70หม 5 ถนน ท ากระเสร ม-น ำพอง khonkean

เพือ่ พฒั นาเมืองรูปแบบใหม่ ๆ ข้นึ มา เพอ่ื สร้างบริบทแวดลอ้ มใหม่ ๆ ทีเ่ อื้อให้เกดิ การลงทนุ และสร้างความร่วมมือ ในการพฒั นาเมอื งร่วมกัน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บรษิ ทั จำกดั ของ 5 เทศบาล

แผนภาพท่ี 4-1 สถาปตั ยกรรมองคก์ ารระดบั เมืองของการพฒั นาเมืองอจั ฉรยิ ะขอนแก่น ทมี่ าภาพ: คณะวจิ ัย

ฐานสถาปัตยกรรมทางเทคนคิ (technical layer) สถาปัตยกรรมทางเทคนิคที่เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสำคัญ ๆ ด้านต่าง ๆ สำหรับ นำไปใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่นในสถาปัตยกรรมเมืองชั้นที่สองและชั้นที่สามต่อไป ประกอบด้วย การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสำหรับการเช่ือมต่อสัญญาณอินเทอรเ์ นต็ แบบไร้สายของ เมือง (City’ Wi-Fi Project) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ชุดอุปกรณ์ วงจร หรือระบบที่ทำหน้าที่ตรวจวัดระดับ การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติหรือสิ่งของต่าง ๆ ภายในเมือง (City’s Sensor Project) โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบ เซนเซอร์ด้านกายภาพของเมือง (physical sensor) และ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบคลังข้อมูลขนาด ใหญ่ของเมอื ง (Big Data) เพอ่ื นำไปใช้ประโยชน์ในการวเิ คราะห์การพัฒนาเมืองในด้านตา่ ง ๆ จากรายละเอยี ดในแผนภาพที่ 4-1 จะเห็นไดว้ ่าสถาปัตยกรรมองค์กรระดับเมือง (EA) ของการพัฒนาเมือง อัจฉริยะขอนแก่นมีฐานสำคัญ 2 ฐาน คือ ฐานสถาปัตยกรรมนิเวศทางสังคม (social ecology layer) และฐาน สถาปตั ยกรรมทางเทคโนโลยี (technical layer) อยา่ งไรก็ตาม การออกแบบระบบสถาปตั ยกรรมองค์กรของเมือง ดังกล่าว ใช้ฐานนิเวศวิทยาทางสงั คม (social ecology layer) ที่มีศักยภาพรวมถึงออกแบบบริบทนิเวศวทิ ยาทาง สังคมภายในเมืองขอนแก่นขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้เป็นทรัพยากรหรือทุนทางสังคมเป็นหลัก (social capital) สำหรับ ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในด้านต่าง ๆ ดังนั้น ในกรณีของ “ขอนแก่นโมเดล” นั้น บริบททางสังคม รูปแบบใหม่ หรือระบบโครงสรา้ งและความสัมพันธ์ทางสงั คมระหว่างองค์กร ผู้มีสว่ นได้เสยี กบั การพัฒนาเมืองฝ่าย

หน้า 4-2 หนา้ 4-2

ต่าง ๆ จึงถูกวางรากฐานและสร้างขึ้นมาก่อนที่จะมีการวางระบบและออกแบบสถาปัตยกรรมทางเทคโนโลยีของ เมือง กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ขอนแก่นเป็นเมืองที่สร้างนิเวศทางสังคมใหม่ขึ้นมาเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (social- centric approach) ไม่ใช่เป็นเมืองที่สร้างระบบหรือโครงสรา้ งเทคโนโลยขี ึ้นมาก่อนเพื่อเปลี่ยนนิเวศทางสังคมใน เมืองให้กลายเป็นเมืองอจั ฉริยะ (technology-centric approach)

ชั้นสถาปัตยกรรมข้อมูลของเมืองและการประยุกต์ใช้แอพพลิเคชั่น (data and application layer) เพื่ออำนวยความสะดวกภายในเมือง ประกอบด้วย โครงการพัฒนาระบบเชื่อมต่อสัญญาอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi- Fi) และระบบเซ็นเซอร์ของเมือง ตลอดจนการพัฒนาระบบให้บรกิ ารออนไลน์ (online services) หรือการพัฒนา แอพพลิเคชั่นด้านต่าง ๆ (Applications) เพื่อบูรณาการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเชื่อมโยงกับระบบ อินเทอร์เน็ต (IoT) รวมถึงฐานข้อมูลของเมือง (Database) ให้เกิดประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะ พัฒนา คณุ ภาพชีวติ หรอื พัฒนาเมืองในด้านต่าง ๆ โดยในขณะท่ีมีการใช้แอพพลิเคช่นั หรือระบบให้บริการออนไลน์เมือง รูปแบบต่าง ๆ บนระบบอินเทอร์เน็ต ก็จะมีการบันทึกข้อมูลมาจัดเก็บไว้ผ่านฐานข้อมูลหรือในระบบบิก๊ ดาต้าของ เมอื งด้วย โดยมีศนู ย์ปฏบิ ตั ิการเพ่อื พัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะขอนแกน่ (Smart City Operation Center: SCOPC) เปน็ องค์กรที่ดูแลระบบและวิเคราะห์ฐานข้อมูลเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชั้นที่ 3 ได้นำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนา เมอื งอัจฉริยะในแต่ละดา้ นต่อไป

ชัน้ สถาปัตยกรรมทางธุรกิจหรอื ตัวแบบทางธรุ กิจระดับเมอื ง (business layer) เป็นการออกแบบกิจกรรม ระบบงาน หรือการพัฒนาตัวแบบธุรกิจและการดำเนินงานเพื่อพัฒนาความ เป็นอัจฉริยะของเมืองคลอบคลุม 7 มิติโดยใช้โครงสร้างและระบบจากสถาปัตยกรรมชั้นที่ 1 (technical architecture) และ 2 (data and application layer) เป็นฐานร่วมด้วย ได้แก่ การพัฒนาตัวแบบธุรกิจ (business model) ของเมืองด้านการคมนาคมขนส่งอัจฉริยะ (smart mobility) ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม อัจฉริยะ (smart environment) ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) ด้านพลเมืองอัจฉริยะยะ (smart people) ด้านการใช้ชีวิตอย่างอัจฉริยะ (smart living) ด้านการบริหารและจัดการพลังงานอัจฉริยะ (smart energy) และด้านการจัดการภาครัฐอัจฉริยะ (smart governance) รายละเอียดสถาปัตยกรรมองค์หรในแต่ละ ดา้ นจะกล่าวในบทตอ่ ไป

ความอัจฉรยิ ะของเมอื งขอนแก่นในดา้ นต่าง ๆ (Khon Kaen City’s Smartness) เน้ือหาสาระในบทก่อนหนา้ น้ี เป็นการวเิ คราะห์และสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการหรือกลไกในการก่อร่าง สร้างเมืองขอนแก่นให้เกิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของเมืองในด้านต่าง ๆ ตามแนวทางที่เรียกว่า “ขอนแก่น โมเดล” โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ บทบาทขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและความรว่ มมือจากภาคสว่ นต่าง ๆ ในการเข้า มาทำงานพัฒนาเมืองร่วมกัน อย่างไรก็ตาม สำหรับการพัฒนาเมืองขอนแก่นให้มีความเป็นอัจฉริยะในด้านต่าง ๆ ครอบคลุมประเด็นการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน ตามกรอบแนวคิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะนั้น จังหวัด ขอนแก่นได้มีการริเริ่มโครงการสำคัญ ๆ เพื่อพัฒนาเมอื งให้มีความเป็นอัจฉริยะผา่ นกระบวนการขับเคลื่อนเมืองท่ี ได้อธิบายไปแล้วในบทก่อนหน้านี้ ซึ่งในภาพรวมแล้ว โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่นทั้ง 7 ด้าน มี รายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

ห นา้ 4-3 หน้า 4-3

การพัฒนาระบบคมนาคมขนสง่ อจั ฉรยิ ะ (smart mobility) ประกอบด้วย 9 ชุดโครงการหลัก ๆ ได้แก่ ชุดโครงการการจราจรยุคใหม่ โครงการก่อสร้างระบบขนส่ง รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) โครงการ Smart Shuttle Buses โครงการ Smart Bus Stop โครงการ Complete Street ทางเท้า/ทางจักรยาน โครงการ Automation and City Logistics โครงการ Smart Loop โครงการ รถไฟฟ้าแชร์ใช้ โครงการพัฒนาท่าอากาศยานนานาชาติขอนแก่น โดยรายละเอียดของแต่ละชุดโครงการปรากฎ ในตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-1 ชุดโครงการพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ อจั ฉริยะของเมืองขอนแก่น

ชดุ โครงการ โครงการ/กิจกรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ จราจรยคุ ใหม่ โครงการ Smart Shuttle นำร่องการใช้รถประจำทางที่มีการให้บริการ Wi-Fi 2561-2564 (การเช่อื มโยง สามารถระบุพิกัดและเวลาให้บริการ 2561-2564 ระบบขนส่ง Bus การควบคุมสญั ญาณไฟโดยใชข้ ้อมูล IOT Sensor และ สาธารณะทมี่ อี ยู่ โครงการสญั ญาณไฟจราจร Drone ในการจดั การความหนาแน่นในการขนสง่ ในปจั จุบนั ด้วย เพ่ือหาตำแหน่งท่จี อดรถโดยใชข้ อ้ มูลแบบ Real time การใช้ IoT) อัจฉริยะ บริการแอพพลิเคชั่น ที่รวมเอาตัวช่วยในการเดินทาง รถไฟฟ้ารางเบา โครงการ sensor ทจ่ี อดรถ ในทกุ มิติ โครงการ Citi Mobility จกั ยานสว่ นกลางสำหรบั ประชนสามารถใชไ้ ดใ้ นเมือง (LRT) Single Application พัฒนาระบบโครงสร้างเรื่องคมนาคมขนส่งโดยใช้ Bike Share – จักรยานแชร์ รปู แบบขนส่งระบบรถไฟรางเบา

ใช้

ระบบขนส่งมวลชน รถไฟฟ้า รางเบา (LRT)

Shuttle Buses Smart Bus นำร่องการใช้รถประจำทางที่มีการให้บริการ Wi-Fi 2561-2564 Smart Bus Stop Smart Bus Stop สามารถระบุพิกดั และเวลาการใหบ้ ริการ Complete Street ป้ายรถประจำทางอัจฉริยะ ที่เอื้อต่อการเสริมสร้าง 2561-2564 ทางเท้า/ทาง Complete street 2565-2568 จักรยาน EV Care Share การออกแบบเพื่อส่งเสริมระบบขนส่งส่งสถานะ การ เดิน รวมไปถึงการส่งเสริม Non-motorized โดยมี 2561-2564 Automation IOT เขา้ มาเกย่ี วข้อง พร้อมกับนำร่องถนนรูปแบบใหม่ 2565-2568 and City และปรับปรุงถนนเดมิ ทม่ี อี ยู่ Logistics การใช้ระบบ Drone และ RTK (Real Time Kinetic) เพอ่ื ในการคมนาคมขนสง่ 2561-2564 Smart Loop รถไฟฟา้ แบบแชร์ ศึกษาการเชื่อมโยงของระบบขนส่งรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง 2561-2564 ทางอากาศ ทางบก และทางราง 2561-2564 ใช้ พาหนะประเภทรถพลังงานไฟฟ้าส่วนกลางสำหรับ ประชาชน

หนา้ 4-4 หน้า 4-4

ชดุ โครงการ โครงการ/กิจกรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ ท่าอากาศยาน 2562-2564 ยกระดับท่าอากาศยานขอนแก่นจากเดิมเปน็ ท่า นานาชาติ อากาศยานภายในประเทศ เปน็ ทา่ อากาศยาน ขอนแก่น นานาชาติ เพื่อพัฒนาใหข้ อนแกน่ เปน็ ศนู ยก์ ลางการ ขนสง่ และโลจสิ ตกิ สข์ องภมู ิภาค ใชร้ ะยะเวลาในการ ก่อสร้าง 3 ปี จะทำใหท้ า่ อากาศขอนแกน่ สามารถรองรับผโู้ ดยสาร เพ่ิมขน้ึ จาก 2.8 ล้านคน เปน็ 5 ลา้ นคน ต่อปี ปรบั ปรุงจาก: กล่มุ งานยุทธศาสตร์และข้อมลู (2562)

จากโครงการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งอัจฉริยะ (smart mobility) ของเมืองขอนแก่นข้างต้น สามารถ จัดแบ่งชดุ โครงการตามแผนงานออกเปน็ 3 ชว่ ง คือ ระยะท่ี 1 (2561-2564) ระยะท่ี 2 (2565-2568) และระยะท่ี 3 (2569-2572) โดยกลุ่มชุดโครงการทีไ่ ด้เรมิ่ ดำเนนิ งานไปแล้วตัง้ แต่ระยะที่ 1 ประกอบดว้ ย โครงการพัฒนาระบบ จราจรยคุ ใหม่ โครงการขับเคล่ือนเพื่อพัฒนาระบบรถไฟฟา้ รางเบาขอนแก่น (LRT) โครงการ Smart Shuttle Bus โครงการ Smart Bus Stop โครงการพัฒนาถนนเพื่อการเดินทางอย่างสมบูรณ์แบบ (Complete Street) โครงการ Automation and City Logistics โครงการ Smart Loop และโครงการพัฒนาหรือยกระดับท่าอากาศ ยานนานาชาติขอนแก่น ซึ่งมีความคืบหน้าในการก่อสร้างแล้ว 10% จากปี 2562 และจะใช้เวลาในการก่อสร้าง แลว้ เสรจ็ ภายในปี 2564

ส่วนโครงการรถไฟฟ้าแบบแชร์ใช้นั้น อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้และแนวทางการพัฒนาท่ี เหมาะสม เพือ่ ทดลองให้บริการภายในเมือง โดยจะเร่มิ ดำเนินการในชว่ งระยะท่ี 3 ตามแผนแมบ่ ทการพัฒนาเมือง อัจฉริยะขอนแก่น (Khon Kaen Smart City) โดยรายละเอียดการขับเคลื่อนชุดโครงการในแต่ละช่วง รวมถึง องคป์ ระกอบของการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งอัจฉรยิ ะในแต่ละชดุ โครงการ สามารถศึกษาไดด้ งั ข้อมลู ปรากฏใน แผนภาพท่ี 4-2

แผนภาพที่ 4-2 แผนขบั เคล่ือนชดุ โครงการพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ อัจฉรยิ ะในแตล่ ะช่วง

ทีม่ าภาพ : กล่มุ งานยทุ ธศาสตร์และข้อมลู (2562)

ห น้า 4-5 หน้า 4-5

การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ หรือการใชช้ ีวิตอจั ฉริยะ (smart living) ประกอบด้วย 7 ชุดโครงการสำคัญหลัก ๆ ได้แก่ ชุดโครงการ Medical and Healthcare Application Services โครงการ City Free Wi-Fi โครงการ Safety Khon Kaen โครงการ Safety and Emergency Single App โครงการย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative District) โครงการ Smart Home และโครงการ Universal Design โดยรายละเอยี ดของแตล่ ะชุดโครงการปรากฎในตารางที่ 4-2

ตารางท่ี 4-2 ชุดโครงการพฒั นาการใชช้ วี ิตอัจฉรยิ ะ (smart living) ของเมืองขอนแกน่

ชุดโครงการ โครงการ/กิจกรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ Medical and การใช้ IOT และ เพื่อตอบโจทย์การช่วยเหลือแนะนำ และการ Healthcare Application เคลอ่ื นย้ายผู้ป่วย โดยนำร่องใน รพ.ศนู ย์ขอนแก่น รบ. Application ศรนี ครนิ ทร์ 2561-2564 หมอตู้ Services การใช้เทคโนโลยีในการให้คำปรึกษา วินิจฉัยเบื้องตน้ ผ่านการสื่อสารทางไกล โดยใช้ระบบอินเทอร์เน็ต ลด ความหนาแน่นของผู้ป่วยที่เดินทางลำบาก รวมไปถึง การวนิ ิจฉัยและเตรยี มการรักษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

City Free Wifi โครงการเฝา้ สังเกตกุ ารณ์ เปน็ โครงสร้างพ้ืนฐานในการจดั การดว้ ยระบบ IOT 2561-2564 Safety Khon ค้นหา ตดิ ตามและชว่ ยเหลอื โดยใช้ระบบ CCTV และ Drone เพื่อให้ได้ข้อมูลทั้ง 2561-2564 โครงการควบคมุ แสงสว่างใน ทางบกและอากาศแบบ Real Time Kean โดยระบบ sensor ตรวจวัดแสงเพื่อความปลอดภัย 2561-2564 Safety and เมอื ง และประหยัดพลงั งาน 2561-2564 Emergency แอพพลิเคชั่นศูนย์กลางที่ใช้เพื่อ การแจ้งเหตุฉุกเฉิน single App ตา่ ง ๆ และ ท างานร่วมกบั ระบบ IOT Creative District การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ให้เกิด เป็นพื้นที่สำหรับ แลกเปลี่ยน เรียนรู้และกิจกรรมทาง เศรษฐกิจใน ระดบั ยา่ น

การใช้ระบบ IOT ในระดับ ครัวเรือนเพื่อความ ปลอดภัยใน การใช้ชีวิต ลดการใช้พลังงาน ให้ความรู้ Smart Home เกี่ยวกับพลังงาน หมุนเวียน และการจัดการ 2561-2564

ทรัพยากร โดยสามารถ แลกเปลยี่ นขอ้ มูลในชุมชนได้

Universal การออกแบบสิ่งแวดล้อมการ สร้างสถานทีแ่ ละส่ิงของ Design ต่างๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถใช้ ประโยชน์จากสิ่งเหลา น้ันได้ อยา่ งเตม็ ท่ีและเท่าเทยี มกัน 2561-2564

ปรับปรุงจาก: กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมูล (2562)

หนา้ 4-6 หน้า 4-6

สำหรับชุดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือการใช้ชีวิตอย่างอัจฉริยะ (smart living) นี้ ได้ดำเนินการ มาแล้วครบทุกชุดโครงการ ซึ่งแต่ละโครงการจะมีกรอบเวลาในการขับเคลื่อนต่างกันไป โดยโครงการ Medical and Healthcare Application Services โครงการ City Free Wi-Fi และโครงการ Safety and Emergency Single App ได้เริ่มดำเนินการแล้วเสร็จมาตั้งแต่ระยะที่ 1ส่วนโครงการ Safety Khon Kean รวมถึงโครงการ Smart Home ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ระยะที่ 1 (2561-2564) ครอบคลุมถึงระยะที่ 2 (2565-2568) ซึ่งได้ ดำเนนิ การมาแล้วแตย่ ังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ ส่วนโครงการ Creative District และ โครงการ Universal Design ก็ ได้เริ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมมาแล้วบางส่วน เช่น โครงการพัฒนาย่านเมืองเก่าขอนแก่น “ศรีจันทร์ สร้างสรรค์” หรือ การพัฒนาระบบลิฟต์สะพานลอยสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการเชื่อมระหว่างทางเดินข้ามมายั ง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เป็นต้น ซึ่งมีกรอบระยะเวลาดำเนินการครอบคลุมมาถึงระยะที่ 3 (2561-2565) โดย รายละเอยี ดของการขบั เคล่ือนเพื่อพัฒนาการใชช้ วี ติ อย่างอัจฉริยะของแตล่ ะชุดโครงการ ปรากฏดังรายละเอียดใน

แผนภาพที่ 4-3

แผนภาพท่ี 4-3 แผนขับเคลอ่ื นชุดโครงการพัฒนาการใช้ชีวิตอจั ฉริยะในแตล่ ะชว่ ง

ท่ีมาภาพ : กลมุ่ งานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมลู (2562)

ห นา้ 4-7 หนา้ 4-7

การพัฒนาพลเมืองอัจฉริยะ (smart people) ประกอบด้วย 5 ชุดโครงการสำคัญ ได้แก่ ชุดโครงการ Stakeholder App โครงการการศึกษาอัจฉริยะ (smart education) โครการ Idea Bank and Co-working

Space โครงการพัฒนา 43 นวัตกรรมพัฒนาเมือง และโครงการอาสาสมาร์ท โดยรายละเอียดของแต่ละชุด

โครงการปรากฏในตารางท่ี 4-3

ตารางที่ 4-3 ชุดโครงการเพ่ือพัฒนาพลเมืองอัจฉริยะ (smart people) ของเมอื งขอนแก่น

ชุดโครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ stable & การสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชน Stakeholder Participation community ผ่านระบบ IOT 2561-2564 App Share Khon Kaen การแลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหว่างองคก์ รปกครองทอ้ งถนิ่

โครงการสรา้ งระบบนิเวศ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นการเรียน แบบ 2561-2564 และการเรยี นร้ขู องประชาชน Interactive สำหรับทกุ เพศทกุ วัย 2565-2568

