสดงเป็นเพียงภาพประกอบ และข้อมูลรวมถึงราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นโปรดสอบถามรายละเอียดของสินค้ากับบริษัทและผู้จำหน่ายทุกครั้งก่อนตัดสินใจ

กำลังเข้าสู่ฤดูกาลแห่งการท่องเที่ยวและออกทริปกันอย่างเต็มตัวแล้ว ทางเราเลยอยากจะขอนำเสนอ 8 เทคนิคที่ผู้ขับขี่มือใหม่ต้องมี!!! โดยเทคนิคนี้สามารถใช้ได้ทั้งรถมอเตอร์ไซค์ครอบครัว Entry Class ไล่ไปจนถึง SuperBike ก็เอาไปปรับใช้กันได้ตามสะดวก สามารถใช้ได้ทั้งการออกทริปหรือแม้แต่การใช้งานในชีวิตประจำวัน

สมาธิ การขับขี่รถมอเตอร์ไซค์นั้นเป็นการขับขี่ยานพาหนะที่ต้องใช้สมาธิสูงที่สุด โดยเราจะพบว่าการขับขี่ของรถมอเตอร์ไซค์นั้นเกิดการสูญเสียสมาธิได้ง่ายกว่าประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหล่าบรรดาไบค์เกอร์หน้าใหม่ เพราะหากเราใช้สมาธิในการจดจ่อกับอะไรบางอย่างมากไป สมองจะเกิดอาการล้า และเริ่มเกิดอาการเบื่อหน่าย จนต้องหันหน้าไปมองรอบๆ เพื่อจะดึงสมาธิกลับมา ซึ่งในจังหวะนั้นอาจจะเป็นเสี้ยววินาทีที่นำพาเราไปเจอกับอุบัติเหตุได้อย่างไม่ตั้งใจ อย่างที่เราได้เห็นกันในคลิปวิดีโอบนโลกออนไลน์ที่แชร์กันไปเพื่อเป็นอุทาหรณ์ให้เราได้พึ่งระวังกัน โดยสิ่งที่เราอยากจะแนะนำคือการตั้งสมาธิให้ดีจดจ่อกับเส้นทางหากเกิดอาการล้าหรือเริ่มรู้สึกสูญเสียสมาธิก็ให้หยุด จอดรถและลงไปบิดซ้ายบิดขวาให้ร่างกายได้เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง มันจะช่วยลดอาการล้าของสมองและร่างกายได้เป็นอย่างดี

ความรู้และเข้าใจการใช้ถนน อย่างที่เราบอกไปในหลายๆครั้งว่า ท้องถนนเป็นพื้นที่สาธารณะ มีการใช้งานร่วมกันในกลุ่มคนหมู่มาก มันมีกฎมีระเบียบปฏิบัติ ซึ่งเรารู้จักกันในกฎหมายการจารจร ซึ่งตรงนี้เราจะต้องมีความเข้าใจอย่างชัดเจน และสามารถใช้ประโยชน์จากความเข้าใจเหล่านี้ เพื่อป้องกันตัวเองหรือหลีดเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุได้ วิธีง่ายๆ ที่จะทำให้เราเข้าใจและรู้ว่าควรทำอย่างไรก็คือ ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ หรือแม้กระทั่งบนโลกออนไลน์ก็มีสอนเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่เยอะมากๆ เพื่อนๆ ต้องลองศึกษามันแล้วลงมือปฎิบัติจริง เพื่อให้เกิดความเคยชินและเราก็จะสามารถใช้ท้องถนนร่วมกับคนอื่นๆ ได้อย่างปลอดภัย

ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องของการเบรก เรื่องการใช้งานเบรกนี้ ป็นเรื่องพื้นฐานที่หลายๆ คนมักมองข้ามเสมอ คนส่วนมากเข้าใจว่ารถมอเตอร์ไซค์หรือยานพาหนะต่างๆ มีระบบเบรกคือ หน้าและหลังเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว Engine Bake หรือการชะลอรถด้วยแรงฉุดจากเครื่องยนต์ก็มีส่วนสำคัญในการลดระยะในการห้ามล้อได้เป็นอย่างดี หรือบางคนก็ยังให้สัดส่วนในการใช้เบรกที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือบางคนใช้แต่เบรกด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น อย่างเช่น วิ่งมาด้วยความเร็ว แล้วต้องเบรก ก็กำแต่เบรกหน้า ไม่กดเบรกหลังไปด้วย หากรถที่ไม่มีระบบ ABS หากเรากดเบรกหน้ามากไป ล้อหน้าจะเกิดอาการล็อกจนเกิดอาการหลังลอยจากแรงผลักจากด้านหน้า ในที่นี้มีบางคนที่ไม่ทราบวิธีการแก้ไขซึ่งมันง่ายมากๆ เพียงเพื่อนๆ กดเบรกหลังไปด้วยในสัดส่วนที่พอดี หน้า 60% หลัง 40% และไม่กำคลัทซ์ถึงแม้เครื่องยนต์ของรถจะดับ แต่เราก็สามารถหลักเลี่ยงการสูญเสียจากการชนได้ มันดีกว่ารถดับอย่างแน่นอน

.jpg?date=2018-09-18%2004:52:59)

ยูเทิร์น ในการขับขี่บนท้องถนนทั่วไป เรามักจะเจอกับจุดยูเทิร์น หรือจุดกลับรถ ซึ่งตรงนี้ก่อให้เกิดปัญหากับเหล่ามือใหม่รวมไปถึงมือเก๋าในบางคน เพราะไม่มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการควบคุมตัวรถให้มีวงเลี้ยวที่แคบพอจะให้พ้นจุดกลับรถนั้นได้ เราอาจจะเคยเห็นคนที่เลี้ยวไปแล้วต้องไปตัวกลับมาเพื่อตั้งวงเลี้ยวใหม่ บางคนอาจจะสามถึงสี่รอบกว่าจะสามารถกลับรถได้เลย็ยังมี วิธีแก้ง่ายมากครับ ก่อนอื่นเราต้องจัดระเบียบร่างกายให้พร้อม เตรียมรถให้อยู่ในย่านความเร็วที่เหมาะสม สายตามองไปยังปลายทางที่เราจะไป เอียงตัวด้วยท่า Lean Out หรือผลักรถออกจากตัวในทิศทางเดียวกับทางโค้งโดยตัวผู้ขับขี่สวนทางออกมา สายตามองไปที่ปลายทางตลอดเวลา ถ้าเพื่อนๆ อยู่ในความเร็วที่เหมาะสมประมาณไม่ต่ำกว่า 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รับรองได้เลยว่า เพื่อนๆ จะสามารถเข้าโค้งยูเทิร์นได้เนียนและดูโปรมากเลยทีเดียวครับ

การใช้งานคลัทช์และคันเร่ง เป็นเรื่องเบสิกสุดๆ ของการใช้งานรถมอเตอร์ไซค์ เรามาทำความเข้าใจกันเป็นส่วนๆก่อน คันเร่งมีเพื่อเป็นส่วนควบคุมการส่งกำลังของเครื่องยนต์ ระบบคลัทช์ใช้เพื่อให้เกิดความนุ่มนวลในการเปลี่ยนเกียร์และออกตัว โดยหลักการทำงานของคลัทช์นั้นมีหน้าที่ 3 อย่างคือ เข้าและลดเกียร์ ออกตัว และป้องกันเครื่องยนต์ดับ ซึ่งปัญหาส่วนมากจะเกิดขึ้นที่การใช้งานคลัทช์เสียเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะมือใหม่ที่กลัวเครื่องยนต์ดับขณะขับขี่ ต้องบอกเลยนะครับว่าเครื่องยนต์ไม่มีทางดับได้ในขณะที่ล้อรถยังหมุนอยู่ หากดับก็คือเครื่องยนต์เกิดปัญหาแล้วล่ะ ซึ่งส่วนมากบรรดามือใหม่มักจะกลัวเครื่องยนต์ดับขณะที่ขับขี่หลังจากเรายกคันเร่ง หรือผ่อนคันเร่ง จึงต้องกำคลัทช์เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์หยุดการทำงาน ซึ่งมันช่วยจริงครับ เครื่องยนต์ไม่ดับ แต่เรากำลังนั่งอยู่บนเหล็กที่ไปด้วยแรงเฉื่อยจากเครื่องยนต์โดยไม่มีสภาวะควบคุม ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการไหลของรถ บานโค้ง จนเป็นส่วนสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสีย อย่างที่บอกไปในหัวข้อก่อนหน้านี้ รถดับมันดีกว่ารถชน ดังนั้นวิธีการแก้ไขที่ดีที่สุดก็คือฝึกฝนการใช้งานคลัทช์ให้คล่อง ทำความเข้าใจการทำงานของมัน เรียนรู้ว่าในรอบเครื่องยนต์ขนาดไหนที่เครื่องยนต์ของเราจะหยุดการทำงาน ซึ่งหากยังเจอปัญหาเดิมๆ จากเรื่องนี้ ก็คงต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเข้ามาช่วย โดยในปัจจุบันมีนวัตกรรมช่วยเหลือเกี่ยวกับเรื่องนี้มากมาย ทั้งระบบเกียร์แบบ DCT ,Quickshifter หรือแม้กระทั้งระบบเกียร์อัตโนมัติ ให้เลือกใช้งานกันอย่างเต็มที่ ก็น่าจะเป็นคำตอบที่แก้ไขปัญหานี้ได้เหมือนกันนะครับ