ท่ัวไป การให้บริการระบบการศึกษาโดยพัฒนาผู้สอน หลักสูตร ครอบครัวและชุมชน โดยยึดผู้เรียนเป็น Smart Smart Classroom ศนู ยก์ ลาง ตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าล-ระดับอดุ มศึกษา 2561-2564 Education โครงการ Khon Kaen ส่งเสริมให้เด็กมีพื้นฐานการใช้ภาษาหลัก 2 ภาษา 2565-2568 2561-2564 Bilingual kindergarten ตงั้ แต่ระดับอนุบาล 2565-2568 การสลายขอบเขตของสถานศึกษากับเมือง เพื่อให้ City Campus นักศึกษาได้พัฒนาศักยภาพไปพร้อมกับเมือง โดยใช้ 2561-2564 กระบวนวธิ ี Community-based learning 2565-2568

Idea bank and การสรา้ งCreative space การสร้าง Creative space ในระดับเมือง บริเวณ 2561-2564 Co - working ในระดบั เมือง บริเวณพนื้ ที่ พื้นที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเดิมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ธนาคารแหง่ ประเทศไทยเดมิ ออกแบบและสร้างสรรค์ ของเยาวชนและ space ผปู้ ระกอบการเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์

Innovations การบูรณาการแนวคิดและขับเคล่ือนการมีส่วนร่วมใน 2561-2564 การพัฒนาเมืองจาก43นวัตกรรม เมือง ให้เกิดเป็น 2565-2568 รูปธรรม อาสา Smart การส่งเสริมคุณธรรมการมีจิตอาสาของประชาชน 2561-2564 โดยเป็นการรวมกลมุ่ ผทู้ ตี่ ้องการชว่ ยเหลือผู้อน่ื ศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารและบริการของท้องถิ่น เพ่ือ M2C e-Services Citizen Portal ความถูกต้องและรวดเรว็ ของข้อมูลข่าวสาร ให้บริการ 2561-2564 (Municipality to My Khon Kean ข้อมูล รับเรอื งราวร้องทุกข์ 2565-2568

Citizen พัฒนาช่องทางการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ชอง 2561-2564 Electronic เทศบาลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และโทรศัพท์ 2565-2568 Services) อจั ฉริยะ

Local Digital Library ระบบการใหบ้ ริการห้องสมดุ ประชาชนในท้องถน่ิ ผ่าน 2561-2564 ระบบจัดการห้องสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2565-2568

หนา้ 4-8 หนา้ 4-8

ชุดโครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ Local Local Wisdom Database การพัฒนาฐานข้อมูลความรู้ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ใน 2569-2572 ท้องถิ่น เพื่อเก็บรวบรวมและเผยแพร่ ทาง 2561-2564 Knowledge Civic e-Services อิเลก็ ทรอนิกส์ 2565-2568 Center เคร่ืองมอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ในการทำงาน 2569-2572 Local 2561-2564

Knowledge พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นแหล่ง รับฟัง Center ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ รวมถึงข้อติดขัดในการ ดำเนินโนบายต่าง ๆ ของภาครัฐ เพื่อไปถึงผู้กำหนด Policy Watch นโยบายโดยตรง 2561-2564 2565-2568 2569-2572

ปรับปรงุ จาก: กลมุ่ งานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมูล (2562)

สำหรบั การขับเคลื่อนชุดโครงการพฒั นาพลเมืองอัจฉรยิ ะนน้ั มชี ุดโครงการท่ไี ด้ดำเนนิ การไปแล้วในกรอบ ระยะที่ 1 คือ โครงการ Stakeholder App. โครงการ Idea Bank and Co-working Space และโครงการอาสา สมารท์ สว่ นอีกสองชดุ โครงการท่เี หลือ คอื ชุดโครงการ Smart Education และ 43 Innovations เพื่อการพฒั นา เมืองนั้น ได้เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ระยะที่ 1 (2561-2564) ซึ่งมีกำหนดทำให้โครงการแล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ ภายในกรอบระยะเวลาที่ 2 คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2565-2568 โดยรายละเอียดของการขับเคลือ่ นชุดโครงการในแต่ ละระยะนน้ั ปรากฏในแผนภาพท่ี 4-4

แผนภาพท่ี 4-4 แผนขบั เคล่ือนชุดโครงการเพื่อพฒั นาพลเมอื งอจั ฉรยิ ะในแต่ละระยะ ทมี่ าภาพ : กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมลู (2562)

ห น้า 4-9 หน้า 4-9

โครงการพัฒนาเศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) ประกอบด้วย 7 ชุดโครงการสำคัญ ได้แก่ ชุด โครงการ TOD (Transit-Oriented Development) โครงการ Innovation and Patent Marketing Agent

โครงการ E-SAN Trading Center โครงการ Housing: Job Balance โครงการ One Stop Services for Startup Ecosystem โครงการ MICE City และโครงการ Smart Farming โดยรายละเอียดของแต่ละชุดโครงการปรากฎ

ในตารางท่ี 4-4

ตารางท่ี 4-4 ชุดโครงการเพ่ือพฒั นาเศรษฐกิจอัจฉรยิ ะ (smart economy) ของเมืองขอนแกน่

ชุดโครงการ โครงการ/กิจกรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ TOD โครงการพัฒนาพื้นท่ีโดยรอบ สรา้ งเมอื งกระชับ ซงึ่ จะเปน็ ทั้งแหลง่ งาน ทพี่ ักอาศยั 2561-2564 ระบบขนส่งมวลชนและพนื้ ท่ี และพื้นท่เี ศรษฐกจิ ใหมช่ องเมือง 2565-2568 Innovation and เศรษฐกจิ เดมิ และใหม่ ตาม 2569-2572 patent โครงการสนับสนุนการสร้างธุรกิจจากองค์ความรู้ที่ Marketing รูปแบบ TOD in Urban เกิดขึ้นในสถานศึกษา เผยแพร่ผ่านตัวแทน 2561-2564 agent design context การตลาด ที่มเี กณฑม์ าตรฐานการขายและราคา สถานท่รี วมการทำธุรกรรมและสนิ คา้ ของภาคอีสาน 2561-2564 E-SAN Trading ท้งั กายภาพและการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลทางการค้า 2565-2568 Center

Housing : Job การออกกฎหมายที่ให้ประโยชน์แก่พัฒนาพื้นที่ใน 2561-2564 balance ด้านการลงทุนและภาษี โดยมีเงื่อนไขให้สร้างที่อยู่ 2565-2568 One Stop อาศยั สำหรบั ผูม้ รี ายได้นอ้ ย เพื่อเพม่ิ FAR และสรา้ ง Service For ย่านเศรษฐกิจในเมอื ง Startup การสร้าง Platform ที่ผู้เริ่มทำ ธุรกิจสามารถทำ Ecosystem กิจกรรมท่ี เกี่ยวข้องกับธุรกิจและแหล่ง ลงทุน เช่น 2561-2564 MICE City ศูนย์บริการเพอ่ื ให้ คำปรึกษา มกี ารทำบญั ชี พ้ืนฐาน และแหลง่ ทุน Smart Farming ส่งเสริมให้จังหวัดขอนแก่นเป็น ศูนย์กลางการจัด ประชุมและ สัมมนาของภูมิภาค โดยใช้การ จัดการ 2561-2564

ของระบบ IOT ในการ อำนวยความสะดวก - การส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าถึง ข้อมูลพื้นฐานการ ผลติ ทัง้ ด้าน ทรพั ยากรและเทคโนโลยี - ระบบที่ช่วยในการตัดสินใจ ด้านการลงทุนทาง 2561-2564 โครงการสง่ เสรมิ การเกษตร การเกษตร ตงั้ แต่การวิเคราะห์ปจั จยั การ ผลิตจนถึง 2565-2568 การออกแบบแปรรูป ผลผลิต รวมถึงการเพิ่มรายได้ 2569-2572 ระหว่างรอผลผลิต สามารถใช้ เทคโนโลยี Robotic ชว่ ยในการ ประกอบเกษตรกรรม

หนา้ 4-10 หนา้ 4-10

ชดุ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ - เครื่องมอื ชว่ ยในการออกแบบ พ้นื ท่ีการเกษตรใน เขตเศรษฐกจิ รปู แบบ Farm manual consultant สำหรบั พเิ ศษดิจติ อล ผปู้ ระกอบการรายย่อย โดยใช้ IOT แบบ อุตสาหกรรม E-commerce และการทำบญั ชี แบบ อจั ฉรยิ ะสีเขียว E- Accounting - ยกระดับอาชีพเกษตรกร ส่งเสริมให้ลูกหลาน ทำอาชีพ เกษตรกร นำที่ดินของรัฐที่มีอยู่มาสร้าง เป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษขนาด ประมาณ 300 ถึง 500 ไร่ เพอ่ื ให้ SME และ Start Upเข้า มาทำธุรกิจซึ่งธุรกิจจะต้องเป็น เกี่ยวกับ ไอโอทีหรือซอฟต์แวร์ หรือเป็น creative 2561-2564 เช่นการ ออกแบบต่าง ๆ และผู้ที่เข้ามาอยู่ ในเขต เศรษฐกิจพิเศษนี้จะได้รับ สิทธิ์พิเศษในการยกเว้น ภาษี และได้รับสิทธิ์พิเศษต่าง ๆ มากกว่าที่ได้รับ จากบโี อไอสอง เทา่ ลักษณะโครงการ สรา้ งนคิ ม อุตสาหกรรมสีเขียว สรา้ ง เกณฑ์และสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ดึงดดู นกั ลงทุน เขา้ มาสู่นคิ ม อตุ สาหกรรมสเี ขยี วคัดเลอื ก Smart Green Industry อตุ สาหกรรมทไ่ี มเ่ ปน็ พษิ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม 2561-2564

อตุ สาหกรรมที่ ส่งเสรมิ ให้เกิดธรุ กรรมต่อเนือ่ ง กับ โครงการสมารต์ ซติ จ้ี งั หวดั ขอนแก่นรวมถงึ แรงงาน ท่ีมี คุณภาพเข้ามาในจังหวัด ปรบั ปรุงจาก: กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมูล (2562)

สำหรับการขับเคลื่อนชุดโครงการพัฒนาเศรษฐกิจอัจฉริยะของเมืองขอนแก่นด้านต่าง ๆ นั้น มีชุด โครงการที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จไปแล้ว 3 ชุดโครงการในระยะที่ 1 (2561-2564) คือ ชุดโครงการ Innovation and Patent Marketing Agent ชุดโครงการ One Stop Service for Startup Ecosystem และชุดโครงการ MICE City นอกจากนี้ ยังมีชุดโครงการที่กำลังขับเคลือ่ นอยู่ในระยะที่ 2 คือ E-SAN Trading Center รวมถึงยังมี ชุดโครงการ Housing: Job Balance ที่ได้เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ระยะที่ 1 (2561-2564) ถึงระยะที่ 2 (2565-

  1. ส่วนชุดโครงการที่ได้เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ระยะที่ 1 ครอบคลุมไปจนถึงระยะที่ 3 (2569-2572) คือ ชุด โครงการ TOD (Transit-Oriented Development) และชุดโครงการ Smart Farming โดยรายละเอียดของการ ขับเคลื่อนชดุ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจอัจฉรยิ ะของเมืองขอนแกน่ ในแตล่ ะด้าน ปรากฏในแผนภาพท่ี 5-5

ห น้า 4-11 หนา้ 4-11

แผนภาพท่ี 4-5 แผนขับเคล่อื นชดุ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจอจั ฉรยิ ะของเมืองขอนแกน่ ในแต่ละระยะ

ทม่ี าภาพ : กลุ่มงานยทุ ธศาสตร์และข้อมูล (2562)

การพฒั นาสง่ิ แวดล้อมอจั ฉรยิ ะ (smart environment) ประกอบด้วย 7 ชุดโครงการสำคัญ ไดแ้ ก่ ชุดโครงการ Urban Park System โครงการจดั การขยะต้นทาง โครงการอาคารสีเขียว (green building) โครงการ Smart Grid โครงการ Solar Roof โครงการ IoT for Environment โครงการ Khon Kaen Low Carbon City โดยรายละเอียดของแต่ละชุดโครงการปรากฏใน ตารางที่ 4-5 การขับเคลื่อนชุดโครงการพัฒนาสิง่ แวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) ของเมืองขอนแก่น ในบาง ชุดโครงการได้ดำเนนิ การแล้วเสร็จไปแล้ว คือ การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ด้วย เครื่องฟอกอากาศเคลื่อนที่ แต่ยังมี ชดุ โครงการอีก 3 ชดุ ทีก่ ำลังขบั เคลื่อนโครงการอยภู่ ายในกรอบระยะที่ 1 (2561-2564) ได้แก่ ชุดโครงการขยะต้น ทาง ชุดโครงการ Solar Roof และชุดโครงการ IoT for Environment

หน้า 4-12 หน้า 4-12

ตารางที่ 4-5 ชดุ โครงการเพ่ือพฒั นาสิง่ แวดลอ้ มอัจฉริยะ (smart environment) ของเมืองขอนแก่น

ชดุ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ Urban Park สรา้ งพืน้ ท่สี เี ขยี วตามแนว Urban park Central park Pocket park และ 2561-2564 ถนน ตามกรอบ Open Green corridor เพมิ่ เป็นการทำตามเกณฑ์ smart 2565-2568 System growth 2569-2572 space system สง่ เสริมให้ทุกครัวเรืองมกี ารกำจดั คัดแยกขยะตั้งแต่ ขยะตน้ ทาง ใชพ้ ลังงานทดแทนจากทุก ต้นทาง โดยใช้ IOT รวมไปถึงการแยกขยะเปียก/ 2561-2564

Green building แหล่ง แห้ง ในครวั เรอื น ส่งเสริมให้ใช้มาตรฐานอาคารเขียวในการก่อสร้าง 2561-2564 Environment อาคารใหม่ ซึ่งมีการให้ผลประโยชน์ต่อทางธุรกิจตอ่ 2565-2568 Application นักลงทุน 2569-2572 Smart Grid การพัฒนาแอพพลเิ คชนั่ ดา้ นการจดั การส่ิงแวดล้อม Solar roof ของเมือง องค์ความรู้ ขา่ วสารและรับเรอ่ื งรอ้ งเรยี น 2561-2565 ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม และมลภาวะ IOT for ควบคุมค่าพลังงานของจังหวัดให้อยู่ในระดับคงที่ใน 2565-2568 Environment ระยะเวลาอย่างน้อย 25 ปี เพือ่ ดงึ ดดู นักลงทนุ 2569-2572 การแก้ไขปญั หา สง่ เสรมิ ให้ครวั เรอื นใช้พลังงานจากแสงอาทติ ย์ 2561-2564 ฝนุ่ ละออง PM 2.5 ด้วยเครอ่ื ง ใชร้ ะบบ IOT ในการจัดการทรพั ยากร และมลภาวะ 2561-2564 ฟอกอากาศ ตั้งแต่ระดับครัวเรือนจนถึงระดับเมือง ให้อยู่ใน เคล่อื นท่ี JET มาตรฐาน Eco-city standard เครื่องยนต์ฟอกอากาศเคลื่อนที่ที่วิศวกรชาว VENTURI ขอนแก่นร่วมกันคิดค้นขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาสภาพ SCRUBBER ERIG อากาศและปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ภายในเมือง ขอนแกน่ 02 2562

ปรับปรงุ จาก: กล่มุ งานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมลู (2562)

นอกจากน้ี ยงั มชี ดุ โครงการทเี่ ป็นชุดโครงการตอ่ เนื่องซง่ึ ไดเ้ ร่ิมดำเนินการมาต้ังแต่ระยะที่ 1 ครอบคลุมถึง ระยะท่ี 3 (2561-2572) ประกอบด้วยชุดโครงการหลัก 2 เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ ชุดโครงการ Urban Park System และชุด โครงการพัฒนาอาคารสีเขยี ว หรือ Green Building นอกจากนี้ ยังมีชุดโครงการที่วางแผนจะขับเคล่ือนในระยะท่ี 2 (2565-2568) คอื โครงการ Smart Grid ท่ีกำลงั พัฒนาระบบและโครงสรา้ งพน้ื ฐานสำหรับพฒั นาและสร้างความ มั่นคงทางพลังงานให้กับคนในเมืองขอนแก่นในห้วงเวลา 25 ปี เพื่อดึงดูดการลงทุนด้วย โดยรายละเอียดการ ขับเคลอ่ื นชดุ โครงการเพือ่ พัฒนาส่ิงแวดลอ้ มอจั ฉรยิ ะในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ปรากฏในแผนภาพที่ 4-6

ห น้า 4-13 หน้า 4-13

แผนภาพที่ 4-6 แผนขบั เคล่อื นชดุ โครงการพัฒนาส่งิ แวดล้อมอจั ฉริยะของเมืองขอนแก่น

ทีม่ าภาพ : กลุม่ งานยทุ ธศาสตร์และขอ้ มลู (2562)

การพัฒนาการจัดการภาครฐั อัจฉริยะ (smart governance) ประกอบด้วย 5 ชุดโครงการสำคัญ ได้แก่ ชุดโครงการ Open Data โครงการ Drone for City 3D Mapping/BIM โครงการ E-Government โครงการ Innovation and Digital Park และการพัฒนาจดทะเบียน จัดต้ังบรษิ ทั จำกดั ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ โดยรายละเอียของแต่ละชุดโครงการปรากฎในตารางที่ 5-6 ตารางที่ 4-6 ชุดโครงการเพื่อพัฒนาการจัดการภาครฐั อจั ฉรยิ ะ (smart governance) ของเมอื งขอนแก่น

ชดุ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ ใช้ Drone สำรวจและ ใช้ IOT เป็นตัวช่วยในการเปิดเผยข้อมูลของรัฐแก่ Open Data ประชาชนและสร้างฐานข้อมูลใหม่โดยประยุกต์กับ 2561-2564 รวบรวมขอ้ มลู ฐานข้อมูลเดิม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจำแนก 2565-2568 Drone for city ข้อมลู GIS ข้นั สูงท่ีมีหลายชน้ั ขอ้ มลู ที่ทันสมัยและเปน็ 3d mapping ปจั จบุ ัน และเพ่มิ ความโปร่งใสใหห้ น่วยงานของรัฐ สร้างข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์และกายภาพของเมืองได้เอง 2561-2564 /BIM เพือ่ ออกแบบและพัฒนาเมืองใหแ้ กป่ ระชาชน 2565-2568 E -Government - ใช้ IOT ในการบริการข้อมูลของรัฐทั้งภายใน 2561-2564 หนว่ ยงาน และระหว่างหนว่ ยงาน 2565-2568

หหนนา้ ้า 44--1144

ชดุ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ โครงการพัฒนาพ้ืนท่สี วน - ออกแบบวิธีการบริการประชาชนรูปแบบใหม่ที่มี Innovation and ประสิทธิภาพ โดยใช้ IOT เช่น One stop services Digital Park และยา่ นนวตั กรรม การใช้แบบฟอร์มที่มีรูปแบบเดียวกันและลดการใช้ บริษัทจำกัด เอกสารท่ีเป็นกระดาษ ขององค์กร สามารถดึงดูดในสถาบันวิจัยและพัฒนาระดับโลก ปกครองท้องถ่ิน พร้อมทั้งนักวิจัย นักประดิษฐ์ ผู้ผลิต นักออกแบบ Smart Meter ผูป้ ระกอบการและชุมชนมาร่วมพัฒนาและสร้างสรรค์ 2561-2564

นวัตกรรม ให้บริการคำปรึกษาจนถึงขั้นตอนการผลิต แบบครบวงจรดว้ ยการบรหิ ารจัดการท่ีมีประสิทธภิ าพ นิตบิ ุคคลมอื อาชีพในการจัดการปญั หาของเมือง การ จดั การในรูปแบบบริษัทจะชว่ ยใหม้ ีการแกป้ ัญหาที่ 2561-2564 กระชบั และมปี ระสิทธภิ าพ 2565-2568 2569-2572

ใช้ระบบไอโอทีในการส่งสัญญาณเพื่อให้ระบบ ส่ง ปริมาณการใช้น้ำไฟเพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการ 2565-2568 ออกไป จดมิเตอรต์ ่าง ๆ

พื้นที่แหล่ง สรรหาพื้นที่ในจังหวัดขอนแก่นที่เป็นพื้นที่เหมาะสม อนุรักษ์ตามเกณฑ์ แก่การอนุรักษ์และขอขึน้ ทะเบียนกับ UNESCO เพื่อ 2565-2568 ของ UNESCO เป็นการอนรุ กั ษ์ไว้ซงึ่ มรดกทางวัฒนธรรมและเป็นการ สง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวในจังหวดั ขอนแก่น การศึกษาด้านลึกถึงกฎหมายกฎระเบียบ เทศบัญญัติ ต่าง ๆ ที่สามารถส่งเสริมให้เกิดเขตเศรษฐกิจ กฎระเบยี บ ศกึ ษาและประยกุ ตใ์ ช้ สรา้ งสรรคใ์ ห้ เมือง เทศบาล จงั หวัด 2561-2564 อัจฉรยิ ะ กฎระเบยี บกฎหมายเทศ ส่งเสรมิ ใหภ้ าครฐั และเอกชนนำกฎระเบียบดังกลา่ วไป บัญญัตติ า่ ง ๆ เพอ่ื สง่ เสริมให้ ใช้สร้างเขตเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เช่นการเปลี่ยน FAR เกิดเขตเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ หรอื แมแ้ ต่การยกเว้นภาษี ลดภาษี เพอื่ ส่งเสริมให้เกิด การลงทุนสร้างระบบนิเวศของการ และดึงดูดนัก โดย

ลงทุน บูรณาการข้อมูล ของทุกภาคส่วนทั้งเอกชนและ ราชการ เพื่อสร้างแบบจำลองของ เมืองขอนแก่น 2030 ในอนาคต แสดงให้ประชาชนเห็นว่าหากการ แบบจำลอง ซอฟตแ์ วร์ Systems พัฒนาตามแนวทาง Smart city แล้วนั้น จะส่งผลดี 2561-2564 จังหวัดขอนแกน่ Dynamics Model (Stella) ต่อเมืองและประชาชนในจังหวัดอย่างไร ผังเมือง แหง่ อนาคต และ อัจฉริยะที่บูรณาการเข้ากับโครงการจะเป็นเครื่องมือ ผงั เมอื งอัจฉรยิ ะ หรอื 3D experience ช่วยในการตัดสินใจก่อสร้างโครงการต่าง ๆ รับรู้ถึง

ผลกระทบจากทุกมิติทำให้ง่ายต่อการดำเนินโครงการ ต่าง ๆ เป็นรูปธรรม เช่น ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ใน ประเทศ สงิ คโปร์

ห น้า 4-15 หนา้ 4-15

ชดุ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ Smart Local ระบบสารสนเทศ เพ่อื จดั การใบอนญุ าต ตา่ ง ๆ ท่ีออก Local e-Permit ใหโ้ ดยเทศบาล School Municipality School e- พัฒนาระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ให้กับ 2561-2564 e-Municipality Learning โรงเรยี นในสังกัดเทศบาล 2565-2568 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของนักเรียน ทะเบียนประวัติ 2569-2572 แอพพลเิ คชั่น อี Municipality School ประวัตสิ ุขภาพของนักเรยี น และอื่น ๆ แปม๋ Student Database Municipality School e- พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานด้าน (E-PAM) Admin การศกึ ษาของโรงเรยี นในสังกัดเทศบาล ระบบสารสนเทศเพือ่ เช่อื มโยงขอ้ มลู ของเทศบาล เพื่อ Mayor’s Dashboard สนบั สนนุ การตัดสินใจของผบู้ ริหาร

Document Management ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานสาร System บรรณ เพื่อจัดการข้อมูลและคลังเอกสาร Local e-Revenue อิเลก็ ทรอนกิ ส์ และติดตามคำส่งั ตา่ ง ๆ ของเทศบาล 2561-2564 ระบบจดั เกบ็ รายไดข้ องเทศบาล เพ่ือจดั การการเก็บ 2565-2568 ภาษที ้องถิน่ จัดเกบ็ คา่ ธรรมเนียมต่าง ๆ ใบเรยี กเก็บ 2569-2572

การจ่ายทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบสารสนเทศ เพอ่ื จดั การใบอนญุ าต ตา่ ง ๆ ทอี่ อก Local e-Permit ใหโ้ ดยเทศบาล

จงั หวดั ขอนแกน่ ได้พัฒนาแอพพลเิ คชั่นระบบบริหาร จัดการการประชุม (Electronic Provincial Administration Meeting : EPAM) ข้นึ เพอ่ื ใหส้ ่วน ราชการและหน่วยงานภายในจงั หวัดขอนแก่นใช้ใน Electronic Provincial การจดั การประชมุ ร่วมกนั ณ สำนกั งานหรือทีท่ ำการ Administration Meeting ของตนเอง โดยไมต่ ้องเดินทางมาประชุมทีศ่ าลากลาง ลดการใช้กระดาษ และทรพั ยากร รวมถงึ สง่ เสริมการ (EPAM)

ใชร้ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ การปฏบิ ัติงาน รวมทง้ั สนับสนนุ บคุ ลากรในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปรบั ปรุงจาก: กล่มุ งานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมลู (2562)

สำหรับการขับเคลื่อนชุดโครงการพัฒนาการบริหารจัดการจัดภาครัฐอัจฉริยะ ได้มีบางชุดโครงการที่เร่ิม ดำเนินการแล้วเสร็จอย่างเป็นรูปธรรม ก็คือ การจดทะเบียนจดั ต้ังบริษัทจำกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึง อยู่ภายใต้กรอบระยะที่ 1 (2561-2564) นอกจากนี้ ยังมีอีก 3 ชุดโครงการที่ได้เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ระยะที่ 1 (2561-2564) ครอบคลุมไปจนถึงระยะที่ 2 (2565-2568) ประกอบด้วย ชุดโครงการพัฒนาระบบ Open Data โครงการ E-Government และโครงการ Drone for City 3D Mapping/BIM ส่วนอีกหนึ่งชุดโครงการวางแผนจะ เริ่มขับเคลื่อนในระยะท่ี 2 (2565-2568) ก็คือ โครงการ Innovation and Digital Park ซึ่งรายละเอียดของการ

ขบั เคลื่อนชดุ โครงการในแตล่ ะช่วงเวลา ปรากฏในแผนภาพท่ี 4-7

หนา้ 4-16 หน้า 4-16

แผนภาพท่ี 4-7 แผนขบั เคลื่อนชดุ โครงการพฒั นาการบริหารจัดการภาครัฐอัจฉรยิ ะของเมอื งขอนแก่น

ทีม่ าภาพ : กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละข้อมูล (2562)

การพฒั นาการบริหารจดั การพลังงานอัจฉริยะอยา่ งย่งั ยนื (smart energy) สำหรบั โครงการบรหิ ารจัดการพลงั งานอจั ฉริยะ (smart energy) ประกอบดว้ ยชุดโครงการหลัก ๆ 2 ชุด โครงการ ได้แก่ ชุดโครงการด้านพลงั งานทดแทน และชุดโครงการดา้ นการบรหิ ารจดั การพลังงานอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ซงึ่ มีกิจกรรมย่อยหรอื โครงการยอ่ ยท้งั หมด 15 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั ตารางท่ี 4-7

ตารางที่ 4-7 ชุดโครงการดา้ นการบริหารจดั การพลงั งานอัจฉรยิ ะ (smart energy) ของเมอื งขอนแกน่

โครงการ/กิจกรรม ลกั ษณะโครงการ สถานภาพ โครงการส่งเสรมิ เทคโนโลยพี ลงั งาน สง่ เสริมให้ครวั เรอื นในจังหวดั ขอนแก่นพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน 2563-2565 ทดแทนชวี ภาพระดบั ชุมชน ขนาด ชีวภาพจากมูลสตั วห์ รือขยะอินทรีย์ 100 ลบ.ม. 2563-2565 โครงการส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยี ส่งเสริมให้เกษตรกรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ไม่มีแหล่งน้ำและ ระบบสบู น้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์แบบไม่ต้องใช้ แบบเคล่อื นทีไ่ ม่น้อย กว่า 300 วัตต์

ห น้า 4-17 หนา้ 4-17

โครงการ/กิจกรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ โครงการส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยี แบตเตอร์รี่สำหรับใช้ประโยชน์ในการสูบและกักเก็บน้ำเพื่อ 2563-2565 ระบบสบู น้ำพลงั งานแสงอาทติ ย์ ไม่ การเกษตรในพน้ื ที่ 2563-2565 นอ้ ยกวา่ 3,000 วตั ต์ โครงการสง่ เสรมิ การใชโ้ รงอบ ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนใช้เทคโนโลยีโรงอบแห้ง 2561-2565 พลงั งานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าและระยะเวลาใน การอบข้าวเปลือก Solar roof ส่งเสริมให้อาคารใหม่และอาคารเก่า ภายในเมืองขอนแก่นติดต้ัง Solar roof top

พัฒนาระบบจดั เกบ็ และส่งจา่ ยพลงั งานครอบคลุมทัว่ พนื้ ท่โี ครงการ 2563-2565 Floating Solar และ Solar Farm และสง่ เสรมิ ให้เกษตรกรใชพ้ ลงั งานแสงอาทิตย์เพ่ือการเกษตร 2563-2565

ขยายระบบโครงขา่ ยรถไฟฟ้าและ ติดตั้งสถานีชาร์จไฟฟ้าแบบเร็ว 12 สถานี และมีระบบจัดเก็บ 2561-2565 สง่ เสรมิ ยานยนต์ EV พลังงานแบบ Vanadium Redox Battery ครอบคลุมพน้ื ท่โี ครงการ ยานยนต์ fuel cell และถนนสายหลกั ทงั้ หมด รวมถงึ การพฒั นาลานจอดรถไฟฟ้าภายใน 2563-2565 2563-2565 เมืองด้วย 2563-2565 2563-2565 การสร้างระบบ Smart Grid ของเมืองขึ้นมา ซึ่งจะมีการนำระบบ

Smart Grid ใชพ้ ลงั งานทดแทนจาก พลังงานหมุนเวียนที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ภายในเมือง จะทำ ทุกแหลง่ ให้เมืองผลิตพลังงานหมุนเวียนใช้เองได้ถึงร้อยละ 50 หรือ 83,000

กิโลวัตตต์ ่อชัว่ โมง

โครงการส่งเสรมิ ความรคู้ วามเข้าใจ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักให้แกป่ ระชาชน

เทคโนโลยแี ละการใชพ้ ลังงาน เกี่ยวกบั ความสำคัญและประโยชน์จากการใชพ้ ลงั งานทดแทน

ทดแทน

ส่งเสริมการออกแบบอาคารแบบ passive and active design ท่ี

อาคาร ประหยดั พลงั งาน อาคารเน้นการพึ่งพาธรรมชาติและอาศัยเครื่องกลมาเสริมกับ

กายภาพภายในอาคารใหเ้ ป็นไปตามทีส่ ำนักงานตอ้ งการ

โครงการประหยดั พลงั งานไฟฟา้ ออกมาตรการส่งเสริมให้ครัวเรือน ภาคเอกชน และอาคารสำนกั งาน ตา่ ง ๆ ลดการใช้พลังงานภายในพืน้ ที่โครงการ

โครงการใช้เทคโนโลยดี จิ ติ อล (IOT) ใช้ระบบ IOT ในการจัดการพลังงานของเมือง ตั้งแต่ระดบั ครัวเรอื น

กับการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน จนถึงระดับเมือง ให้อยู่ในมาตรฐานของกระทรวงพลังงาน รวมถึง

หน้า 4-18 หนา้ 4-18

โครงการ/กจิ กรรม ลักษณะโครงการ สถานภาพ

การใช้ IOT Digital Farm บรหิ ารจดั การระบบการจ่ายนำ้ ทดลองนำ 2563-2565 2563-2565 ร่องในภาคการเกษตร 2561-2565

ยกระดบั โครงข่ายไฟฟ้าให้เป็น ตดิ ตัง้ Energy Storage แบบ Vanadium Redox Battery ในอา

Smart Grid สนบั สนนุ การพัฒนา คาคตา่ ง ๆ และในพ้ืนท่ี Biogas Power Plant และบรเิ วณบงึ ทงุ่

Energy Storage สรา้ ง ซึง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ของปริมาณพลังงานที่ผลติ ได้

(ESS) เพอ่ื สร้างเสถยี รภาพให้กับ

ระบบไฟฟา้ ทง้ั ในชุมชนและ

โรงไฟฟา้ ขนาดใหญ่

กระตนุ้ และเผยแพรค่ วามตระหนกั จัดทำโครงการรณรงค์เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักต่อปัญหา

ในการลดปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก การทำเกษตรแบบเดิมและวิถีชีวิตที่ก่อให้เกิดการสร้างก๊าซเรือน

(Greenhouse กระจกของเมือง

Effect) ของจังหวัด

ควบคุมค่าดัชนีการใชพ้ ลงั งานให้ ใช้เทคโนโลยตี ามเกณฑม์ าตรฐานของดชั นีการใช้พลงั งานตามเกณฑ์

อาคารและสถานประกอบการ Business as Usual (BAU) ของกระทรวงพลงั งาน

ทง้ั หมดทตี่ งั้ ภายใน จังหวดั

ปรบั ปรงุ จาก: แผนพัฒนาจงั หวัดขอนแก่น (2561-2563)

จากแผนพัฒนาจังหวัดขอนแก่น (2561-2565) ชุดโครงการด้านการบริหารจัดการพลังงานอย่างอัจฉริยะ (smart energy) ในบางโครงการได้เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 ยาวไปจนถึงปี 2565 ประกอบด้วย 3 โครงการนำรอ่ งไดแ้ ก่ โครงการระบบ Smart Grid ใชพ้ ลังงานทดแทนจากทุกแหลง่ โครงการควบคุมค่าดัชนีการใช้ พลังงานให้อาคารและสถานประกอบการทั้งหมดที่ตั้งภายในจังหวัด และโครงการ Solar roof ส่วนอีก 12 ชุด โครงการที่เหลือจะเริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2563 นี้ จนกระทั่งสิ้นสุดระยะเวลาตามแผนพัฒนาจังหวัดขอนแก่น นั่นก็คือ ปี พ.ศ. 2565

การประเมินความพร้อมและศักยภาพของเมืองขอนแก่นต่อการขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะและความเชื่อมโยง การพัฒนาเมอื งทง้ั 7 ดา้ น

อย่างไรก็ตาม สำหรับแผนงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่นทั้ง 7 ด้าน ไม่ได้ถูกกำหนด ขึ้นมาอย่างไร้หลักการ เพราะจากการศึกษาและวิเคราะห์ประเมินผลของทีมวิจัยพบว่า แผนการพัฒนาเมือง อัจฉริยะตามบริบทของเมืองขอนแก่นนั้น มีการออกแบบและพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมย่อยขึ้นมาครอบคลุม ตามองค์ประกอบ หลักการหรือแนวคิดของการพัฒนาเมอื งอัจฉริยะ (smart city) ครบทั้ง 7 ด้าน นอกจากนี้ เมื่อ วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่นกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ห น้า 4-19 หนา้ 4-19

แห่งชาติ รวมถงึ นโยบายการขบั เคลือ่ นประเทศไทยใหก้ ้าวสู่การเป็น THAILAND 4.0 แลว้ จะเหน็ ไดว้ ่าทุกโครงการ ตามแผนงานพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่น มีความสอดคล้อง เชื่อมโยง และบูรณาการกับแผนพัฒนาฉบับต่าง ๆ ของประเทศไทยทั้งสิ้น ดังรายละเอยี ดปรากฏในตารางที่ 14

นอกจากนี้ หลังจากที่คณะวิจัยได้ทำการศึกษากระบวนการและกลไกแปลงนโยบายการพัฒนาเมือง อัจฉริยะไปสู่การปฏิบัติในเมืองขอนแก่น ดังที่ได้นำเสนอไปแล้วในก่อนหน้านี้ พบว่า ในกรณีศึกษาของเมือง ขอนแก่นนั้น เป็นพื้นที่ที่มีความพร้อมสำหรับขับเคล่ือนการพัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก มีความพร้อมทั้งในด้านแผนงาน (authorized plan) งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ (government funding) เงินสนับสนุนจากภาคเอกชน (private funding) ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาทั้งเจ็ดด้าน (city’s infrastructure) ตลอดจนความเป็นหนึ่งเดียวกันของภาคประชาสังคมในจังหวัดขอนแก่น (civic engagement) ที่ต้องการให้เกิดการขับเคลื่อนชุดโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เมืองอัจฉริยะในแต่ละด้านเกิดขึ้นอย่าง เป็นรปู ธรรมในจงั หวัดขอนแกน่

ตารางท่ี 4-8 ความสอดคล้องของการพฒั นาเมืองอัจฉริยะขอนแก่นทง้ั 7 ดา้ น กบั ความเช่ือมโยงองค์ประกอบของ เมืองอัจฉริยะและแผนพัฒนาฉบับตา่ ง ๆ

ยุทศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ THAILAND 4.0 แผนพัฒนาเมือง และสงั คมแหง่ ชาติ อัจฉรยิ ะขอนแก่น โครงการตามแผนงานพัฒนาเมือง ัอจฉริยะขอนแ ่กน

1. ความ ั่มนคง 2. สร้างความสามารถในการแ ่ขง ัขน 3. พัฒนาและเสริมสร้าง ัศกยภาพ 4. ส ้รางความเสมอภาคและเ ่ทาเ ีทยมกันทางสังคม 5. การเ ิตบโตทาง ุคณภาพชีวิต ี่ทเ ็ปน ักบส่ิงแวดล้อม 6. ป ัรบสม ุดลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1. การ ิวจัยและพัฒนา 2. พัฒนาคนตามช่วง ัวยและการป ิฏรูประบบส ้รางสังคมสูงวัย 3. ลดความเล่ือมล้ำทางสังคม 4. รองรับการเชื่อมโยง ูภมิและความเป็นเมือง 5. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอ ่ยางเป็นมิตรกับ ิส่งแวดล้อม 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโล ียชีวภาพ 2. สาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ 3. เค ่ืรอง ืมออุปกรณ์อัจฉ ิรยะ ่ีทใช้ระบบ ิอเล็กเทอ ์รนิกส์ควบ ุคม 4. เทคโนโล ีย ี่ทเช่ือม ่ตอและ ับง ัคบ ุอปกรณ์ ่ตาง ๆ 5. ุอตสาหกรรมสร้างสรร ์คค ัวฒนธรรม และบ ิรการ 1. พัฒนาเศรษฐ ิกจใ ้ห ่มันคงมีความมสามารถในการแ ่ขง ัขน 2. พัฒนา ุคณภาพคนและสังคม 3. จัดการท ัรพยากรธรรมชา ิตเพ่ือการพัฒนา ่ีทยั่ง ืยน 4. ความปลอด ัภยในชี ิวต ท ัรพย์สิน และความ ั่มนคง 5. การพัฒนาการบริหารภาค ัรฐ

องค์ประกอบความเ ็ปนอัจฉริยะของเ ืมองขอนแ ่กน

จราจรยคุ ใหม่ ✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓

LRT ✓✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓

SHUTTLE BUSES ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

SMART BUS ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ Smart Mobility STOP COMPLETE STREET ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓✓✓

Automation and ✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓ City Logistics

หน้า 4-20 หน้า 4-20

ห นา้ 4-21 Innovation and TOD อาสา Smart Idea bank and Smart Education ✓ ✓ ✓ ✓ Stoke Holder Universal Design ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ Smart home ✓ ✓ ✓ Safety Khon CITY WIDE WIFI ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ รถไฟฟ้าแบบแชร์ Smart loop Patent Co-working App Kean ใช้ marketing agent spoce Safety and Medicall and โครงการตามแผนงานพฒั นาเมืองอจั ฉรยิ ะขอนแกน่ E-san Trading 43 Innovations Emergency Healthcare Center single app Application 1. ความมน่ั คง Creative district Services 2. สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 3. พัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓✓ ✓✓ ✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓ 4. สร้างความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสงั คม ✓✓ 5. การเติบโตทางคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นกับสิ่งแวดลอ้ ม ✓ ✓ ✓✓ 6. ปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ยทุ ศาสตรช์ าติ 20 ปี ✓ ✓✓✓ 1. การวจิ ยั และพฒั นา 2. พัฒนาคนตามช่วงวัยและการปฏริ ูประบบสร้างสงั คมสูงวัย ✓✓✓ ✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓ ✓✓ 3. ลดความเล่อื มลำ้ ทางสังคม 4. รองรบั การเชอ่ื มโยงภูมแิ ละความเปน็ เมือง ✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓ ✓ 5. พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมอยา่ งเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม ✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓ 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ ✓✓ 2. สาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ✓✓ ✓✓✓✓ 3. เครื่องมืออุปกรณอ์ จั ฉริยะทีใ่ ชร้ ะบบอิเลก็ เทอร์นกิ ส์ควบคมุและสังคมแห่งชาติ 4. เทคโนโลยที ่ีเชื่อมตอ่ และบงั คบั อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ✓✓✓ ✓ 5. อตุ สาหกรรมสร้างสรรคค์ วฒั นธรรม และบริการ 1. พัฒนาเศรษฐกจิ ใหม้ ั่นคงมคี วามมสามารถในการแข่งขนั ✓ 2. พฒั นาคณุ ภาพคนและสงั คม ✓ 3. จัดการทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอ่ื การพฒั นาทยี่ งั่ ยืน 4. ความปลอดภัยในชวี ติ ทรัพยส์ ิน และความมนั่ คง ✓ ✓✓✓✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 5. การพัฒนาการบรหิ ารภาครัฐ THAILAND 4.0 ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓ องคป์ ระกอบความเปน็ อัจฉริยะของเมืองขอนแกน่ ✓✓✓ ✓✓✓✓

✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓ แผนพฒั นาเมือง ✓ อจั ฉริยะขอนแก่น