การลดเกียร์ การลดเกียร์เป็นเหมือนกับงานศิลปะอย่างหนึ่ง ไม่ใช่ว่าเราจะลดตอนไหนก็ทำได้ เพราะนอกจากจะทำให้เครื่องยนต์เกิดสภาวะผิดปกติแล้ว การทำงานของระบบต่างๆ ก็อาจจะรวนตามไปด้วย เหมือนอย่างที่เราได้เห็นในคลิปต่างๆ การลดเกียร์จะเกิดส่วนมากก็ต้องที่เราต้องการชะลอ หรือรอบเครื่องยนต์อยู่ต่ำเกินกว่าความเร็วที่กำลังวิ่งไป หรืออื่นๆ โดยการลดเกียร์ที่ถูกต้องและถูกวิธีนั้นทำได้เพียง กำคลัทช์กดเกียร์ลงแล้วค่อยๆ คลายคลัทช์ออก อย่าปล่อยคลัทช์ทีเดียวหมด เพราะจะทำให้เกิดอาการกระตุกที่ด้านหลัง หากเราอยู่ในย่านความเร็วสูง แต่ถ้าหากเรามาไวมากๆ แล้วต้องการลดเกียร์จริงๆ ก็สามารถทำได้ตามขั้นตอนนี้แต่ก่อนที่เราจะคลายคลัทช์ที่กำไว้ให้ปั้มคันเร่งขึ้นเล็กน้อยเพื่อให้รอบของเครื่องยนต์เกิดอาการตีขึ้นแล้วค่อยๆปล่อย จะทำให้การสับที่ด้านหลังลดน้อยลงไป ซึ่งเทคนิคนี้ก็มีตัวช่วยอย่างระบบ Slipper Clutch ที่รถมอเตอร์ไซค์ในยุคปัจจุบันนิยมติดตั้งมาให้ใช้งานกันแล้วทั้งในรุ่นเล็กและรุ่นใหญ่

การขับขี่ในสภาพถนนเปียก หนึ่งในหลายๆ สิ่งที่เราไม่สามารถกำหนดได้ สถาพอากาศกับประเทศไทยก็ค่อนข้างชัดเจนว่า เรามีสามฤดู ฤดูฝน ฤดูร้อนและฤดูร้อนกว่า ซึ่งสถาวะอากาศแบบนี้ทำให้บ้านเรานั้นสามารถเกิดฝนตกได้บ่อยและมันก็ทำให้สภาพถนนที่เราใช้งานมีความเปียกและความชื้น ซึ่งเป็นเหมือนอุปสรรคในการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ของเราไม่น้อย แต่อย่างที่ทราบกันดีต่อให้ฝนตกฟ้าร้องถ้าพายุไม่เข้ามาขวางก็ไม่มีอะไรมาหยุดไบค์เกอร์ไทยได้ ยังคงขับขี่กันต่อไปไม่เกรงกลัวต่ออะไร ดังนั้นสิ่งที่อยากจะให้เพื่อนๆ ตรวจสอบให้พร้อมก่อนที่จะลุยฝนหรือถนนเปียกก็คือ “ยาง” ว่ามีความพร้อมมากขนาดไหน เราเลือกใช้งานยางถูกประเภทหรือไม่ ยางอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ ดอกยางยังมีหรือไม่ ร่องรีดน้ำลึกหรือเริ่มบางแล้ว ยังไงตรวจสอบกันให้ดีก่อนออกเดินทางด้วยนะครับ