หนา้ 4-21 ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

Smart Economy Smart People Smart Living

หนา้ 4-22 Housing : Job โครงการตามแผนงานพฒั นาเมืองอจั ฉรยิ ะขอนแกน่ หนา้ 4-22 balance One Stop 1. ความม่นั คง Service for 2. สรา้ งความสามารถในการแข่งขัน Startup 3. พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพ Ecosystem 4. สร้างความเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั ทางสังคม MICE City 5. การเติบโตทางคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นกบั สง่ิ แวดลอ้ ม Smart Farming 6. ปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ URBAN PARK 1. การวจิ ยั และพัฒนา SYSTEM 2. พัฒนาคนตามช่วงวัยและการปฏริ ปู ระบบสรา้ งสังคมสงู วัย ขยะต้นทาง 3. ลดความเลอื่ มลำ้ ทางสังคม Green building 4. รองรบั การเช่อื มโยงภมู ิและความเปน็ เมือง Smart Grid 5. พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมอย่างเป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม Solar roof 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ IOT for 2. สาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยชี ีวภาพ Environment 3. เคร่ืองมืออุปกรณ์อจั ฉริยะทใี่ ช้ระบบอิเลก็ เทอรน์ กิ สค์ วบคมุ Open Data 4. เทคโนโลยที เ่ี ช่ือมตอ่ และบังคับอุปกรณ์ต่าง ๆ Drone for city 5. อุตสาหกรรมสรา้ งสรรคค์ วัฒนธรรม และบรกิ าร 3d mopping 1. พฒั นาเศรษฐกจิ ให้มั่นคงมคี วามมสามารถในการแขง่ ขัน /BIM 2. พฒั นาคุณภาพคนและสงั คม E-Government 3. จัดการทรพั ยากรธรรมชาติเพือ่ การพฒั นาทยี่ ่ังยนื Innovation 4. ความปลอดภยั ในชีวิต ทรพั ยส์ ิน และความม่ันคง Digital Park 5. การพัฒนาการบรหิ ารภาครัฐ บริษทั จำกดั ของ องคป์ กครองส่วน องค์ประกอบความเปน็ อัจฉริยะของเมืองขอนแก่น ท้องถ่นิ Smart Grid ใช้ พลังงานทดแทน จากทกุ แหล่ง

✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓✓ ✓ ✓✓✓✓✓ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ยทุ ศาสตรช์ าติ 20 ปี ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓

✓✓✓ ✓✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓

✓ ✓✓ ✓

✓ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓✓

✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓✓✓✓✓ ✓

✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓ ✓✓✓✓✓✓✓✓✓ ✓ THAILAND 4.0

✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓✓ แผนพัฒนาเมอื ง ✓✓ อัจฉรยิ ะขอนแก่น

✓✓✓ ✓✓✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

Smart Smart Governance Smart Environment Energy

ห นา้ 4-23 โครงการสง่ เสรมิ3,000 วตั ต์กว่าแสงอาทติ ย์ ไม่นอ้ ยพลงั งานระบบสูบน้ำการใช้เทคโนโลยีโครงการสง่ เสริมกวา่ 300 วัตต์เคลอื่ นทไ่ี ม่นอ้ ยแสงอาทิตยแ์ บบพลังงานระบบสูบนำ้การใช้เทคโนโลยีโครงการส่งเสรมิแสงอาทิตย์ การใชโ้ รงอบโครงการสง่ เสริม Solar roof ควบคุมค่าดัชนีการ เทคโนโลยพี ลังงาน พลังงาน ใชพ้ ลังงานให้ ทดแทนชวี ภาพ อาคารและสถาน โครงการตามแผนงานพัฒนาเมืองอจั ฉริยะขอนแก่น ระดบั ชมุ ชน ขนาด ประกอบการ 100 ลบ.ม. ท้ังหมดทต่ี ั้งภายใน 1. ความมั่นคง จงั หวัด 2. สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 3. พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ 4. สรา้ งความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม 5. การเติบโตทางคุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นกับสง่ิ แวดล้อม ✓✓ 6. ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยทุ ศาสตรช์ าติ 20 ปี 1. การวิจัยและพฒั นา ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ 2. พัฒนาคนตามชว่ งวัยและการปฏิรูประบบสรา้ งสังคมสูงวัย แผนพฒั นาเศรษฐกิจ 3. ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม และสังคมแหง่ ชาติ 4. รองรบั การเชอ่ื มโยงภูมแิ ละความเป็นเมือง ✓ ✓ ✓ ✓ 5. พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมอย่างเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม THAILAND 4.0 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโลยชี ีวภาพ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓ 2. สาธารณสขุ สขุ ภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ แผนพฒั นาเมือง ✓✓ 3. เครื่องมืออุปกรณอ์ ัจฉริยะทีใ่ ช้ระบบอเิ ลก็ เทอร์นกิ ส์ควบคุมอัจฉรยิ ะขอนแกน่ 4. เทคโนโลยีที่เช่อื มตอ่ และบังคบั อปุ กรณต์ ่าง ๆ หนา้ 4-23 ✓ 5. อุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ค วฒั นธรรม และบริการ 1. พฒั นาเศรษฐกจิ ใหม้ น่ั คงมคี วามมสามารถในการแขง่ ขัน 2. พฒั นาคุณภาพคนและสงั คม 3. จัดการทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือการพัฒนาที่ยง่ั ยนื 4. ความปลอดภัยในชีวติ ทรพั ยส์ นิ และความมน่ั คง 5. การพัฒนาการบรหิ ารภาครฐั

องคป์ ระกอบความเปน็ อัจฉริยะของเมอื งขอนแก่น

ขนาดใหญ่ชุมชนและโรงไฟฟ้าระบบไฟฟา้ ทงั้ ในเสถยี รภาพใหก้ ับ( ESS )เพอ่ื สร้างStorageพฒั นา EnergyสนับสนุนการSmart Grid ,ไฟฟ้าให้เปน็ยกระดบั โครงข่ายพลงั งานอาคาร ประหยดัEffect) ของจังหวดั(Greenhouseกระจกปรมิ าณกา๊ ซเรือนตระหนักในการลดเผยแพรค่ วามกระตนุ้ และfuel cellยนต์ EV, ยานยนต์และสง่ เสรมิ ยาน ✓โครงขา่ ยรถไฟฟา้ขยายระบบ Floating Solarใช้พลังงานทดแทน ความรูค้ วามเข้าใจโครงการส่งเสรมิ และ Solar Farm เทคโนโลยแี ละการ โครงการตามแผนงานพัฒนาเมืองอจั ฉริยะขอนแก่น ✓ ยทุ ศาสตรช์ าติ 20 ปี 1. ความมั่นคง ✓ ✓ ✓ 2. สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 3. พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพ ✓ 4. สร้างความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม ✓ 5. การเติบโตทางคุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นกับสง่ิ แวดล้อม 6. ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ 1. การวจิ ัยและพฒั นา แผนพฒั นาเศรษฐกิจ 2. พัฒนาคนตามชว่ งวัยและการปฏิรูประบบสรา้ งสังคมสูงวัย และสงั คมแห่งชาติ หหนนา้ ้า 44--2244 3. ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม ✓ ✓ 4. รองรบั การเชอ่ื มโยงภูมแิ ละความเป็นเมือง THAILAND 4.0 5. พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมอย่างเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม ✓✓ ✓ 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโลยชี ีวภาพ แผนพฒั นาเมือง ✓✓ 2. สาธารณสขุ สขุ ภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ อจั ฉริยะขอนแก่น ✓✓ 3. เครื่องมืออุปกรณอ์ ัจฉริยะทีใ่ ช้ระบบอเิ ลก็ เทอร์นกิ ส์ควบคุม 4. เทคโนโลยีที่เช่อื มตอ่ และบังคบั อปุ กรณ์ต่าง ๆ 5. อุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ค วฒั นธรรม และบริการ 1. พฒั นาเศรษฐกิจใหม้ น่ั คงมคี วามมสามารถในการแขง่ ขัน 2. พัฒนาคณุ ภาพคนและสงั คม 3. จดั การทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือการพัฒนาที่ยง่ั ยนื 4. ความปลอดภัยในชีวติ ทรพั ยส์ นิ และความมน่ั คง 5. การพฒั นาการบรหิ ารภาครฐั

องคป์ ระกอบความเปน็ อัจฉริยะของเมอื งขอนแก่น

ยทุ ศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ THAILAND 4.0 แผนพัฒนาเมอื ง และสงั คมแห่งชาติ อจั ฉริยะขอนแก่น โครงการตามแผนงานพัฒนาเมือง ัอจฉ ิรยะขอนแ ่กน

1. ความ ั่มนคง 2. ส ้รางความสามารถในการแ ่ขง ัขน 3. พัฒนาและเสริมสร้าง ัศกยภาพ 4. สร้างความเสมอภาคและเ ่ทาเ ีทยมกันทางสังคม 5. การเ ิตบโตทาง ุคณภาพชีวิต ่ีทเ ็ปนกับสิ่งแวดล้อม 6. ป ัรบสม ุดลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1. การ ิวจัยและพัฒนา 2. พัฒนาคนตามช่วง ัวยและการปฏิรูประบบสร้างสังคมสูง ัวย 3. ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม 4. รอง ัรบการเช่ือมโยงภูมิและความเ ็ปนเมือง 5. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเ ็ปนมิตรกับ ิ่สงแวดล้อม 1. อารหาร เกษตร และเทคโนโล ียชีวภาพ 2. สาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ 3. เค ืร่อง ืมอ ุอปกรณ์ ัอจฉริยะ ่ีทใช้ระบบ ิอเล็กเทอร์นิกส์ควบ ุคม 4. เทคโนโล ีย ่ีทเช่ือม ่ตอและ ับง ัคบ ุอปกรณ์ ่ตาง ๆ 5. ุอตสาหกรรมสร้างสรร ์คค ัวฒนธรรม และบ ิรการ 1. พัฒนาเศรษฐกิจใ ้หม่ันคงมีความมสามารถในการแ ่ขง ัขน 2. พัฒนา ุคณภาพคนและสังคม 3. จัดการท ัรพยากรธรรมชา ิตเพ่ือการพัฒนา ่ีทยั่ง ืยน 4. ความปลอดภัยในชี ิวต ทรัพ ์ยสิน และความมั่นคง 5. การพัฒนาการบริหารภาครัฐ

อง ์คประกอบความเ ็ปนอัจฉริยะของเ ืมองขอนแ ่กน

โครงการใช้ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ เทคโนโลยีดิจิตอล ✓ ✓✓ (IOT) กบั การ อนุรกั ษพ์ ลังงาน โครงการประหยัด พลงั งานไฟฟา้

ดังนั้น จากการประเมินความพร้อมทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพของเมือง ความพร้อมด้าน ระบบสนับสนุน ความพร้อมด้านกลไกการขับเคลื่อน ตลอดจนความพรอ้ มด้านบริบททางสังคมของเมืองขอนแก่น จึงได้รับการประเมินให้เป็นเมืองที่มีความพร้อมต่อการรองรับและขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะในทุกด้าน ดัง รายละเอยี ดปรากฏในตารางที่ 4-9

คณะวิจยั ได้ทำการประเมินความคิดเหน็ ของผู้ทรงคุณวฒุ ิและผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องกับการทำงานพัฒนาเมือง อัจฉริยะขอนแก่น ภายใต้กรอบการวัดค่าความพร้อมและศักยภาพมิติต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 5 ประเด็นหลัก ที่จะ ส่งผลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย

ความพร้อมด้านแผนงานสำหรับขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยประเมินจากความความคลุม และความเชอ่ื มโยงของแผนงานว่าสอดคล้องตามแนวคิดหรือครอบคลุมองคป์ ระกอบการพฒั นาเมอื งอจั ฉริยะทัง้ 7 มิตหิ รอื ไม่ ตลอดจนความชดั เจนของแผนงานทั้งในเร่ืองระยะเวลา แหล่งงบประมาณ และการจัดการโครงการตาม แผนงานด้วย

ความพร้อมด้านงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐในพ้ืนท่ี โดยประเมนิ จากความเชื่อมโยงของแผนการ ดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะระดับจังหวัดและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ว่ามี แผนงานและงบประมาณสนับสนุนโครงการตามกรอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน หรือไม่ และศักยภาพ

ห นา้ 4-25 หนา้ 4-25

ของหน่วยงานภาครัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับพื้นที่มีการประสาน ความร่วมมอื เพือ่ ระดมทรัพยากรหรืองบประมาณรว่ มกันเพ่ือขบั เคลอ่ื นการพัฒนาเมอื งอจั ฉรยิ ะหรอื ไม่

ตารางท่ี 4-9 การประเมินความพร้อมของเมอื งขอนแก่นต่อการขบั เคล่อื นเพ่ือพฒั นาเมืองอัจฉริยะ

ความเป็น ความพรอ้ ม ความพร้อม ความพรอ้ ม ความพร้อม ความพรอ้ ม ภาพรวมความ อจั ฉริยะของ ดา้ นแผนงาน ด้าน ด้าน ดา้ นการ ด้านโครงสรา้ ง พรอ้ มตอ่ การ รองรบั อยา่ ง สนับสนนุ จาก พื้นฐานรองรับ พฒั นาเมอื ง เมือง งบประมาณ งบประมาณ ภาคประชา ราย 7 ด้าน จริงจัง สนบั สนนุ จาก สนบั สนนุ จาก สังคม การพัฒนา ภาคเอกชน (100%) ดา้ น ✓ ภาครฐั ✓ ✓ 100 ส่ิงแวดลอ้ ม ✓ ✓ ✓ 100 ด้านพลเมือง ✓ ✓ ✓ ✓ 100 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 100 ✓ ✓ ✓ ✓ 100 ด้านการศึกษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 100 ✓ ✓ ✓ ✓ 100 ดา้ นการ ✓ ✓ ✓ คมนาคม ✓ 100 100 100 ด้านพลังงาน 100 ✓ 100 - สภาเมือง - โครงสร้าง แผนงาน เงนิ - เงินสนบั สนนุ ขอนแกน่ พื้นฐานทาง คน กายภาพ ดา้ นการจดั การ ✓ - งบประมาณ ของบริษทั - องคก์ รชมุ ชน กายภาพของ ทางสงั คม และ ภาครฐั จังหวัด ขอนแกน่ - มูลนธิ ิชุมชน เมอื ง โครงสร้าง ดา้ นเศรษฐกจิ ขอนแกน่ ตาม พฒั นาเมือง ขอนแกน่ - การสนับสนุน พ้นื ฐานของ ✓ แผน (KKTT) ทศวรรษหน้า จาก เมืองมีความ ยุทธศาสตร์ - เงนิ สนบั สนนุ - กลมุ่ แปด มหาวิทยาลยั พรอ้ มและ ภาพรวมความ จังหวัด จาก 20 บรษิ ทั องค์กร ในพื้นที่ ศักยภาพทีจ่ ะ พร้อมของเมือง - งบประมาณ ท้องถิน่ ในเมอื ง เศรษฐกิจ - การสนบั สนนุ ขับเลือ่ นการ ขอนแก่น 100 ของเทศบาล ขอนแก่น ขอนแกน่ จาก depa พฒั นาระดับสูง - งบประมาณ - เงนิ บริจาค - กลุ่มปญั จ ภาคอสี าน (100%) - แผน ของบรษิ ัท จากภาค มติ ร - การสนบั สนนุ KKTS ประชาสงั คมท่ี - กลมุ่ ศรีจนั ทร์ จากหน่วยงาน/ ยทุ ธศาสตร์ ต้องการ club บริษัท จังหวดั ขบั เคลื่อนเมือง ตา่ งประเทศ - แผนแมบ่ ท อัจฉรยิ ะ การพัฒนา ขอนแกน่ เมอื งอัจฉริยะ 2029 - แผนจงั หวัด รายละเอียด อจั ฉรยิ ะ

ขอนแกน่ - แผนพัฒนา เมืองขอนแก่น ของ KKTS - แผนพัฒนา ท้องถ่ินของ เทศบาล

หนา้ 4-26 หนา้ 4-26

ความพร้อมด้านงบประมาณสนับสนุนของหน่วยงานภาคเอกชนในพื้นที่ โดยวัดค่าประเมินจาก เงิน งบประมาณของบริษัทพัฒนาเมืองในพื้นที่ว่ามีระดับเงินทุนสนับสนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมืองในพื้นที่หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด ตลอดจนบทบาทของภาคเอกชนในพื้นที่ต่อการระดมทรัพยากรหรือประสานความร่วมมือ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการพฒั นาเมืองอจั ฉริยะมติ ิตา่ ง ๆ ด้วย

ความพร้อมด้านการสนับสนุนจากภาคประชาสังคม ประเมินจากบทบาทและการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและองค์กรภาคประชาสังคมในพื้นที่ว่า ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำหรือพัฒนาแผนการดำเนินงาน ตลอดจนขบั เคลอื่ นการพัฒนาเมืองอจั ฉรยิ ะมากนอ้ ยเพียงใด องค์กรภาคประชาสังคมในพืน้ ที่มีความเข้มแข็งและมี ส่วนร่วมในการพัฒนาเมอื งหรือไม่ เปน็ ตน้

ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับต่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยประเมินจากโครงสร้าง พื้นฐานทางกายภาพของเมือง ว่ามีขีดความสามารถและศักยภาพมากน้อยเพียงใดที่จะทำให้แผนพัฒนาเมือง อัจฉริยะสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนบทบาทของหน่วยงานสนับสนุนที่มีผลให้เกิดการ พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานของเมอื งด้านตา่ ง ๆ ดว้ ย เชน่ โครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นเทคโนโลยี โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นการ คมนาคม โครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นระบบสาธารณปู โภค เปน็ ต้น

จากกรอบการประเมินและวัดค่าความพร้อมและศักยภาพของเมือง ดังกล่าวทั้ง 5 ประเด็นข้างต้นใน บริบทของเมืองขอนแก่น พบว่า เป็นพื้นที่ที่มีความพร้อมทั้งในเรื่องแผนงาน งบประมาณ โครงสร้างพื้นฐานทาง สังคมและกายภาพของเมือง ส่งผลให้การประเมินและวัดค่าความพร้อมทั้ง 5 ด้าน สะท้อนออกมาให้เห็นว่าเมือง ขอนแก่นเป็นเมืองที่ที่มีความพร้อมระดับสูงต่อโอกาสในการขับเคลื่อนพัฒนาเมืองอัจฉริยะใหป้ ระสบความสำเร็จ อย่างเปน็ รปู ธรรม ดังรายละเอียดในตารางท่ี 4-9 ทกี่ ล่าวมาแล้วขา้ งตน้ การพัฒนาเมืองขอนแกน่ ในช่วงการแพร่ระบาดของโควดิ -19

นับตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ.2562 เรื่อยมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ทุกประเทศทั่วโลกต่างประสบกับความ ท้าทายครั้งใหญ่อันเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 (COVID 19) จนกลายเป็นสถานการณ์ฉุกเฉิน นำมาซึ่งการสูญเสีย ความเดือดร้อน หรือความยากลำบากทางเศรษฐกิจและสังคมแก่ทุกประเทศทั่วโลก ซึ่ง แนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 นี้ ยังคงดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในขณะที่องค์ความรู้และวิทยาการของ มนุษย์ยังไม่สามารถผลิตวัคซีนหรือค้นหาวิธีการในการจัดการกับภาวการณ์แพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 ได้ ซึ่งมี ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาอีกหลายปีในการพัฒนาวัคซีนเพื่อจัดการกับเช้ือโควดิ 19 นี้ ด้วย เหตุนี้ คำถามสำคัญที่มีต่อการจัดการภาวการณ์แพร่เชื้อดังกล่าวต่อรัฐบาลในหลายประเทศทั่วโลก จึงเกิดขึ้นว่า มาตรการต่าง ๆ ที่รัฐควรดำเนินการเพื่อให้ประชาชนและกลไกทางเศรษฐกิจและสังคมดำเนินไปได้อย่างไม่ ยากลำบากมากนักภายใต้ภาวการณ์แพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 นั้น ควรเป็นไปในทิศทางใดบ้าง โดยมีหลาย ประเทศทั่วโลก เชน่ ตรกุ รี สหรฐั อเมรกิ า อิตาลี ฝรงั่ เศส รัสเซีย ญี่ปนุ่ สวิสเซอร์แลนด์ หรอื แมแ้ ต่ประเทศไทยเอง ได้ทำการปิดประเทศ (lockdown) ปิดด่านข้ามพรมแดน ระงับการเดินทางเที่ยวบินนานาชาติ รวมไปถึงการ เดินทางภายในประเทศด้วย ตลอดจนมาตรการกักตัวในสถานที่ที่รัฐจัดเตรียมไว้ให้ (state quarantine) ลดการ ชุมนมุ มว่ั สมุ ของพลเมอื งในประเทศตนเอง งดจดั กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมทีอ่ าจนำไปสู่การแพร่กระจายเช้ือ

ห นา้ 4-27 หนา้ 4-27

การเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) (Aytekin, 2020) เป็นตน้ ซ่ึงมาตรการต่าง ๆ เหลา่ น้ี ล้วนเป็นส่ง ที่ต้องดำเนินการเพื่อควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค และถือเป็นมาตรการรจำเป็นที่พลเมืองต้องปฏิบัติตาม เพื่อประโยชน์ของทุกคน อย่างไรก็ตาม ในแง่มุมหนึ่ง มาตรการเหล่านี้มีประสิทธิภาพในการจัดการกับการ แพร่กระจายของเช้อื โรคได้ดใี นหลายประเทศโดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่มีวัฒนธรรมแบบปติ าธปิ ไตย (paternalistic state) และจำยอมต่อระบบการจัดการปกครองของรัฐได้ง่ายในทวีปเอเชีย (Zhou, 2020) แต่ในอีกด้านหน่ึง มาตรการของรัฐเหล่านี้ก็นำมาซึ่งผลกระทบหรือความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและการประกอบกิจการของ ภาคอุตสาหกรรมและภาคเอกชนทุกระดับเป็นวงกว้าง

ดังนั้น ในช่วงกลางปี พ.ศ.2563 รัฐบาลหลายประเทศทั่วโลกได้ตระหนักต่ออิทธิพลและผลกระทบของ มาตรการในการจัดการกับการแพร่ระบาดของเชือ้ โควดิ 19 ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจและชีวติ ความเป็นอยู่ของคนใน ประเทศของตนเอง จึงเกิดความถามสำคัญบนฐานของขอ้ เท็จจริงทีเ่ กิดขึ้นในสงั คมที่ว่า เชื้อโรคโควิด 19 นี้ จะอยู่ กับมนุษย์ไปอีกนาน และวิทยาการหรือองค์ความรู้ในปัจจุบันของมนุษย์ยังไม่สามารถเอาชนะหรือจัดการกับเช้ือ โรคน้ไี ด้ ในขณะทม่ี าตรการของรัฐท่ีใช้จดั การกบั การแพรร่ ะบาดของเช้ือโรคก็นำมาสู่การหดตัวของระบบเศรษฐกิจ และความยากลำบากในชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานผู้มีรายได้น้อย ด้วยเหตุนี้ คำถามสำคัญของ รัฐบาลในหลายประเทศทั่วโลกจงึ ไม่ได้อยูท่ ี่การจัดการกับภาวการณ์แพรร่ ะบาดของโควิด 19 เพียงอย่างเดียว แต่ คำถามที่ว่า “จะทำอย่างไรใหร้ ะบบเศรษฐกิจและการใชช้ ีวิตของผูค้ นดำเนินอยู่ได้ภายใตส้ ถานการณ์ปจั จุบัน” จึง เป็นคำถามที่สำคัญไม่แพ้กัน กระทั่งนำมาสู่การพัฒนาแบบแผนการดำเนินชีวิตใหม่ ๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถ ดำเนินชีวิตและระบบเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนไปได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุดภายใตส้ ถานการณ์ระบาดของเชื้อ โควิดในปัจจุบันที่เรียกว่า “ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal)” เกิดขึ้น ไม่ใช่แต่ในระดับปัจเจกบุคคลเท่านั้น แต่ยัง รวมถึงแบบแผนและกลไกการขับเคลื่อนกิจกรรมในทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจเอกชน ภาคการศกึ ษา ภาคการทอ่ งเทีย่ ว ระบบสาธารณสุข หรือการทำงานของภาคราชการ เปน็ ตน้

ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนานั้นรุนแรงอย่างมากท้ังในด้านความเสียหายทางเศรษฐกิจ และความเหลือ่ มลำ้ ทางสังคม (องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย, 2563) ซึ่งธนาคารโลกประเมินว่าผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาในครั้งนี้สร้างความเสียหายเป็นวงกว้างและรุนแรงมากที่สุดในรอบ 150 ปี นับตั้งแต่ พ.ศ. 2413 (Thai PBS News, 10 มิถุนายน 2563) โดยคาดว่าอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจทั่วโลกจะติดลบ 5.2 และประชาชนทั่วโลกประมาณ 70-100 ล้านคนจะอยู่ในภาวะยากจนสุดขีด สำหรับในกรณีของประเทศไทย รายงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของธนาคารโลก คาดการณ์ว่าผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จะทำ ให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ติดลบ 3-5% โดยภาคที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือ ภาคการ ท่องเที่ยวของประเทศไทย ซึ่งมีขนาดใหญ่ราว 16% ของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) และยัง ประเมินว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจะมีอัตราการเ ติบโตต่ำที่สุดอยู่อันดับรั้งท้ายของกลุ่ม ประเทศเอเชีย-แปซิฟิกด้วยอันเนื่องมาจากผลกระทบของโควิด (World Bank, 2020; สภาการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ, 2563) ในรายงานของธนาคารโลกประจำประเทศไทย ยงั ประเมินอีกว่าประเทศไทยจะใช้เวลา มากกว่า 2 ปี ในการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังจากภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดเสร็จสิ้น (BBC News, 30 มถิ ุนายน 2020)

หน้า 4-28 หน้า 4-28

ดว้ ยเหตุน้ี ความทา้ ยสำคัญของรฐั บาลทุกประเทศทั่วโลกจึงไมไ่ ด้อยเู่ พยี งแค่การจัดการกบั การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนาเท่านั้น แต่ยังรวมถึงกลยุทธ์ในการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังจากผ่านพ้นวิกฤติครั้งนี้ด้วย อย่างไรก็ ตาม สถานการณ์ของการแพร่ระบาดปัจจุบันในประเทศไทย มีผู้ติดเชื้อสะสม 3,220 คน อยู่ในอันดับที่ 100 จาก 187 ประเทศทั่วโลก (ข้อมูลจาก กรมควบคุมโรค ณ วันที่ 13 กรกฎาคม 2563) ซึ่งผลกระทบดังกล่าว คาดการณ์ ว่าจะมีแรงงานในประเทศไทยถูกเลิกจ้างหรือตกงาน เกือบ 8.4 ล้านคน ซึ่งจะทำให้รายได้ของประชากร ภายในประเทศลดลงซ้ำเติมกับปัญหาหนี้สินครัวเรือนของคนไทยที่อาจพุ่งสูงถึงร้อยละ 80% ต่อจีดีพีซึ่งเป็น สัดส่วนที่สูงที่สุดในรอบ 18 ปี (สภาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2563; ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2563) ดังนั้น วิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาจึงกลายมาเป็นจดุ เปลี่ยนคร้ังสำคัญต่อการดำเนินงานของ รัฐบาลไทยไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานส่วนกลางหรือในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จำเป็นจะต้องมีการ ปรบั เปลยี่ นกลยทุ ธ์และจดุ เนน้ ในการดำเนินงานใหม่ทงั้ หมด เพ่อื ใหส้ อดรับกบั สภาพบริบททางเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบัน ซึ่งแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับห้วงระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา ตลอดจนวิกฤติครั้งนี้ ยังนำมาซึ่งโจทย์ปัญหา สำคัญที่มีต่อบทบาทและการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย ตลอดจนภาคเอกชนในระดับ พื้นที่ว่า จะต้องบริหารจัดการและบูรรณาการความร่วมมือในการพัฒนาเชิงพื้นที่ร่วมกันอย่างไร เพื่อขับเคลื่อน ฟื้นฟูเศรษฐกิจและแก้ไขปัญหาอันเป็นผลกระทบจากการแพร่ระบาดในระยะยาวภายในพื้นที่ของตนเองให้มี ประสิทธิภาพได้อย่างไรหากผ่านพ้นภาวะความยากลำบากน้ีไปได้ ดังนั้น ความท้าทายต่อการจดั การในช่วงระว่าง หรือหลังภาวะวิกฤติจึงเป็นโจทย์ใหญ่ที่ทุกหน่วยงานในประเทศไทยจำเป็นจะต้องให้ความตระหนักมากยิ่งขึ้นต่อ การจดั การความเสย่ี งและความไม่แนน่ อนในรูปแบบต่าง ๆ ทีอ่ าจเกิดขน้ึ ได้ตลอดเวลาในอนาคต ขอนแกน่ กับการจดั การโควดิ -19

สำหรับกรณีของจังหวัดขอนแก่น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วนจำนวนผู้ติดเชื้อภายในประเทศแล้ว พบวา่ จำนวนผ้ตู ิดเชอ้ื ของจงั หวดั ขอนแก่นถือว่ามีค่อนข้างน้อยเม่ือเทียบกับจังหวัดอ่นื ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน ซึ่งมี ประชาชนที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อเพียง 6 คน ซึ่งได้รับการรักษาหายเป็นปกติแล้วทุกคน (ข้อมูลจากกรม ควบคุมโรค ณ วันที่ 13 กรฎาคม 2563) อย่างไรก็ตาม ความท้าทายสำคัญในการจัดการกับการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนานัน้ ไม่ได้อยู่ที่การป้องกนั หรือเฝา้ ระวังการแพร่เชื้อภายในจงั หวัดเพียงอยา่ งเดียว แต่ยังรวมไปถึง การสร้างความตระหนักและความร่วมมือกับประชาชนภายในพื้นที่เพื่อจัดการกับปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อ โรคจากคนสูค่ นภายในจังหวดั ด้วย

มาตรการจัดการและรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาในจังหวัดขอนแก่นโดยหน่วยงาน ภาครฐั

จังหวัดขอนแก่นออกประกาศเพื่อจัดการกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาทั้งสิ้นจำนวน 17 ฉบับ (ข้อมูลจากศนู ยข์ ้อมูลสถานการณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา จงั หวัดขอนแกน่ ณ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2563) เร่ิมตง้ั แต่ การมุ่งยับยั้งและสกัดการนำเชื้อจากภายนอกเข้าสู่ภายในจังหวัด งดการเคลื่อนย้าย เดินทางของประชาชนท้ั ง ภายในและระหว่างประเทศ ปิดสถานที่เสี่ยง ห้ามสถานประกอบการที่มีความเสี่ยงดำเนินกิจการ และห้ามจัด กิจกรรม ชุมนุม มั่วสุมท่ีจะกอ่ ให้เกิดความเส่ียงของการแพร่กระจายเชื้อโรคภายในจังหวัด (ประกาศฉบับที่ 1-12)

ห นา้ 4-29 หน้า 4-29

การจัดการระบบการบริจาคหรือแจกสิ่งของให้แก่ประชาชนภายในเข ตพื้นที่จังหวัดขอนแก่นให้เป็นไปตาม มาตรฐานระบบสาธารณสุขและความปลอดภัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค (ประกาศฉบับที่ 13) ในช่วงปลายเดือนเมษายนซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากผลกระทบทางเศรษฐกิจในขณะนั้น จากนั้น ในช่วงต้นเดอื นพฤษภาคมเปน็ ต้นมา จังหวดั ขอนแก่นได้เรม่ิ มีการผ่อนปรนมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุม การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาภายในจังหวัด โดยเริ่มแรกได้ผ่อนคลายมาตรการบางด้าน เช่น ให้มีการจัด ประชมุ อบรม สมั มนาภายในจังหวดั ได้ แตต่ อ้ งจำกัดจำนวนผู้เขา้ รว่ ม (ประกาศฉบับที่ 14) เร่มิ ให้สถาบนั การศกึ ษา เปิดทำการเรียนการสอนได้ภายใต้การจัดการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น สถานประกอบการ เช่น ห้างสรรพสินคา้ ศูนยแ์ สดงสนิ ค้า คลินิก รา้ นเสรมิ ความงาม หรอื กลุม่ ธรุ กิจรายยอ่ ยทไ่ี ด้จงั หวัดไดท้ ำการสงั่ ใหห้ ยุดดำเนินกิจการไป สามารถเปิดกิจการได้โดยมีการจำกัดเวลาและจำนวนคน และคงไวซ้ ึง่ มาตรการป้องกันโรคอยา่ งเข้มงวด (ประกาศ ฉบับที่ 15-16) รวมถึงการเปิดสถานบันเทิงภายในจังหวัดโดยมีกำหนดเวลา สถานบริการอาบ อบ นวด การจัด กิจกรรมทางศาสนา ตลอดจนการขนส่งสาธารณะทุกประเภท ผอ่ นผันใหร้ ถขนส่งสินคา้ สาธารณะระหว่างประเทศ เดินทางเข้ามาในจังหวัดได้เพื่อบรรเทาความเดือนร้อนทางเศรษฐกิจเฉพาะเพื่อการขนส่งสินค้าเท่าน้ัน (ประกาศ ฉบับที่ 17) ตัดสินใจการคงไว้หรือผ่อนปรนมาตรการที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ จังหวัดพิจารณาจากผลกระทบที่เกิดขึ้น ทั้งผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม จากการวิเคราะห์ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ ร่วมกนั ของหนว่ ยงานภาครฐั วิชาการ และเอกชน ดงั จะไดก้ ลา่ วถึงในประเด็นตอ่ ไปน้ี

การประสานความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ วิชาการ และเอกชน ในการวิเคราะห์ผลกระทบทาง เศรษฐกจิ และสังคม ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ (Covid-19) ที่เกิดขน้ึ ในเดือนเมษายน 2563 รฐั บาลไดม้ อบอำนาจการตัดสินใจในการบริหารจัดการ Covid-19 ใหก้ บั ผวู้ ่าราชการจังหวดั ในการพิจารณา ว่า จะผ่อนปรนหรือผ่อนคลายมาตรการใดได้บ้าง เพื่อให้ได้สารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้ว่าราชการจังหวัด ขอนแกน่ ดร.สมศักด์ิ จังตระกุล จงึ ไดม้ ีการมอบหมายใหร้ องผูว้ ่าราชการจังหวดั ขอนแก่น นายศรทั ธา คชพลายุกต์ และมอบหมายด้วยวาจาให้ รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ เป็นผูป้ ระสานคณะทำงานวิเคราะหผ์ ลกระทบทางดา้ น เศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นกับประชาชนจังหวัดขอนแก่น อันเป็นสืบเนื่องมาจากการปิดเมือง ซึ่งคณะทำงาน ประกอบด้วย นายสมศักดิ์ แก้วสอน สถิติจังหวัดขอนแก่น ดร. นพดล บูรณะธนัง รองผู้อานวยการธนาคารแห่ง ประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายมนตรี ดีมานพ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นายกมลพงศ์ สงวนตระกูล ประธานหอการค้าจงั หวดั ขอนแก่น นายทรงศักด์ิ ทองไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวดั ขอนแก่น และบรษิ ทั ขอนแก่นพฒั นาเมอื ง จำกัด คณะทำงานชดุ น้ี ได้รับ การประสานงานดว้ ยวาจา เพ่อื ชว่ ยกันหาคำตอบให้กบั ผู้วา่ ราชการจังหวัดขอนแก่นว่า การปิดเมอื งในขอนแก่นใน แต่ละวนั สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมมากน้อยเพยี งใด กล่าวคือ สง่ ผลกระทบตอ่ ภาคการผลิตและภาคการ บริการในแต่ละสาขาอย่างไรบ้าง ทง้ั มูลค่าความเสยี หายทางเศรษฐกิจ และจำนวนแรงงานท่ีไดร้ ับผลกระทบแต่ละ ภาคการผลิต เพ่อื จะนำไปใชเ้ ปน็ สารสนเทศ เพือ่ สนับสนนุ การตดั สนิ ใจของจังหวัดขอนแก่น

หน้า 4-30 หน้า 4-30

บทบาทของภาคเอกชนกับการรับมือและจัดการกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาในจังหวัด ขอนแก่น

ในส่วนของภาคเอกชนได้เข้ามามีบทบาทสำคัญเช่นเดยี วกันในการรับมือ จัดการ และช่วยเหลือภาคส่วน ต่าง ๆ เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาในจังหวัดขอนแก่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาท ของบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมอื ง (KKTT) ซ่ึงประกอบดว้ ยกลมุ่ บริษัทเอกชนกว่า 20 บริษัท ได้ออกแบบแนวทางการ ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าและ เกษตรกรในจังหวัด โดยได้จัดทำโครงการ “Smart พุ่มพวง” ขึ้นมา ภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐท่ี สำคัญอย่างสำนักงานจังหวัดขอนแก่น ซึ่งได้นำเอารถเร่ขายของหรือรถพุ่มพวงแต่เดิมมาพัฒนาระบบดิจิทัล สนับสนุนชาวบ้านในการขายสินค้าให้มีความทันสมัย ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย และสะดวกสบายแก่ทั้งผู้ชื้อและ ผูข้ ายมากข้นึ โดยนายบดนิ ทร์ เสรีโยธนิ ผู้ร่วมก่อตงั้ บรษิ ัทขอนแก่นพฒั นาเมือง กลา่ วว่า

“ต้องการช่วยเหลือประชาชนที่ปัจจุบันอยู่แต่ในบ้านหรือกลับมาจากกรุงเทพฯ มาพักตัวอยู่ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกินถือเป็นปัจจัยหลักจึงมองว่า ทำอย่างไรจะส่งสินค้าถึงมือประชาชนในราคายุติธรรม และมีคณุ ภาพสูงทส่ี ุด เพ่ือใหป้ ระชาชนอยู่บ้านและไมต่ ้องออกมาเส่ยี งต่อการตดิ เชื้อโควิด 19 เราจึงคดิ รถ Smart พุ่มพวง ขึ้นมา คือ นำเอารถพุ่มพวงเดิมนำมาตดิ แอพพลิเคช่ัน ต่าง ๆ ที่เรามี ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจ่ายเงนิ ระบบ e-payment โดยเราจะวิ่งตามเส้นทางหลักๆที่มีประชาชนอาศัยอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เราจะวิ่งเข้าตามหมู่บ้าน แต่ละ หมู่บ้านเราจะวิ่งวนอยู่ประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง” (ขอนแก่นลิงค์, 2563) นอกจากนี้ นายบดินทร์ เสรีโยธิน ยังกล่าวอีกว่า “เรามีตลาดค้าส่งที่เป็นสินค้าเกษตรรายใหญ่คือตลาดศรเี มืองทอง รับสินค้ามาจากเกษตรกร ไม่ว่า จะเป็นจังหวัดขอนแกน่ และจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งวันนี้ (ช่วงวิกฤติโควิด) หลาย ๆ ตลาดก็มีลูกคา้ น้อยลง ทางพ่อค้า แมค่ า้ ก็เดือดร้อน เราก็พยายามหาช่องทางอ่ืน ๆ ที่ทำใหแ้ ม่ค้า-พ่อคา้ ขายของได้ และมีความต้องการจากทางบ้าน เป็นการทำใหผ้ ูซ้ ้ือและผู้ขายเจอกนั ได้จงึ เปน็ โมเดลในการทำรถพุม่ พวงข้ึนมา”

(บริษัทขอนแกน่ พัฒนาเมือง, 2563)

ห นา้ 4-31 หนา้ 4-31

แผนภาพที่ 4-8 รถขอนแก่น smart พ่มุ พวง

ทม่ี าภาพ: บรษิ ทั ขอนแกน่ พฒั นาเมือง

นอกจากนี้ ยังมีอีกหนึ่งโครงการที่ริเริ่มโดยบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมืองซึ่งต้องการช่วยเหลือและบรรเทา ความเครียดจากภาวะทางเศรษฐกิจฝืดเคืองและความเครยี ดจากภาวะตา่ ง ๆ จงึ ได้ทำโครงการ “ขอนแก่นอยู่บ้าน ไม่เครียด คนขอนแก่นเราไม่ทอดทิ้งกัน” ขึ้นเพื่อให้สิทธิแก่ประชาชนชาวจังหวัดขอนแก่นเท่านั้น ในการส่งวีดีโอ คลิปที่ถ่ายทำออกมาด้วยตนเองที่ต้องเป็นคลิปวีดีที่ตนเองคิดว่าตลกและสนุกที่สุด ความยาวไม่เกิน 25 วินาที เผยแพรผ่ ่านสื่อสังคมออนไลน์ โดยผู้ชนะจะไดเ้ งินรางวัล 12,345 บาท จากบรษิ ัทขอนแก่นพัฒนาเมอื ง (KKTT)

อีกหนึ่งกลไกสำคัญที่เกิดขึ้นสำหรับรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาในจังหวัดขอนแก่น คือ “แพล็ทฟอร์ม Khon Kaen Stop COVID-19” ซึ่งเกิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ภาคเอกชน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น หอการค้าจังหวัดขอนแก่น Jump Space และ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ไดท้ ำการพฒั นา platform ท่ีมลี กั ษณะเปน็ เว็บแอพพลิเคชั่นขน้ึ มาเพ่ือให้ประชาชน สถาน ประกอบการภาคเอกชน และหนว่ ยงานภาครฐั ภายในพื้นท่ใี ช้ประโยชน์ในการรับมือและบรหิ ารจัดการสถานการณ์ การแพร่ระบาดในจังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีทั้งระบบติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์ ให้ข้อมูลข่าวสาร ระบบ ปรึกษาแพทย์ออนไลน์ การออกแบบคิวอาร์โค้ดส่วนบุคคล การประเมินสถานที่ประกอบการเพื่อให้ข้อมูลด้าน ความสะอาดและมาตรฐานทางสาธารณสขุ แก่หน่วยงานภาครฐั

การแจง้ ข้อมลู ข่าวสารจากประชาชนในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรมหรือพนื้ ท่ีเส่ียงท่ีอาจก่อให้เกิดการแพร่ ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนาในชมุ ชนของตนเองหรือในพื้นท่ีอืน่ ๆ ในจังหวดั ขอนแกน่ ดว้ ย นอกจากน้ี ภายในแพล็ต ฟอร์มดังกล่าว ยังมีข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ จากหน่วยงานภาครัฐภายในจังหวัดขอนแก่น รวมถึงแบบประเมินความ เสี่ยงในการติดเชื้อ ตลอดจนมีการแจ้งข้อมูลข่าวสารหรือกิจกรรมต่าง ๆ จากสถานประกอบการในจังหวัด รวมไป ถึงโรงทานปันกนั อิ่มดว้ ย เปน็ ตน้

หน้า 4-32 หนา้ 4-32

แผนภาพท่ี 4-9 โครงการช่วยเหลือและบรรเทาผลกระทบจากโควิดแก่ประชาชนชาวขอนแก่น โดยบริษทั ขอนแก่นพฒั นาเมือง ที่มาภาพ: บรษิ ัทขอนแกน่ พฒั นาเมือง

แผนภาพท่ี 4-10 แพล็ตฟอร์ม “Khon Kaen Stop COVID-19”รับมือกบั การแพรร่ ะบาดของโควดิ ในจงั หวดั ขอนแก่น ทม่ี าภาพ : Khon Kaen Stop COVID-19