การขับขี่เป็นกลุ่ม เป็นเรื่องที่สนุกที่สุดของการขับขี่มอเตอร์ไซค์ นั่นก็คือการออกทริปแบบเป็นกลุ่ม แต่การไปเป็นกลุ่มนั้น มันก็มีแบบแผนและ Formation ที่หลายๆ คนมองข้าม บางคนคิดว่าก็แค่ขี่ตามๆ กันไปให้ถึงที่หมายก็น่าจะเพียงพอ แต่เราก็ได้เห็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการชนกันเองของคนที่มีทริปเดียวกันมาแล้ว ดังนั้นการศึกษาและวางแผนรูปแบบการขับขี่ก็เป็นส่วนสำคัญ อย่างน้อยๆ ก็ให้คนมีทักษะกระจายตัวตัวคอยช่วยเหลือมือใหม่ในกลุ่ม เพื่อให้การขับขี่ไปเป็นกลุ่มนั้นมีความสนุกสนาน และยังได้มิตรภาพอันดีกลับมา มันก็น่าจะดีกว่าต่างคนต่างไปจริงไหมครับ

และนี่ก็คือ 8 เทคนิคที่เราสามารถนำไปปรับใช้กับการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ในชีวิตประจำวัน หรือการออกทริปได้ หากว่าเรามีครบองค์ประกอบทั้ง 8 นี้ทำให้มันเป็นธรรมชาติและส่วนหนึ่งของการขับขี่ของเราในทุกๆ ครั้ง รับรองว่าการขับขี่มอเตอร์ไซค์ของเรานั้นจะสนุกสนานและปลอดภัยมากขี้นอีกเยอะมากๆ แน่นอน

ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก www.rideapart.com

อ่านเพื่อหลีกเลี่ยงเหตุร้ายแบบไม่คาดฝัน กับ 8 เทคนิคที่ไบค์เกอร์มือใหม่ต้องมี

กลับมาพบกับบทความดีๆ เกี่ยวกับการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์กันอีกครั้งนะครับ โดยคราวนี้ทีมงาน GreatBiker เองอยากจะขอนำเสนอ 8 เทคนิคที่ผู้ขับขี่มือใหม่ต้องมี โดยเทคนิคนีสามารถใช้ได้ทั้งรถมอเตอร์ไซค์ครอบครัว Entry Class ไล่ไปจนถึง Superbike ก็เอาไปปรับใช้กันได้ตามสะดวก จะมีอะไรบ้างนั้นไปติดตามกันได้เลยครับ

สมาธิ การขับขี่รถมอเตอร์ไซค์นั้นเป็นการขับขี่ยานพาหนะที่ต้องใช้สมาธิสูงที่สุด โดยเราจะพบว่าการขับขี่ของรถมอเตอร์ไซค์นั้นเกิดการสูญเสียสมาธิได้ง่ายกว่าประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหล่าบรรดาไบค์เกอร์หน้าใหม่ เพราะหากเราใช้สมาธิในการจดจ่อกับอะไรบางอย่างมากไป สมองจะเกิดอาการล้า และเริ่มเกิดอาการเบื่อหน่าย จนต้องหันหน้าไปมองรอบๆ เพื่อจะดึงสมาธิกลับมา ซึ่งในจังหวะนั้นอาจจะเป็นเสี้ยววินาทีที่นำพาเราไปเจอกับอุบัติเหตุได้อย่างไม่ตั้งใจ อย่างที่เราได้เห็นกันในคลิปวิดีโอบนโลกออนไลน์ที่แชร์กันไปเพื่อเป็นอุทาหรณ์ให้เราได้พึ่งระวังกัน โดยสิ่งที่เราอยากจะแนะนำคือการตั้งสมาธิให้ดีจดจ่อกับเส้นทางหากเกิดอาการล้าหรือเริ่มรู้สึกสูญเสียสมาธิก็ให้หยุด จอดรถและลงไปบิดซ้ายบิดขวาให้ร่างกายได้เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง มันจะช่วยลดอาการล้าของสมองและร่างกายได้เป็นอย่างดี

ความรู้และเข้าใจการใช้ถนน อย่างที่เราบอกไปในหลายๆครั้งว่า ท้องถนนเป็นพื้นที่สาธารณะ มีการใช้งานร่วมกันในกลุ่มคนหมู่มาก มันมีกฎมีระเบียบปฏิบัติ ซึ่งเรารู้จักกันในกฎหมายการจารจร ซึ่งตรงนี้เราจะต้องมีความเข้าใจอย่างชัดเจน และสามารถใช้ประโยชน์จากความเข้าใจเหล่านี้ เพื่อป้องกันตัวเองหรือหลีดเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุได้ วิธีง่ายๆ ที่จะทำให้เราเข้าใจและรู้ว่าควรทำอย่างไรก็คือ ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ หรือแม้กระทั่งบนโลกออนไลน์ก็มีสอนเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่เยอะมากๆ เพื่อนๆ ต้องลองศึกษามันแล้วลงมือปฎิบัติจริง เพื่อให้เกิดความเคยชินและเราก็จะสามารถใช้ท้องถนนร่วมกับคนอื่นๆ ได้อย่างปลอดภัย

ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องของการเบรก เรื่องการใช้งานเบรกนี้ ป็นเรื่องพื้นฐานที่หลายๆ คนมักมองข้ามเสมอ คนส่วนมากเข้าใจว่ารถมอเตอร์ไซค์หรือยานพาหนะต่างๆ มีระบบเบรกคือ หน้าและหลังเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว Engine Bake หรือการชะลอรถด้วยแรงฉุดจากเครื่องยนต์ก็มีส่วนสำคัญในการลดระยะในการห้ามล้อได้เป็นอย่างดี หรือบางคนก็ยังให้สัดส่วนในการใช้เบรกที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือบางคนใช้แต่เบรกด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น อย่างเช่น วิ่งมาด้วยความเร็ว แล้วต้องเบรก ก็กำแต่เบรกหน้า ไม่กดเบรกหลังไปด้วย หากรถที่ไม่มีระบบ ABS หากเรากดเบรกหน้ามากไป ล้อหน้าจะเกิดอาการล็อกจนเกิดอาการหลังลอยจากแรงผลักจากด้านหน้า ในที่นี้มีบางคนที่ไม่ทราบวิธีการแก้ไขซึ่งมันง่ายมากๆ เพียงเพื่อนๆ กดเบรกหลังไปด้วยในสัดส่วนที่พอดี หน้า 60% หลัง 40% และไม่กำคลัทซ์ถึงแม้เครื่องยนต์ของรถจะดับ แต่เราก็สามารถหลักเลี่ยงการสูญเสียจากการชนได้ มันดีกว่ารถดับอย่างแน่นอน

.jpg?date=2018-09-18%2004:52:59)

ยูเทิร์น ในการขับขี่บนท้องถนนทั่วไป เรามักจะเจอกับจุดยูเทิร์น หรือจุดกลับรถ ซึ่งตรงนี้ก่อให้เกิดปัญหากับเหล่ามือใหม่รวมไปถึงมือเก๋าในบางคน เพราะไม่มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการควบคุมตัวรถให้มีวงเลี้ยวที่แคบพอจะให้พ้นจุดกลับรถนั้นได้ เราอาจจะเคยเห็นคนที่เลี้ยวไปแล้วต้องไปตัวกลับมาเพื่อตั้งวงเลี้ยวใหม่ บางคนอาจจะสามถึงสี่รอบกว่าจะสามารถกลับรถได้เลย็ยังมี วิธีแก้ง่ายมากครับ ก่อนอื่นเราต้องจัดระเบียบร่างกายให้พร้อม เตรียมรถให้อยู่ในย่านความเร็วที่เหมาะสม สายตามองไปยังปลายทางที่เราจะไป เอียงตัวด้วยท่า Lean Out หรือผลักรถออกจากตัวในทิศทางเดียวกับทางโค้งโดยตัวผู้ขับขี่สวนทางออกมา สายตามองไปที่ปลายทางตลอดเวลา ถ้าเพื่อนๆ อยู่ในความเร็วที่เหมาะสมประมาณไม่ต่ำกว่า 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รับรองได้เลยว่า เพื่อนๆ จะสามารถเข้าโค้งยูเทิร์นได้เนียนและดูโปรมากเลยทีเดียวครับ