ห นา้ 4-33 หน้า 4-33

บทบาทของภาคประชาสังคมกับการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนจากการแพร่ระบาดของ ไวรัสโคโรนาในจงั หวัดขอนแก่น

แมว้ า่ ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาจะส่งผลทำให้ภาคเอกชน และประชาชน รวมถึง หน่วยงานสาธารณะประโยชน์รูปแบบต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่นไดร้ บั ความเดือดร้อนเป็นวงกวา้ ง แตอ่ ย่างไรก็ตาม องคก์ รภาคประชาสงั คมหลักในจังหวัดขอนแก่น อย่างมูลนิธชิ ุมชนขอนแก่นทศวรรษหน้า รวมไปถึงกลุ่มปัจญมิตร ซึ่งถือเป็นองค์กรภาคประชาสังคมที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนผลักดันกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ เพื่อ พัฒนาจังหวัดขอนแก่นร่วมกนั กับหน่วยงานภาครัฐในพื้นท่ีจังหวดั ขอนแก่นมาโดยตลอด เช่นเดียวกับในภาวะการ แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาองค์กรภาคประชาสังคมเหลา่ น้ี ก็ไดอ้ อกมาเคลื่อนไหวเพื่อชว่ ยเหลือและบรรเทาความ เดือดร้อนให้กับประชาชนชาวจังหวัดขอนแก่นทีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดในครั้งนี้ โดยมูลนิธิชุ มชน ขอนแก่นทศวรรษหน้า ได้มีการจดั ประชุมหารือออนไลน์อยู่บ่อยครงั้ เกย่ี วกับสภาพปัญหาการแพร่ระบาดที่เกิดขึ้น ภายในจังหวัด รวมถึงการหารือร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนภาคอสี านเพื่อหาแนวทางขับเคลื่อนการทำงาน เพ่ือพฒั นาจังหวัดให้เป็นไปอยา่ งบูรณาการและมปี ระสิทธภิ าพในช่วงการแพร่บาดของไวรัสโคโรนา โดยม่งุ เน้นไปท่ี การจัดการกับวิถีชีวิตของชาวบ้านและแบบแผนการดำเนินงานเพื่อรับมือกับโรคระบาดในระดับชุมชนเป็นหลัก โดยประยุกต์ใช้กระบวนการของสภาองค์กรชุมชนเป็นแนวทางขับเคลื่อน (สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน, 15 เมษายน 2563) ซึ่งมูลนิธิชุมชนขอนแก่นทศวรรษหน้าได้ทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานซีเอสอาร์ จ.ขอนแก่น ให้กับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการทำงานแก้ไขปัญหาความยากลำบากมิติต่าง ๆ ในช่วงวิกฤติน้ี ด้วย

นอกจากนี้ มูลนิธิชุมชนขอนแก่นทศวรรษหน้า ยังได้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเช่น จังหวัดขอนแก่น กองทุน ประชารัฐจังหวัดขอนแก่น ประสานความร่วมมือกับบริษัทซีพีออล์ เพื่อรับมอบสิ่งของบริจาคนำไปช่วยเหลือ ประชาชนชาวจังหวัดขอนแก่นที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาด้วย รวมถึงไปถึง มูลนิธิ ชมุ ชนขอนแก่นทศวรรษหน้ายังไดเ้ ข้าไปมีบทบาทสำคญั ในการขับเคลื่อนโครงการ “ครัวกลางชมุ ชนคนขอนแก่นไม่ ทิ้งกัน” (อีสานบิซ, 12 กรกฎาคม 2563; เทศบาลนครขอนแก่น, 12 กรกฎาคม 2563) ซึ่งได้ระดมความร่วมมือ จากภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เทศบาลนครขอนแก่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดขอนแก่น มูลนิธิขอนแก่นทศวรรษหน้า ผู้ประกอบการ ภาคเอกชน ซึ่งได้ระดมสิ่งของบริจาคทั้งสิ่งของอุปโภคและบริโภค รวมถึงการจัดตั้งโรงทานปันกันอิ่ม เพื่อ ช่วยเหลือกลมุ่ ประชาชนหรือผู้ยากไรท้ ่ีไดร้ ับผลกระทบจากภาวะการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา

หน้า 4-34 หนา้ 4-34

แผนภาพที่ 4-11 พธิ ีเปดิ ครวั กลางชุมชนคนขอนแกน่ ไม่ทิ้งกัน ท่มี าภาพ: อสี านบซิ //www.esanbiz.com/30936 (สบื คน้ เมือ่ 13 กรกฏาคม 2563)

ทศิ ทางการพฒั นาเมืองขอนแก่นระหว่างและหลังโควดิ การแพรร่ ะบาดของโควดิ 19 นำมาซง่ึ ขอ้ ตระหนักที่สำคัญต่อการบรหิ ารงานของท้ังหน่วยงานภาครัฐและ

การประกอบกจิ การของภาคเอกชนทั่วโลก ซง่ึ การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ดังกล่าวนี้ นำมาสู่การเปล่ียน แบบแผนกลไกทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ใหม่ รวมไปถึงประเด็นความท้าทายใหม่ ๆ ที่ผู้บริหารท้ัง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องตระหนักมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งอิทธิพลที่มีต่อการเปลี่ยนผ่านแบบแผนการ ดำเนินชีวิตและระบบเศรษฐกจิ ท่นี ำเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศรปู แบบตา่ ง ๆ เขา้ มาใชใ้ นการขับเคลอ่ื นการประกอบ กิจการหรือการดำเนินงานของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างรอบด้านไม่ว่าจะเป็นภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ภาค เกษตรกรรม หรือการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (digitalization) โดยที่เทคโนโลยีและแพล็ทฟอร์มรูปแบบ ต่าง ๆ (platform) ได้ถูกพฒั นาข้นึ มาเพือ่ นำไปใช้รองรับหรอื จัดการกบั ปญั หาทเี่ กิดข้นึ จากการแพรร่ ะบาดดงั กล่าว ด้วยเหตุนี้ ในอีกแง่มุมหนึ่ง การแพร่ระบาดของโควิด 19 จึงถือเป็นโอกาสของหน่วยงานรัฐที่ถูกนำมาใช้พัฒนา ระบบงานและเปลี่ยนผ่านแบบแผนการดำเนินชีวิตของประชาชนให้เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศรปู แบบต่าง ๆ ดว้ ย

ห น้า 4-35 หนา้ 4-35

ทศิ ทางการพฒั นาเมืองหลงั โควดิ ของจังหวัดขอนแกน่ เชน่ เดียวกบั กรณขี องเมอื งขอนแก่น การแพร่ระบาดของโควิด 19 นำมาซึง่ ข้อตระหนกั สำคัญแก่หนว่ ยงาน

ที่เกี่ยวข้องต่อทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองทั้งในภาวะปัจจุบันและอนาคต อีกทั้งยังส่งผลทำให้ โครงการขนาดใหญ่หลาย ๆ โครงการตามแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 2029 ได้รับความใส่ใจมากยิ่งขึ้นด้วย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งโครงการด้านสุขภาพและระบบสาธารณสุขของเมือง การเป็นศูนยก์ ลางดา้ นสขุ ภาพ การพัฒนา เกษตรกรรม สิ่งแวดล้อมหรือระบบนิเวศที่มิตรต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมไปถงึ การบูรณาการเทคโนโลยี เพื่อขับเคลื่อนกลไกทางเศรษฐกิจ การบริการสุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวขอนแก่นด้วย ดัง รายละเอียดในแผนการดำเนินงานเพื่อขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองของจังหวัดขอนแก่น 2561-2565 (ฉบับทบทวน) ซึ่งได้ทำการปรับปรุงแก้ไขครั้งล่าสุดและประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 8 กรกฎาคม 2563 ซึ่งเป็นช่วงที่ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาอยู่ในช่วงผ่อนปรนมาตรควบคุ มและป้องกันการแพร่ระบาดตาม นโยบายของรัฐเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจตามวิถีชีวิตใหม่ ดังนั้น แผนการพัฒนาจังหวัดขอนแก่นฉบับนี้ นอกจากจะมี เปา้ หมายเพ่ือขับเคล่ือนและฟ้ืนฟเู ศรษฐกจิ ของเมืองแล้ว ยังตระหนกั ต่อปญั หาดา้ นสาธารณสุขและระบบนิเวศของ เมืองมากย่ิงขึ้นดว้ ยดงั รายละเอียดในตารางที่ 4-10 หนา้ 4-39 ทิศทางการพัฒนาเมอื งหลงั โควดิ โดยบรษิ ัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเตม็ จำกัด (KKTS)

นอกเหนือจากแผนการดำเนนิ งานเพื่อพัฒนาเมืองขอนแก่นที่รับผดิ ชอบโดยหนว่ ยงานภาครัฐระดบั จังหวัด แล้ว ยังมีอีกหนึ่งองค์กรที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อการกำหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมือง ขอนแก่นในระดับท้องถิ่น นั่นก็คือ บริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ซึ่งเป็นบริษัทจำกัดที่เกิดขึ้น ภายใต้ความร่วมมือระหว่างเทศบาล 5 แห่งในเมืองขอนแก่น โดยพันธกิจหลักของบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิส เต็ม จำกัด (KKTS) คือ ความรับผิดชอบในด้านการพัฒนาระบบรถฟ้ารางเบา (LRT) ในจังหวัดขอนแก่น ซึ่งได้รับ ความเห็นชอบจากประชาชนและกระทรวงมหาดไทยให้ดำเนินการวิเคราะห์ผลกระทบและความก้าวหน้าที่จะ เกิดขึ้นในมิติต่าง ๆ โดยละเอียด โดยในช่วงก่อนที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโควิด 19 โครงการพัฒนาระบบ รถไฟฟ้ารางเบาดังกล่าวได้ถูกผลักดันและขับเคลื่อนจนมีความก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่อง โดยระดับความก้าวของ โครงการ ณ ปัจจุบัน บรษิ ทั ขอนแกน่ ทรานซิท ซสิ เตม็ จำกดั (KKTS) ไดว้ ่าจา้ งที่ปรึกษา ทำ TOR โดยมกี ารนำผล การศึกษาของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มาใช้เป็นกรอบแนวทางในการทำร่าง TOR และนำ TOR ดังกล่าวไปประกาศสู่สาธารณะเพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามาประมูลและ บริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิส เต็ม จำกัด (KKTS) ได้คัดเลือกและประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมินด้านเทคนิค ด้านราคา และด้านการเงินของ โครงการไปแลว้ ในชว่ งเดือนมกราคม 2563 ทผ่ี ่านมา และในปัจจบุ นั ยังมีความคืบหน้าในการดำเนินการดังนี้

ประเดน็ แรก มกี ารทบทวนผลการศึกษาของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ใหม่ อีกรอบหนึ่ง ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวเพิ่งแล้วเสร็จไปเมื่อต้นปี 2563 และต้องนำผลการศึกษาดังกล่าว กลับไปท่ี จังหวัด และจังหวัดขอนแก่นก็จะส่งผลกลับไปที่ สนข. จากนั้น ต้องรอคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) พิจารณาอนุมัติผลการศึกษาดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งหลังจากที่คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) อนุมัติผลการศึกษาดงั กล่าวเปน็ ที่เรียบรอ้ ย บริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ก็สามารถนำ ผลการศกึ ษาดังกลา่ วมาใช้ทำงานในพน้ื ท่ตี ่อไปได้

หน้า 4-36 หนา้ 4-36

ประเด็นที่สอง ในเรื่องการใช้ที่ดินของกรมการข้าวและการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีเพื่อการพาณิชย์ (Transit-Oriented Development: TOD) บริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ได้มีการสานเสวนา เพื่อหาแก้ปัญหาดังกล่าว ตลอดจนได้มีการวางแผนสำรองรองรับในกรณีที่กรมการข้าวไม่ให้ใช้ที่ดิน โ ดยบริษัท ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) อาจใช้ที่ดินแปลงอื่นในการทำโครงการดังกล่าวแทนที่ดินของ กรมการข้าว

ประเด็นที่สาม การออกแบบแนวเขตทางเดินรถไฟฟ้ารางเบา ซึ่งบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ได้หารือกับกรมทางหลวง โดยที่กรมทางหลวงต้องการให้เขตทางเดินรถไฟฟ้ารางเบาดังกล่าวยกสูงจาก ระดบั พืน้ ดนิ ดงั เชน่ กรณีแนวเขตเดนิ รถไฟแบบยกลอยของ BTS ในกรงุ เทพมหานคร แต่บริษทั ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) เห็นว่าเป็นแนวทางเดินรถไฟที่ไม่เหมาะสมสำหรับจังหวัดขอนแก่น โดยที่บริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) มองว่า แนวทางเดินรถไฟควรอยู่ระดับพื้นและยกลอยบางส่วนตรงช่วงข้ามแยก ประตูเมืองขอนแก่นและตรงแยกสามเหลี่ยม นอกนั้น ควรเป็นทางเดินรถไฟระดับพื้นดินหมด ซึ่งกรมทางหลวงมี นโยบายที่เห็นต่างหรือไม่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว โดยต้องการให้แนวทางเดินรถไฟเป็นแบบยกลอยทั้งหมด ซ่งึ ปจั จุบนั ก็กำลงั อยใู่ นระหว่างหารือเพ่ือใหไ้ ด้ข้อสรุป

ประเด็นสุดท้าย ในเรื่องของเงินลงทุนที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาระบบรถไฟฟ้ารางเบาขอนแก่น บริษัท ขอนแกน่ ทรานซทิ ซสิ เต็ม จำกัด (KKTS) ไดม้ กี ารเจรจากบั นักลงทุนจากต่างชาติท่ปี ระสงค์จะเขา้ มาร่วมลงทุนกับ บรษิ ทั ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ซ่งึ มีทงั้ หมดจำนวน 3 กองทนุ ประกอบดว้ ย กองทุ นจากประเทศ เยอรมันนี 1 และจากประเทศจีนอีก 2 กองทุน โดยได้มีการเซ็นสัญญาการไม่เปิดเผยความลับ (non-disclosure agreement: NDA) ไปเรียบร้อยแล้ว กองทุนดังกล่าวข้างต้นไดม้ ีการศึกษาสัญญาไปกว่า 1 ปี และมีการเจรจากัน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แตท่ วา่ ก็มีความลา้ ช้าเนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 19 (COVID-

  1. ซ่ึงกก็ ระทบในภาพรวม

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ภายใต้ ความรับผิดชอบของบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ได้รับคำสั่งอนุมัติจากทางรัฐบาลครบ หมดแล้ว โดยคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) ได้อนุมัติให้จังหวัดขอนแก่นขอนแก่นสามารถ ดำเนินการหรือรับผิดชอบโครงการรถไฟฟ้ารางบางในพื้นที่ของตนเองได้ ซึ่งทางผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่นก็ได้ สง่ มอบภารกิจดังกลา่ วใหห้ ้าเทศบาลซ่งึ ในเวลาต่อมาเทศบาลทั้ง 5 ก็ไดม้ อบหมายภารกจิ ใหบ้ รษิ ัทขอนแก่น ทราน ซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญและสะท้อนให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการ ขับเคล่ือนโครงการรถไฟฟ้ารางเบาอย่างมาก

อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) ในจังหวัดขอนแก่นแล้ว ภายใต้ นโยบายและทิศทางในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองขอนแก่น ของบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิส เต็ม จำกัด (KKTS) ในช่วงหลังวิกฤติโควิด 19 นี้ ได้ตระหนักต่อปัญหาด้านสุขอนามัยและการพัฒนาระบบกลไก เพอ่ื จดั การกับปญั หาขยะของจังหวดั ดว้ ย ซ่ึงบทบาทหน้าที่ของบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกดั (KKTS) จะ

ห นา้ 4-37 หนา้ 4-37

ไม่ได้จำกัดเฉพาะการพัฒนารถไฟฟ้ารางเบาอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงกิจการด้านโครงสร้างพื้นฐานและการ จัดการขยะของเมืองดว้ ย โดยทบ่ี รษิ ทั ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเตม็ จำกัด (KKTS) จะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการ พฒั นาเมอื งอย่างรอบด้านมากข้ึน เนือ่ งจากความคลอ่ งตวั และศักยภาพในการดำเนินงานหลาย ๆ ดา้ น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในด้านงบประมาณและกฎหมาย โดยจังหวัดขอนแก่นได้เข้ามาทำการปรึกษาหารือกับเทศบาลนคร ขอนแก่น เพื่อเจรจาหาแนวทางการจัดการขยะของเมืองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยต้องการให้บริษัท ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกดั (KKTS) เปน็ ศนู ยก์ ลางในการรวบรวมและบริหารจดั การขยะจากองค์การบริหาร ส่วนตำบลและเทศบาลทุกแห่งในจังหวัดขอนแก่นเพื่อนำไปกำจัดหรือนำไปพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ในส่วนท่ี เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นภารกิจอันสำคัญที่มีผลอย่างมากต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการดำเนินงานของบริษัท ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ให้มีประสิทธิภาพและกลายเป็นต้นแบบด้านการจัดการขยะท่ีได้รับการ ยอมรับมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันทางเทศบาลนครขอนแก่นก็ได้หารือกับวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เพือ่ ศกึ ษาขอ้ กฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องตอ่ ไป

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าโครงการขนาดใหญ่ที่จะกลายเป็นต้นแบบของการพัฒนาเมืองตามแนวทางขอนแก่น โมเดลในช่วงหลังโควิด 19 ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) นั้น ยังคงเป็น โครงการที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์และแบบแผนการดำเนินชีวิตของประชาชนชาวขอนแก่น อย่างสิ้นเชิงโดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการพัฒนาระบบรถไฟฟ้ารางเบาขอนแก่น รวมไปถึงโครงการใหม่ที่กำลังจะ เกิดขึ้นในช่วงหลังโควิด 19 ก็คือ ภารกิจในการจัดการขยะทุกพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัดขอนแก่น ของบริษัท ขอนแก่น ทรานซิท ซิสเต็ม จำกัด (KKTS) ซึ่งหากทั้งสองโครงการ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเร็วที่สุด ยิ่งจะทำให้ ประเทศไทยไดม้ ีต้นแบบแนวทางการพฒั นาเมืองรูปแบบใหมท่ ่ีมีบรษิ ัทจำกดั ของเทศบาล เปน็ ฟนั เฟอื งชิน้ สำคัญใน การขับเคลื่อนเศรษฐกจิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอยา่ งรอบด้านดว้ ย

หน้า 4-38 หนา้ 4-38

หนา้ 4-39 ตารางท่ี 4-10 สรปุ สาระสำคัญและทิศทางการพฒั นาเมืองของจังหวัดขอนแก่นฉบบั ทบทวน 2561-2565

ประเดน็ การพฒั นา กลมุ่ โครงการหลัก กลมุ่ โครงการย่อย วตั ถปุ ระสงค์ การยกระดับการพฒั นา โครงการสง่ เสรมิ และเพ่ิม 1. การพัฒนาแหล่งนำ้ และระบบกระจายนำ้ เพื่อเพ่ิม 1. เพ่อื พัฒนาปัจจยั พื้นฐานดา้ นการเกษตร เศรษฐกจิ เพื่อเพิ่มขีด ประสทิ ธภิ าพพชื เศรษฐกจิ ประสิทธภิ าพการผลติ พชื เศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ การจดั หาแหล่งนำ้ และระบบกระจายนำ้ ความสามารถทางการแขง่ ขัน และพัฒนาคณุ ภาพ 2. การพัฒนาคณุ ภาพดินเพือ่ การผลติ พืชเศรษฐกิจ เพือ่ การเกษตรการปรับปรงุ บำรงุ ดนิ และเชือ่ มโยงโอกาสจากประเทศ ผลติ ภณั ฑ์สินคา้ เกษตร 3.การพัฒนาคณุ ภาพการผลิตและเพ่มิ มลู คา่ ผลผลติ ข้าว 2. เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการผลติ พชื เศรษฐกจิ คอื อนุภูมภิ าคลุม่ น้ำโขง 4. การเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตออ้ ย ข้าว มันสำปะหลงั ออ้ ยโรงงานและไมผ้ ล 5. พัฒนาคุณภาพและเพม่ิ มลู คา่ การผลิตมนั สำปะหลัง 3.เพื่อลดต้นทุนการผลิตพชื เศรษฐกจิ หลัก ขา้ ว 6. โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการแปรรปู สนิ ค้าเกษตร มันสำปะหลงั และอ้อยโรงงาน 7. สง่ เสรมิ และขยายช่องทางการตลาดสินคา้ เกษตร 4. เพอ่ื จดั ทำแปลงเรยี นรดู้ า้ นการเกษตรในการ 8. การตดิ ตามประเมนิ ผล เพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ สินคา้ เกษตร 5. ส่งเสรมิ การแปรรปู สนิ คา้ เกษตร โครงการส่งเสริมและพฒั นา 1. การขดุ บ่อนำ้ ขนาดเลก็ ในฟารม์ ปศสุ ัตว์ 1. เพ่ือเกบ็ รกั ษาแมโ่ คพนั ธ์ดุ ี ไว้ผลติ โคขนุ อาชีพดา้ นปศสุ ตั วใ์ นจงั หวดั 2. การสง่ เสริมการปลูกขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ คุณภาพดีรองรับความตอ้ งการตลาด ขอนแก่น 3. ส่งเสรมิ การใช้พลงั งานแสงอาทิตยใ์ นฟารม์ ปศสุ ตั ว์ 2. เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ เนอื้ โคขนุ 4. การส่งเสรมิ การรกั ษาโคแม่พันธ์ุเพ่อื ผลิตโคขนุ คณุ ภาพดี คุณภาพดี ใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของ 5. เพิ่มศักยภาพการผลิตโคนมเพอ่ื ความมัน่ คงดา้ นอาหาร ตลาดในอนาคต 6. การติดตามและประเมินผลโครงการ 3. เพอ่ื สนบั สนุนแหลง่ น้ำในฟาร์มปศสุ ัตวแ์ ละ พืน้ ทีก่ ารเกษตร 4. เพ่ือสง่ เสรมิ การใช้พลงั งานทดแทน และลด ต้นทุนด้านพลงั งานในฟารม์ ปศสุ ัตว์และพ้นื ท่ี เกษตร 5. เพอื่ ส่งเสรมิ การใช้ขา้ วโพดในการเลย้ี งโคขนุ ให้ได้คณุ ภาพ 6. เพอ่ื ลดค่าใชจ้ า่ ยในการเล้ียงดโู คนม ระยะ โค สาว-โคทอ้ ง ของเกษตรกร