การใช้งานคลัทช์และคันเร่ง เป็นเรื่องเบสิกสุดๆ ของการใช้งานรถมอเตอร์ไซค์ เรามาทำความเข้าใจกันเป็นส่วนๆก่อน คันเร่งมีเพื่อเป็นส่วนควบคุมการส่งกำลังของเครื่องยนต์ ระบบคลัทช์ใช้เพื่อให้เกิดความนุ่มนวลในการเปลี่ยนเกียร์และออกตัว โดยหลักการทำงานของคลัทช์นั้นมีหน้าที่ 3 อย่างคือ เข้าและลดเกียร์ ออกตัว และป้องกันเครื่องยนต์ดับ ซึ่งปัญหาส่วนมากจะเกิดขึ้นที่การใช้งานคลัทช์เสียเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะมือใหม่ที่กลัวเครื่องยนต์ดับขณะขับขี่ ต้องบอกเลยนะครับว่าเครื่องยนต์ไม่มีทางดับได้ในขณะที่ล้อรถยังหมุนอยู่ หากดับก็คือเครื่องยนต์เกิดปัญหาแล้วล่ะ ซึ่งส่วนมากบรรดามือใหม่มักจะกลัวเครื่องยนต์ดับขณะที่ขับขี่หลังจากเรายกคันเร่ง หรือผ่อนคันเร่ง จึงต้องกำคลัทช์เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์หยุดการทำงาน ซึ่งมันช่วยจริงครับ เครื่องยนต์ไม่ดับ แต่เรากำลังนั่งอยู่บนเหล็กที่ไปด้วยแรงเฉื่อยจากเครื่องยนต์โดยไม่มีสภาวะควบคุม ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการไหลของรถ บานโค้ง จนเป็นส่วนสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสีย อย่างที่บอกไปในหัวข้อก่อนหน้านี้ รถดับมันดีกว่ารถชน ดังนั้นวิธีการแก้ไขที่ดีที่สุดก็คือฝึกฝนการใช้งานคลัทช์ให้คล่อง ทำความเข้าใจการทำงานของมัน เรียนรู้ว่าในรอบเครื่องยนต์ขนาดไหนที่เครื่องยนต์ของเราจะหยุดการทำงาน ซึ่งหากยังเจอปัญหาเดิมๆ จากเรื่องนี้ ก็คงต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเข้ามาช่วย โดยในปัจจุบันมีนวัตกรรมช่วยเหลือเกี่ยวกับเรื่องนี้มากมาย ทั้งระบบเกียร์แบบ DCT ,Quickshifter หรือแม้กระทั้งระบบเกียร์อัตโนมัติ ให้เลือกใช้งานกันอย่างเต็มที่ ก็น่าจะเป็นคำตอบที่แก้ไขปัญหานี้ได้เหมือนกันนะครับ