หน้า 4-39

ประเด็นการพฒั นา กลมุ่ โครงการหลัก กล่มุ โครงการย่อย วัตถปุ ระสงค์ การยกระดบั การพัฒนา 7. เพื่อยกระดบั การเล้ียงไกพ่ ื้นเมอื ง สูม่ าตรฐาน เศรษฐกิจเพ่ือเพม่ิ ขดี สนิ คา้ ปศสุ ัตวใ์ นระดบั ทีส่ งู ข้ึน ความสามารถทางการแขง่ ขัน 8. เพอ่ื ยกระดบั การเลยี้ งจิง้ หรดี สอู่ าชีพหลกั ของ และเชื่อมโยงโอกาสจากประเทศ เกษตรกร และพัฒนาการเลย้ี งจิ้งหรีดสูเ่ ชงิ อนุภูมภิ าคลุม่ นำ้ โขง พาณชิ ย์ 9. เพือ่ ส่งเสรมิ พัฒนาอาชีพการเลยี้ งแพะ สู่ พฒั นาศกั ยภาพการค้า การ 1. ยกระดบั ผปู้ ระกอบการผลิตภณั ฑช์ มุ ชนสูค่ วามเป็น อาชพี หลกั ท่ีสร้างรายไดแ้ ก่เกษตรกรอยา่ งย่งั ยืน ลงทุน สินค้า OTOP SMEs สากลด้วยอตั ลักษณเ์ มือง 1. เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภาพการผลติ หม่อนไหมของ และผลิตภณั ฑ์จงั หวัด 2. พัฒนาคณุ ภาพผลิตภัณฑผ์ า้ ใหไ้ ด้มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ เกษตรกร ขอนแก่น ชมุ ชน (มผช.) 2. เพื่อพฒั นาประสิทธิภาพการผลติ เส้นไหม ผ้า 3. พฒั นาขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของ ไหม และผลิตภัณฑ์ ให้ไดม้ าตรฐาน ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยี และ 4. การส่งเสริมดา้ นการตลาด นวัตกรรม พร้อมสรา้ งเครือขา่ ยธรุ กิจหม่อนไหม ให้เขม้ แขง็ โครงการพฒั นาสินค้า 1. การจดั หานำ้ สำหรบั การทำเกษตรอนิ ทรีย์ 4. เพือ่ เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์เมืองหตั ถกรรม เกษตรปลอดภัยจงั หวดั 2. สง่ เสรมิ และพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตามแนวปรชั ญา โลกแห่งผา้ มัดหม่ี ขอนแก่น เศรษฐกจิ พอเพียง 5. เพ่ือสร้างโอกาสทางการตลาดและเพิม่ ขดี 3. การสง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพการผลิตสนิ คา้ ความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ หนา้ 4-40 การเกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐานปลอดภยั 1. เพ่อื เพมิ่ ศกั ยภาพการผลติ อาหารเกษตร 4. ส่งเสรมิ การตลาดสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยและเกษตร ปลอดภยั อินทรยี ์ 2. เพ่ือสร้างมูลค่าเพม่ิ สินคา้ เกษตร 5. การตดิ ตามประเมนิ ผล 3. เพือ่ สร้างความเขม้ แขง็ แก่เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรเป็นตน้ แบบการพฒั นา Smart Farming & Farmer 4. เพอ่ื พัฒนาเครือขา่ ยผผู้ ลติ อาหารเกษตร ปลอดภัยในกลุม่ จังหวดั และนอกกลุ่มจงั หวดั

หนา้ 4-40

หนา้ 4-41 ประเดน็ การพฒั นา กล่มุ โครงการหลกั กลุม่ โครงการย่อย วัตถปุ ระสงค์ การยกระดับการพัฒนา 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาการทอ่ งเท่ียวเส้นทางไดโนเสารแ์ ละ 5. เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ ยกระดับ เศรษฐกจิ เพอ่ื เพม่ิ ขดี อุทยานธรณี Khonkaen Geo Park ผลผลติ และใหเ้ กษตรกรสามารถแข่งขนั กับ ความสามารถทางการแข่งขนั 2. การสง่ เสริมการทอ่ งเท่ยี วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรม อัตลักษณ์ ประเทศในภมู ิภาคอาเซยี น และเช่ือมโยงโอกาสจากประเทศ อีสาน 6.ให้เกษตรกรใช้เทคโนโลยีอย่างถูกตอ้ งและ อนุภมู ภิ าคลมุ่ นำ้ โขง 3. พัฒนาศกั ยภาพทางการทอ่ งเท่ียวบนฐานรากทรัพยากร เหมาะสมตามหลกั วชิ าการ ในพน้ื ถิน่ สู่การสง่ เสรมิ การเป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนเพือ่ 7. เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรได้รับความรแู้ ละมที กั ษะใน โครงการสง่ เสรมิ และ แก้จนอยา่ งยงั่ ยืน จังหวัดขอนแกน่ การปฏบิ ตั เิ รอ่ื งการทำเกษตรอินทรีย์สง่ เสรมิ ให้ พัฒนาการท่องเทยี่ วเชิง 4. ส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจงั หวดั เกษตรกรนำความรไู้ ปสู่ การปฏิบตั ิทีไ่ ดผ้ ลเปน็ ประวัตศิ าสตร์ ขอนแก่น รปู ธรรมและสามารถขยายความรสู้ เู่ กษตรกร ศิลปวัฒนธรรมและการ 5. พัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วจงั หวดั ขอนแกน่ ขา้ งเคยี งได้ ท่องเทยี่ วชุมชน 6. การจดั กจิ กรรมและการประชาสมั พันธ์เพื่อส่งเสรมิ การ 8. เพอื่ ใหเ้ กษตรกรลดต้นทนุ การผลิตและมี ท่องเท่ยี ว รายได้เพิม่ ข้นึ 9. เพ่อื สร้างผู้ประกอบการผักอินทรียใ์ ห้สามารถ ดำเนนิ การตลอดห่วงโซค่ ณุ คา่ 10.พฒั นาการเกษตรอาหารปลอดภัยในโรงเรียน (Q-School) 1. เพอ่ื ศึกษาวิจัย อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาแหลง่ ท่องเทย่ี ว 2. เพอ่ื ใหภ้ าคธุรกิจบริการของจังหวัดขอนแกน่ มคี วามพร้อมในการแขง่ ขนั 3. เพือ่ การประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพรธ่ รุ กิจภาค บริการ และการท่องเท่ยี วของจงั หวัดขอนแก่น ให้เปน็ ทรี่ จู้ กั มากยิง่ ข้ึน 4. เพ่อื เป็นการกระตุ้น ดึงดดู นักทอ่ งเท่ยี วให้ เดนิ ทางมาท่องเที่ยวจังหวดั ขอนแก่นเพม่ิ มากขึ้น และเพ่ิมศักยภาพอตุ สาหกรรม MICE ของ จังหวัด

หนา้ 4-41

ประเด็นการพฒั นา กลุม่ โครงการหลัก กลุม่ โครงการยอ่ ย วัตถุประสงค์ การยกระดบั การพัฒนา โครงการสง่ เสริมและพัฒนา 1. สนบั สนนุ บ่อบาดาลพร้อมระบบสบู นำ้ พลงั งาน 1. เพ่ือพัฒนาปัจจัยพืน้ ฐานด้านการเกษตร เศรษฐกิจเพอ่ื เพมิ่ ขดี อาชีพตามหลักปรัชญา แสงอาทติ ย์ ได้แก่ การจดั หาแหลง่ นำ้ และระบบกระจายนำ้ ความสามารถทางการแข่งขัน เศรษฐกจิ พอเพียง 2. การสง่ เสริมและพัฒนาอาชพี เกษตรกรเพอื่ ลดความ เพ่อื ให้เกษตรกรมคี วามรู้ และความพรอ้ มในการ และเชื่อมโยงโอกาสจากประเทศ เสยี่ งในการทำการเกษตร ทำการเกษตรเกษตรทฤษฏใี หม่ อนภุ ูมภิ าคลมุ่ นำ้ โขง 3. การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตแพะเนอ้ื คณุ ภาพเพอื่ 2. เพอ่ื เพิ่มรายได้ ลดต้นทนุ ลดความเสย่ี งใน ความม่นั คงด้านอาหารแบบครบวงจร การประกอบอาชีพเกษตร และลดผลกระทบ โครงการพัฒนาโครงสร้าง 4. ส่งเสรมิ การผลติ สตั วเ์ ศรษฐกจิ (ไกพ่ ื้นเมอื ง) เพ่ือ จากภัยธรรมชาติ พืน้ ฐานเพอ่ื ยกระดับการ สุขภาพแบบครบวงจร 1. ปรบั ปรุง พัฒนา โครงสรา้ งพน้ื ฐานเพือ่ พฒั นาเศรษฐกจิ 5. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการเลีย้ งจิง้ หรดี เชงิ พาณิชยเ์ พื่อความ อำนวยความสะดวก และยกระดับคุณภาพชวี ติ มั่นคงดา้ นอาหาร ให้กบั ประชาชน การพัฒนาคนและสงั คมทม่ี ี โครงการสง่ เสรมิ คณุ ภาพ 1. การพัฒนาโครงขา่ ยคมนาคมสายรอง 2. เพอ่ื ยกระดบั และส่งเสริมการลงทุน กอ่ ใหเ้ กิด คุณภาพ ชีวติ ประชาชนส่สู งั คมทเี่ ปน็ 2. การเพิม่ ศักยภาพดา้ นการคมนาคมขนสง่ ถนนสายหลกั การกระตุ้นเศรษฐกิจในระดบั พืน้ ที่ สขุ อยา่ งยัง่ ยนื 3. การก่อสร้างทางเลยี่ งเมอื งชมุ แพ 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ี 4. การขยายทอ่ งทางการจราจร ทางหลวง ท้งั ดา้ นการศกึ ษาสาธารณสขุ การมีงานทำและ 5. การกอ่ สรา้ งทางแยกตา่ งระดบั รายได้ 1. โครงการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์พร้อมเขา้ สู่การเปน็ 2. สง่ เสรมิ หมบู่ ้านและชุมชนใหม้ คี วามเข้มแข็ง แรงงานคณุ ภาพ (Super Worker) รองรบั การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 2. โครงการสรา้ งงานสรา้ งอาชพี และมหกรรมอาชีพ 3. เพอ่ื สรา้ งสรรคส์ งั คมใหอ้ ยเู่ ย็นเป็นสขุ เป็น 3. โครงการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการทดสอบ เมอื งทน่ี า่ อยู่ ระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน 4. เพ่ือสง่ เสรมิ ครัวเรือนยากจน ใหส้ ามารถ 4. โครงการเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ คนพิการจงั หวดั บริหารจดั การชวี ติ ตนเองได้ ขอนแก่น หนา้ 4-42 5. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพเดก็ และเยาวชน จงั หวัดขอนแกน่ 6. โครงการตน้ กล้าครอบครวั ชุมชนเพ่ือป้องกนั ความเสี่ยง ในการคา้ ประเวณี 7. โครงการยกระดับคณุ ภาพชีวิตครวั เรือนยากจนผมู้ ี รายได้ต่ำกวา่ เกณฑ์ จปฐ.

หนา้ 4-42

หนา้ 4-43 ประเดน็ การพฒั นา กลุ่มโครงการหลกั กล่มุ โครงการย่อย วตั ถุประสงค์ การพัฒนาคนและสังคมทม่ี ี 8. โครงการเพ่ิมศักยภาพแหลง่ ทอ่ งเที่ยวจงั หวัดขอนแกน่ ด้วยสือ่ ประสมการเรยี นรู้ 3 มิติ สำหรับผู้พกิ ารทางสายตา หนา้ 4-43 คุณภาพ นานาชาติ 9. ห้องเรยี นแสงสว่างในความมืดดว้ ยชดุ ผลติ ส่ือประสม 3 โครงการพัฒนาคณุ ภาพ มิติ สำหรบั ผพู้ ิการทางสายตา ชีวติ ผ้สู งู อายุจงั หวดั 10. ยกระดับฝมี ือแรงงานภายใตม้ าตรฐานสากล หลักสตู ร ขอนแกน่ ไทยไมซ์สเตอร์ 11. โครงการวิจัย การพัฒนาแนวทางในการปอ้ งกนั และ แก้ไขปญั หาการตงั้ ครรภ์ในวัยรุ่นในโรงเรียน 1. โครงการผู้วเิ คราะห์ปัญหาสุขภาพของผ้สู ูงอายุใน จังหวดั ขอนแก่นดว้ ยวิธกี ารทำเหมอื งข้อมูล 2. โครงการต้นแบบการพัฒนาบา้ นพักอาศยั และชมุ ชน สำหรับผสู้ งู อายุ 3. โครงการพัฒนาระบบ Smart Healthy สำหรับ ผสู้ งู อายยุ ุค 4.0 4. โครงการพฒั นาทักษะชวี ติ ของผสู้ ูงอายแุ ละผเู้ ตรียมเขา้ สู่วยั สูงอายุ 5. โครงการคา่ ยครอบครวั สำหรับผูส้ งู อายุ 6. โครงการอบรมอาสาสมคั ร Care Giver 7. โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ สูงอายุ (OTOP Senior) 8. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ ดา้ นภมู ิปัญญา ทางวัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ 9. โครงการพฒั นาตน้ แบบการป้องกัน คุ้มครองเฝ้าระวัง การทอดทิ้งและทารณุ กรรมผูส้ งู อายุ โดยการมสี ว่ นรว่ ม จองศูนยพ์ ัฒนาครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.) ครอบครวั และ ชมุ ชน

ประเด็นการพัฒนา กลุม่ โครงการหลัก กลุม่ โครงการยอ่ ย วัตถปุ ระสงค์ การพฒั นาคนและสงั คมทมี่ ี โครงการพฒั นาคณุ ภาพ 10. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน 4.0 ชวี ติ ทกุ กลุม่ วัย เพอื่ Smart อย่างยั่งยืน 1. เพื่อพัฒนาแหลง่ น้ำใหม่ เพิม่ แหล่งเกบ็ กกั นำ้ คณุ ภาพ People, Smart Kids, 11. โครงการพัฒนาเทคโนโลยเี พ่ือดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี ีภาวะ ในพนื้ ทีท่ ีข่ าดแคลนนำ้ ใหม้ ี นำ้ อปุ โภค บรโิ ภค การบรหิ ารจัดการ Smart Citizen ฉกุ เฉินทางการแพทย์ การเกษตร อย่างเพียงพอ ทรัพยากรธรรมชาติและ โครงการอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟูและ 1. การบรหิ ารจัดการการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 2. เพ่ือเพมิ่ ศกั ยภาพการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร สิง่ แวดล้อมเพ่อื การพัฒนาอย่าง พัฒนาแหล่งนำ้ เพอ่ื 2. การพัฒนากลมุ่ แมแ่ ละเดก็ แหล่งนำ้ ในชุมชนในการ ยัง่ ยืนแผนงาน บรหิ ารจดั การน้ำ แก้ปัญหาอุทกภยั และภยั 3. การพัฒนากลมุ่ เดก็ ปฐมวัย แกไ้ ขปัญหาด้านสาธารณภยั และบรหิ ารจดั การ แบบบรู ณาการอยา่ งย่ังยืน แลง้ 4. สง่ เสรมิ สุขภาพเด็กวยั เรยี นสูงดสี มสว่ น แขง็ แรง สมอง ทรัพยากรแหล่งนำ้ ร่วมกัน ดี 3. เพ่ือให้ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีขน้ึ มี 5. สง่ เสรมิ สขุ ภาพกลมุ่ วยั รนุ่ รายไดแ้ ละผลผลิตทส่ี ูงขึ้นแกไ้ ข ปญั หาในการ 6. สง่ เสรมิ ศกั ยภาพกลุม่ วยั ทำงาน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของประชาชนใน 7. สง่ เสรมิ ศกั ยภาพกลุม่ ผ้สู งู อายุ พ้นื ที่ จังหวัดขอนแกน่ 1. จดั หานำ้ บาดาลในพนื้ ทภ่ี ยั แลง้ 1. เพอื่ เพ่มิ พืน้ ทสี่ ีเขยี วในจังหวัดขอนแกน่ 2. กอ่ สรา้ งสถานสี บู นำ้ ดว้ ยไฟฟ้าพรอ้ มระบบสง่ นำ้ 2. เพ่ือถา่ ยทอดองค์ความรู้ดา้ นการเพาะชำกลา้ 3. พัฒนาแกม้ ลิง พรอ้ มอาคารประกอบ ก่อสร้างฝาย ไม้ และสร้างการมสี ว่ นร่วมในการแลกเปลยี่ น อาคารบังคบั น้ำ เรยี นรกู้ ารเพาะชำกล้าไมใ้ นรูปแบบเครอื ข่าย 4. การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพแหลง่ กกั เก็บน้ำชุมชน เพาะชำกล้าไมช้ ุมชน

โครงการเพมิ่ พน้ื ท่ีสีเขียว 1. การเพิม่ พ้ืนท่ีสเี ขยี วในจงั หวดั หนา้ 4-44 แบบมสี ว่ นร่วม 2. อนรุ ักษ์และฟนื้ ฟูป่าชมุ ชนอยา่ งมีส่วนร่วม 3. ฟื้นฟปู ่าโคกสงู บา้ นดงเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หนา้ 4-44 4. ศาสตรพ์ ระราชาปลกู ปา่ แก้จน

หนา้ 4-45 ประเดน็ การพัฒนา กลุม่ โครงการหลัก กล่มุ โครงการย่อย วตั ถปุ ระสงค์ การบริหารจัดการ 1. พฒั นาต้นแบบเมอื งส่ิงแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart 3. เพอ่ื สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มการจดั การปา่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ Green City) ชมุ ชน สง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาอย่าง 2. พฒั นาศักยภาพการตดิ ตามตรวจสอบและรายงานผล 4. เพือ่ ส่งเสรมิ การปลูกปา่ 3 อย่างเพื่อ ยั่งยืนแผนงาน บริหารจัดการนำ้ มลพษิ ทางอากาศ ประโยชน์ 4 อยา่ ง ตามแนวพระราชดำริฯ ให้ แบบบูรณาการอย่างยั่งยืน 3. สรา้ งระบบสิง่ แวดล้อมอจั ฉริยะ เพอื่ เฝา้ ระวังภยั พบิ ตั ิ เป็นป่าครอบครัวโดยผสมผสานกบั การทำเกษตร ธรรมชาติ (ฝุ่น ฝน ลม แดด) ผ่านระบบอินเตอรเ์ นต็ ในทุก อินทรีย์ที่เปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ มตามหลกั การจดั การสภาพแวดลอ้ ม สรรพสง่ิ : ( Smart Environment DRWS Model on ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เมืองของจงั หวดั ขอนแกน่ สู่ IoT: Dust Rain Wind Solar on IoT ) 1. เพอ่ื ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย เมืองอจั ฉริยะ 4. การบริหารจัดการขยะตน้ ทางภายในโรงเรยี น ตั้งแตร่ ะดับครัวเรือนจนถึงระดับเมอื งในการ 5. การดำเนนิ งานสำนักงานสเี ขยี วและการลดคัดแยกขยะ จดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมเมอื ง ในหนว่ ยงาน (Smart Environment : Internet of Things) 2. เพอ่ื สง่ เสรมิ การพัฒนาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ของเมืองใหม้ ีมาตรฐานดขี ้นึ รองรบั ความเป็น เมอื งอัจฉริยะ 3. เพ่อื ประเมนิ สถานการณค์ ณุ ภาพอากาศใน เขตพน้ื ทีเ่ ทศบาลนครขอนแก่นและปริมณฑล 4. เพ่อื รายงานผลคุณภาพอากาศให้อยูใ่ น รูปแบบทป่ี ระชาชนเขา้ ถงึ และเขา้ ใจไดง้ ่าย 5. เพอ่ื จัดทำขอ้ มูลพืน้ ฐาน สำหรบั ใช้ในการ พฒั นากลยทุ ธก์ ารจัดการคณุ ภาพอากาศของ จังหวัดขอนแกน่ 6. เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลคณุ ภาพอากาศสำหรับใช้ ประกอบการกำหนดมาตรการและนโยบายใน การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา มลพษิ ทางอากาศ 7. เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนร้กู ารจดั การขยะที่ต้น ทางภายในโรงเรยี น

หนา้ 4-45

ประเด็นการพัฒนา กลุม่ โครงการหลกั กลมุ่ โครงการย่อย วตั ถปุ ระสงค์ โครงการเมอื งอตุ สาหกรรม 1. โครงการจัดทำผังพ้นื ทเี่ ฉพาะ เพ่ือความเปน็ เมือง 1. เพ่ือส่งเสรมิ การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ เชงิ นิเวศ จังหวดั ขอนแก่น อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ นิเวศของจงั หวัดขอนแกน่ ใหเ้ ป็นเมอื ง การบริหารจดั การ (Eco Town) (Eco Industrial Layout) อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศระดบั ท่ี 2 ทรพั ยากรธรรมชาติและ 2. โครงการปรับปรุงภมู ทิ ัศน์และเพิ่มพืน้ ที่สเี ขียวเพอื่ Enhancement (การสง่ เสรมิ ) ทม่ี ีการผลักดนั ส่ิงแวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาอยา่ ง นันทนาการ พ้นื ทโ่ี ลง่ และพ้นื ทแ่ี นวปอ้ งกนั มลพิษ (buffer และส่งเสรมิ ใหก้ ารพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ ย่งั ยืนแผนงาน บรหิ ารจดั การนำ้ zone) ในพื้นทพ่ี ัฒนาเมือง นเิ วศ เรอ่ื งส่งิ แวดล้อมและความปลอดภยั ของ แบบบรู ณาการอย่างย่งั ยนื 3. โครงการศูนยช์ ่วยเหลืออุตสาหกรรมสู่เมือง พืน้ ท่ีเป้าหมายเป็นไปตามเป้าหมายของการ อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ พฒั นา 4. โครงการศึกษาดูงานการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มใน 2. เพอื่ ส่งเสรมิ การทำงานอย่างมสี ว่ นรว่ มของ ภาคอตุ สาหกรรม คณะทำงานเครอื ขา่ ยอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ 5. โครงการพฒั นาคณะกรรมการไตรภาคี ตรวจและกำกบั (Eco Network) และผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียทกุ ภาค ดูแลคณุ ภาพสิง่ แวดล้อมและปอ้ งกันมลพษิ แบบมสี ว่ นรว่ ม สว่ นในพื้นท่ี ในการร่วมมอื กันสง่ เสริม ยกระดบั ในพื้นท่ี และพัฒนาพ้นื ที่เปา้ หมายของจังหวดั ขอนแก่น 6. โครงการยกระดบั สถานบรกิ ารโรงพยาบาลชมุ ชนขนาด ใหเ้ กิดผลเป็นรปู ธรรมและมงุ่ สกู่ ารเปน็ เมือง ใหญ่อำเภอนา้ พอง (F1) เปน็ โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก อุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดบั ที่ 3 Resource (M1) efficiency (ประสิทธภิ าพในการใชท้ รัพยากร) 7. โครงการศนู ยพ์ ฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco ท่มี กี ารใช้ทรัพยากรตา่ งๆ ซึง่ มีอยอู่ ย่างจำกดั ใน Center) ส่วนภมู ภิ าคระดบั จังหวัด ลักษณะทสี่ ่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื 3. เพ่อื รวบรวมข้อมูลตวั ชี้วัดการพฒั นาเมือง หนา้ 4-46 อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ 5 มติ ิ 20 ดา้ น 41 ตวั ช้ีวดั ของพน้ื ที่เปา้ หมายจงั หวัดขอนแกน่ เพอ่ื ขอรับการตรวจประเมินความเป็นเมือง อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศตามระบบการประเมิน ระดับความเป็นเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ 4. เพอื่ ใหช้ ุมชนในพ้ืนทีเ่ ป้าหมายมีความรคู้ วาม เข้าใจเก่ยี วกับข้อมูลขา่ วสารและการรายงาน การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศใน

หนา้ 4-46

หนา้ 4-47 ประเด็นการพฒั นา กลุ่มโครงการหลกั กลมุ่ โครงการยอ่ ย วตั ถุประสงค์ ภาพรวมของจงั หวัดและช่วยสนับสนนุ การ พัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

การเสรมิ สรา้ งความม่ันคงและ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็ง 1. เสรมิ สร้างความเข้มแข็งศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารความปลอดภยั 1. เพอ่ื รณรงคป์ ระชาสมั พนั ธใ์ หป้ ระชาชนเข้าใจ ความปลอดภัยในชวี ติ และ ศูนยป์ ฏบิ ัติการความ ทางถนนระดับอำเภอทกุ อำเภอ (ศปถ.อ.) และปรับเปลยี่ นแกไ้ ขพฤตกิ รรมในการขับขี่ที่ ทรพั ย์สนิ ปลอดภยั ทางถนน 2. เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการความปลอดภัย กอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตบุ นท้องถนน เพื่อลดการ โครงการบรหิ ารจัดการดา้ น ทางถนนระดับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ศปถ.อปท.) สูญเสยี ชวี ติ และทรพั ยส์ ิน ซึ่งเปน็ ส่วนหนึ่งในการ สาธารณภยั 3. “ถนนคนดี” หลักสูตร การขบั ขี่จกั รยานยนตป์ ลอดภยั สรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั ใหย้ ่งั ยืน ได้ใบอนญุ าตขบั ขี่ (Good Rider) 2. เพอ่ื ปลกู ฝังใหเ้ กิดจติ สำนกึ ทด่ี ีในการขับขี่ 1. ปรับปรุง พฒั นาแหลง่ นำ้ สาธารณประโยชน์ และการใช้รถใชถ้ นน ตระหนักถึงความสำคญั ใน 2. ปรบั ปรงุ เส้นทางสาธารณประโยชน์ การใชถ้ นนรว่ มกันอย่างเออื้ อาทรและปลอดภยั 3. เพ่มิ ประสิทธิภาพการระบายนำ้ กำจดั ส่งิ กีดขวางทางนำ้ โดยเร่ิมต้ังแตบ่ า้ น โรงเรยี น และชมุ ชน 3. เพ่ือเชือ่ มโยงและบรู ณาการการทำงาน รว่ มกันกับองคก์ ร และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความปลอดภัยของผใู้ ช้รถใช้ถนนใหเ้ ปน็ เครือข่ายในการดำเนนิ โครงการ เพื่อลดอตั รา การเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั ิเหตุทางถนน 1. เพอ่ื ป้องกนั และแก้ไขปญั หาภยั แล้งและ อทุ กภยั 2. เพอ่ื เป็นแหล่งกักเก็บน้ำไวใ้ ช้ในฤดูแลง้ เปน็ พืน้ ทีพ่ ักน้ำในชว่ งฤดูนำ้ หลาก 3. เพ่อื เปน็ แหล่งน้ำเพ่ือการอปุ โภคและบรโิ ภค และสนบั สนนุ การพัฒนาอาชีพดา้ นการเกษตร ประมงและปศสุ ตั ว์ 4. เพอื่ เป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติ และ ระบบนเิ วศทางธรรมชาติ

หนา้ 4-47

ประเดน็ การพัฒนา กลมุ่ โครงการหลัก กลุม่ โครงการยอ่ ย วตั ถุประสงค์ การเสรมิ สรา้ งความม่นั คงและ โครงการเสรมิ สร้างความ 1. การเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยอาสาสมัครรักษาความสงบ 1. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนเกดิ ความตระหนกั เกิดแรง มั่นคงและความปลอดภยั ใน เรียบร้อยในชุมชน บันดาลใจ จิตสำนึก และรว่ มกนั ในการธำรง ความปลอดภยั ในชีวติ และ สงั คม 2. สรา้ งการรับรดู้ า้ นกฎหมายให้ชุมชน รกั ษาไว้ซึง่ สถาบนั หลกั ของชาติ เกิดความเข้าใจ ทรพั ยส์ ิน ในหลักการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอยา่ ง ถกู ตอ้ ง สร้างสังคมสงบสขุ มีความปรองดอง หนา้ 4-48 สมานฉันท์ 2. เพอื่ ให้ประชาชนมีความตระหนักในพระมหา กรุณาธคิ ณุ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ท์ ีม่ ตี อ่ ชาติไทยและจงั หวัดขอนแก่น และนอ้ มนำ คณุ ธรรมตามรอยพระยคุ ลบาท ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง พระราชดำรสั และแนว พระราชดำริในด้านตา่ ง ๆ ไปส่กู ารปฏิบัตใิ ห้ เกดิ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม 3. ปลูกฝงั อุดมการณค์ วามรักชาติ การเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย์ การเสรมิ สร้างความรกั ความสามคั คี ความปรองดองสมานฉันท์ ให้กับ ผ้นู ำในท้องท/ี่ ท้องถ่ิน 4. เสรมิ สร้างภูมิคุ้มกนั ทางจติ ให้แก่เยาวชน ปลกุ จติ สำนึกและ สรา้ งกระแสนยิ มทเ่ี อื้อตอ่ การ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ 5. สร้างเครือข่าย ขยายแหล่งข่าว ส่งเสรมิ การมี ส่วนร่วม ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพ ตดิ ประสานความร่วมมือใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพใน การปฏบิ ัติงานร่วมกันระหว่างชุมชนกับ เจา้ หน้าท่ขี องรฐั เพื่อใหป้ ระชาชนในพ้นื ทีม่ ี ความรู้ในการป้องกัน/ช่วยเหลือตนเองและ ชมุ ชน

หนา้ 4-48

หนา้ 4-49 ประเด็นการพัฒนา กลุ่มโครงการหลกั กลมุ่ โครงการย่อย วัตถุประสงค์ 6. เพอ่ื ให้ชุมชนรจู้ กั การเฝ้าระวังภยั จากสังคมใน การเสริมสร้างความม่นั คงและ รปู แบบตา่ ง ๆ รจู้ กั ป้องกนั ชมุ ชนไม่ใหม้ ี ความปลอดภัยในชีวิตและ อาชญากรรมเกดิ ขึน้ ประชาชนทราบทางเลอื ก ทรัพย์สิน ในการแกไ้ ขปัญหาโดยใช้กระบวนการยตุ ิธรรม ทางเลอื กในชมุ ชนก่อนที่จะเปน็ คดคี วาม โครงการเทดิ ทนู สถาบัน 1. เสริมสรา้ งความจงรักภกั ดี พฒั นาวถิ ีประชาธปิ ไตยไท 7. ปลูกฝงั อุดมการณ์ความรักชาติ การเทดิ ทนู พระมหากษตั รยิ ์ และการ ขอนแกน่ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ การเสรมิ สรา้ งความรัก เสรมิ สร้างความปรองดอง 2. จิตอาสา ศาสตรพ์ ระราชา กบั ความมัน่ คงของชาติ ความสามัคคี ความปรองดองสมานฉนั ท์ ให้กบั สมานฉันท์ 3. การปลกู ฝงั อุดมการณ์ความรกั ชาติ และการเทิดทนู ผู้นำในท้องที่/ทอ้ งถนิ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ 1. เพ่ือให้ประชาชนเกิดความตระหนกั เกดิ แรง บันดาลใจจติ สำนกึ และรว่ มกันในการธำรงรกั ษา ไว้ซ่ึงสถาบันหลักของชาติ และเกดิ ความเข้าใจ ในหลกั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข อย่างถกู ตอ้ ง เพื่อสร้างสงั คมแหง่ ความสงบสขุ ปรองดองและ สมคั รสมานสามคั คเี ป็นอันหน่งึ อันเดียวกัน 2. เพอ่ื ให้ประชาชนในพ้นื ท่ี มคี วามตระหนักใน พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสถาบันพระมหากษตั ริย์ ที่มตี อ่ ชาติไทย และนอ้ มนำคณุ ธรรมตามรอย พระยคุ ลบาท ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส และแนวพระราชดำริ ในด้าน ต่าง ๆไปสู่การปฏบิ ัติใหบ้ งั เกดิ ผลอย่างเป็น รปู ธรรม 3. เกดิ การเรยี นรกู้ ิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ตามแนวพระราชดำริ เพอ่ื สร้างความสามคั คี ปรองดอง และทำใหค้ นในชาตอิ ยรู่ ว่ มกันอย่าง สงบสขุ

หนา้ 4-49

ประเด็นการพฒั นา กล่มุ โครงการหลัก กลุ่มโครงการย่อย วัตถปุ ระสงค์ การเสรมิ สรา้ งความม่นั คงและ เพิ่มศกั ยภาพในการป้องกัน 1. สรา้ งจิตสำนึกและสรา้ งความเขา้ ใจในการป้องกันและ 1. เพ่ิมประสิทธิภาพการปฏบิ ตั ิงานของ ปราบปรามและแก้ไขปัญหา แกไ้ ขปัญหายาเสพติด ศอ.ปส.จ.ขก. และศป.ปส.อ.ทกุ อำเภอ ในการ ความปลอดภยั ในชวี ิตและ ยาเสพตดิ 2. การเสรมิ สร้างภมู คิ ุ้มกนั ทางจิตและส่งเสรมิ ศกั ยภาพ ป้องกันและไขปัญหายาเสพตดิ ทรัพย์สิน เยาวชน (To Be Number One) 2. เพ่ือใหบ้ ุคลากรผปู้ ฏิบตั ิงานเขา้ ใจบทบาท 3. อำนาจหนา้ ท่ี และสามารถนำนโยบายไปปฏิบัติ ในระดบั พ้ืนทีไ่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เพ่ือรณรงคป์ ลุกจติ สำนกึ และสร้างกระแส นิยมทเี่ ออื้ ต่อการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพ ตดิ 4. เพือ่ เสริมสร้างภมู ิคุม้ กันทางจติ ให้แกเ่ ยาวชน ในชมุ ชน 5. เพอ่ื ขยายเครือข่ายในการปอ้ งกนั และแก้ไข ปัญหายาเสพตดิ

การส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพ โครงการสง่ เสริมเมอื ง 1. ยกระดบั ผลติ ภณั ฑผ์ า้ เมืองหัตถกรรมโลกแห่งผ้ามัดหม่ี 1. เพอ่ื เพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ หมอ่ นไหมของ ด้านการเป็นเมอื งอัจฉริยะ หัตถกรรมโลกแหง่ ผา้ มดั หม่ี 2. พัฒนาศกั ยภาพการผลติ ของผปู้ ระกอบการและ เกษตรกร โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพดา้ น ยกระดับสนิ คา้ ผ้าไหม ผา้ มัดหมี่ และผลติ ภัณฑ์จากผา้ 2. เพอ่ื พฒั นาประสิทธภิ าพการผลติ เสน้ ไหม ผ้า (Smart City)และเมืองแหง่ การ การท่องเทยี่ วของจงั หวัด 3. เพ่มิ ศกั ยภาพการผลติ หมอ่ นไหมหตั ถกรรมและ ไหม และผลติ ภณั ฑ์ ให้ไดม้ าตรฐาน ประชุมสมั มนา(Meetings, อตุ สาหกรรม 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยี และ Incentive Travel, ขอนแกน่ เพ่อื ยกระดับสู่ 4. พฒั นาการผลติ ไหมอรี ่ี นวตั กรรม พร้อมสรา้ งเครอื ข่ายธุรกิจหมอ่ นไหม 5. เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธแ์ ละสรา้ งเครือขา่ ยไหมขอนแกน่ ใหเ้ ข้มแขง็ Conventions, Exhibitions : สูอ่ นุภมู ภิ าคลมุ่ น้ำโขง 4. เพื่อเผยแพร่ประชาสมั พันธ์เมืองหัตถกรรม MICE City) 6. ยกระดับเมืองหัตถกรรมโลกแหง่ ผ้ามัดหม่ี โลกแห่งผา้ มดั หมี่ 1. ส่งเสรมิ การประชาสมั พันธ์ สร้างภาพลกั ษณไ์ ปส่กู าร 5. เพอ่ื สรา้ งโอกาสทางการตลาดและเพม่ิ ขดี หนา้ 4-50 เปน็ ศนู ย์กลางไมซ์ของอนภุ ูมภิ าคลมุ่ แมน่ ำ้ โขง (Promote) ความสามารถในการแขง่ ขนั ในระดบั นานาชาติ 1. เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพอตุ สาหกรรมMICE ของ จังหวดั

หน้า 4-50

หนา้ 4-51 ประเดน็ การพฒั นา กลมุ่ โครงการหลกั กลุ่มโครงการย่อย วัตถุประสงค์ เมอื งแหง่ การประชมุ และ และการจดั กจิ กรรมการตลาดส่งเสริมการขายผลติ ภณั ฑ์ 2. เพ่ือส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาสรา้ ง การสง่ เสริมและพัฒนาศกั ยภาพ นิทรรศการ (ไมซ์ซติ ี)้ ไมซข์ องจังหวัดขอนแก่น ศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ดา้ นการเปน็ เมอื งอัจฉรยิ ะ 2. การเพ่มิ ศักยภาพด้านการท่องเทยี่ วอัจฉริยะและ และบรกิ ารและหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งกับการ (Smart City)และเมืองแหง่ การ ยกระดับ Mice City สสู่ ากล ท่องเทยี่ ว ประชมุ สมั มนา(Meetings, 3. เป็นการสรา้ งโอกาสดา้ นการทอ่ งเที่ยวให้ Incentive Travel, เขา้ ถึงกลุ่มเปา้ หมายและเกดิ การกระตนุ้ ดึงดดู Conventions, Exhibitions : นกั ท่องเทีย่ วกลุม่ ไมซ์ให้เดินทางมาจังหวัด MICE City) ขอนแก่นเพม่ิ มากขึ้น โครงการส่งเสรมิ นวัตกรรม 1. โครงการจา้ งท่ปี รกึ ษาเพ่อื ศึกษาความเปน็ ไปไดข้ องการ 1. เพื่อศกึ ษาความเป็นไปไดข้ องการจัดตั้ง ดจิ ิทัลเพื่อสุขภาพและความ จัดต้ังโครงการสง่ เสรมิ นวัตกรรมดจิ ิทัลเพอื่ สุขภาพและ โครงการสง่ เสริมนวตั กรรมดิจทิ ัลเพื่อสขุ ภาพ เป็นอยูข่ องประชาชนแบบ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนแบบครบวงจร (Khon Kaen และความเป็นอยขู่ องประชาชนแบบครบวงจร ครบวงจร (Khon Kaen Smart Living Lab) (KhonKaen Smart Living Lab) Smart Living Lab) 2. โครงการจา้ งทป่ี รกึ ษาเพือ่ ประชาสมั พันธส์ ง่ เสรมิ 2. เพ่ือประชาสมั พนั ธส์ ง่ เสรมิ ขอนแก่นเมือง ขอนแก่นเมอื งอัจฉริยะ ใหเ้ ปน็ ที่รจู้ ักและยอมรบั ท้งั ใน อจั ฉริยะ ใหเ้ ป็นทรี่ จู้ ักและยอมรบั ในระดบั ชาติ ระดบั ชาติและนานาชาติ และนานาชาติ 3. โครงการจ้างท่ปี รึกษาเพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรม 3. เพื่อสร้างระบบ X-Road สำหรบั แลกเปลี่ยน ด้านการส่งเสรมิ สุขภาพและความเปน็ อยทู่ ่ีดี ข้อมูลสขุ ภาพสำหรบั การเปน็ เมืองอจั ฉริยะ 4. โครงการจา้ งทป่ี รึกษาเพ่อื ศึกษารปู แบบปัจจัยสัมผสั 4. เพอ่ื สร้างและพฒั นานวตั กรรมด้านการ จากภายในร่างกายและสง่ิ แวดล้อมภายนอก (Exposome) สง่ เสรมิ สขุ ภาพและความเป็นอยูท่ ่ีดี ท่ีมีผลต่อสภาวะสขุ ภาพ เพ่ือส่งเสริมใหป้ ระชาชนมสี ุขภาพ 5. เพอ่ื สร้างระบบจา่ ยยาคณุ ภาพสำหรบั ร้าน ดอี ย่างยั่งยืน ขายยา โดยเทคโนโลยีและนวตั กรรมสำหรับการ 5. โครงการสร้างศูนยก์ ารเรยี นรแู้ บบเคลือ่ นที่ เพื่อสร้าง เป็นเมืองอัจฉริยะ การตระหนักรู้ และความเข้าใจเกย่ี วกบั นวัตกรรมสุขภาพ 6. เพื่อสร้างสวสั ดกิ ารสำหรับการเดนิ ทาง เพอื่ และสิง่ แวดล้อมท่ถี ูกตอ้ ง สำหรบั ประชาชนทกุ ช่วงวัย เข้ารับบริการทางการแพทย์ของผสู้ งู วยั 6. โครงการสวสั ดกิ ารเพ่อื สง่ เสรมิ สขุ ภาพให้ประชาชนมี 7. เพือ่ สร้างการตระหนกั รู้ และความเขา้ ใจ สขุ ภาพดีในระยาว เก่ยี วกบั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสขุ ภาพสำหรบั 7. โครงการสวสั ดิการสำหรับการเดนิ ทาง เพอ่ื เขา้ รับ การดแู ลสุขภาพทั้งในเชิงปอ้ งกันและรกั ษา บรกิ ารทางการแพทย์ของผสู้ ูงวัย

หนา้ 4-51

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้