การลดเกียร์ การลดเกียร์เป็นเหมือนกับงานศิลปะอย่างหนึ่ง ไม่ใช่ว่าเราจะลดตอนไหนก็ทำได้ เพราะนอกจากจะทำให้เครื่องยนต์เกิดสภาวะผิดปกติแล้ว การทำงานของระบบต่างๆ ก็อาจจะรวนตามไปด้วย เหมือนอย่างที่เราได้เห็นในคลิปต่างๆ การลดเกียร์จะเกิดส่วนมากก็ต้องที่เราต้องการชะลอ หรือรอบเครื่องยนต์อยู่ต่ำเกินกว่าความเร็วที่กำลังวิ่งไป หรืออื่นๆ โดยการลดเกียร์ที่ถูกต้องและถูกวิธีนั้นทำได้เพียง กำคลัทช์กดเกียร์ลงแล้วค่อยๆ คลายคลัทช์ออก อย่าปล่อยคลัทช์ทีเดียวหมด เพราะจะทำให้เกิดอาการกระตุกที่ด้านหลัง หากเราอยู่ในย่านความเร็วสูง แต่ถ้าหากเรามาไวมากๆ แล้วต้องการลดเกียร์จริงๆ ก็สามารถทำได้ตามขั้นตอนนี้แต่ก่อนที่เราจะคลายคลัทช์ที่กำไว้ให้ปั้มคันเร่งขึ้นเล็กน้อยเพื่อให้รอบของเครื่องยนต์เกิดอาการตีขึ้นแล้วค่อยๆปล่อย จะทำให้การสับที่ด้านหลังลดน้อยลงไป ซึ่งเทคนิคนี้ก็มีตัวช่วยอย่างระบบ Slipper Clutch ที่รถมอเตอร์ไซค์ในยุคปัจจุบันนิยมติดตั้งมาให้ใช้งานกันแล้วทั้งในรุ่นเล็กและรุ่นใหญ่

การขับขี่ในสภาพถนนเปียก หนึ่งในหลายๆ สิ่งที่เราไม่สามารถกำหนดได้ สถาพอากาศกับประเทศไทยก็ค่อนข้างชัดเจนว่า เรามีสามฤดู ฤดูฝน ฤดูร้อนและฤดูร้อนกว่า ซึ่งสถาวะอากาศแบบนี้ทำให้บ้านเรานั้นสามารถเกิดฝนตกได้บ่อยและมันก็ทำให้สภาพถนนที่เราใช้งานมีความเปียกและความชื้น ซึ่งเป็นเหมือนอุปสรรคในการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ของเราไม่น้อย แต่อย่างที่ทราบกันดีต่อให้ฝนตกฟ้าร้องถ้าพายุไม่เข้ามาขวางก็ไม่มีอะไรมาหยุดไบค์เกอร์ไทยได้ ยังคงขับขี่กันต่อไปไม่เกรงกลัวต่ออะไร ดังนั้นสิ่งที่อยากจะให้เพื่อนๆ ตรวจสอบให้พร้อมก่อนที่จะลุยฝนหรือถนนเปียกก็คือ “ยาง” ว่ามีความพร้อมมากขนาดไหน เราเลือกใช้งานยางถูกประเภทหรือไม่ ยางอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ ดอกยางยังมีหรือไม่ ร่องรีดน้ำลึกหรือเริ่มบางแล้ว ยังไงตรวจสอบกันให้ดีก่อนออกเดินทางด้วยนะครับ

การขับขี่เป็นกลุ่ม เป็นเรื่องที่สนุกที่สุดของการขับขี่มอเตอร์ไซค์ นั่นก็คือการออกทริปแบบเป็นกลุ่ม แต่การไปเป็นกลุ่มนั้น มันก็มีแบบแผนและ Formation ที่หลายๆ คนมองข้าม บางคนคิดว่าก็แค่ขี่ตามๆ กันไปให้ถึงที่หมายก็น่าจะเพียงพอ แต่เราก็ได้เห็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการชนกันเองของคนที่มีทริปเดียวกันมาแล้ว ดังนั้นการศึกษาและวางแผนรูปแบบการขับขี่ก็เป็นส่วนสำคัญ อย่างน้อยๆ ก็ให้คนมีทักษะกระจายตัวตัวคอยช่วยเหลือมือใหม่ในกลุ่ม เพื่อให้การขับขี่ไปเป็นกลุ่มนั้นมีความสนุกสนาน และยังได้มิตรภาพอันดีกลับมา มันก็น่าจะดีกว่าต่างคนต่างไปจริงไหมครับ

และนี้ก็คือ 8 เทคนิคง่ายๆที่เราสามารถนำไปปรับใช้กับการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ในชีวิตประจำวัน หรือการออกทริปได้ หากเพื่อนๆ มีอะไรอยากจะแนะนำเพิ่มเติมก็สามารถเข้าไปคอมเม้นท์บอกเล่าประสบการณ์และแชร์ความรู้ในเรื่องการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ได้ที่ Facebook Fanpage : GreatBiker ได้เลยครับ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้