ทว ปอเมร กาใต ท ต งและสภาพภ ม ศาสตร

จับสเปนหนีคดีฉ้อโกง ใช้วีซ่าปลอมกบดานไทย

เผยแพร่: 30 ต.ค. 2557 16:05 โดย: ทีมข่าวอาชญากรรม

ตม.จับกุมผู้ต้องหาชาวเสปน ลักลอบปลอมหนังสือเดินทาง หนีคดีฉ้อโกงมลค่าความเสียหาย 100 ล้าน เข้ามากบดานในไทย พร้อมยืนยัน “จักตาร์ ซิงห์ ทารา” ผู้ก่อการร้ายชาวอินเดียที่หลบหนีออกจากเรือนจำยังหลบซ่อนอยู่ในไทยตั้งแต่วันที่ ก.ย. หลังตรวจพบใช้หนังสือเดินทางปากีสถาน

วันนี้ (30 ต.ค.) ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง พล.ต.ท.ศักดา ชื่นภักดี รรท.ผบช.สตม พร้อมด้วย พล.ต.ต.วราวุธ ทวีชัยการ ผบก.สส.สตม พ.ต.อ.เชิงรณ ริมดี ผกก.ด่านตรวจคนเข้าเมือง พ.ต.ท.ศุภชัย พลเดช รอง ผกก.สส.ท่าอาการศยานกรุงเทพ บก.สตม.2 และเจ้าหน้าที่ฝ่ายสืบสวน ร่วมกันแถลงข่าวผลการจับกุม นายหลุยส์ บัตเล วียาเซกา (Luis Batlle Vilaseca) อายุ 54 ปี สัญชาติสเปน พร้อมหนังสือเดินทางสัญชาติเม็กซิโกปลอม หลังตรวจพบใช้หนังสือเดินทางปลอกปากีสถาน

พ.ต.อ.เชิงรณกล่าวว่า การจับกุมครั้งนี้สืบเนื่องจากเจ้าหน้าที่ตำรวจได้รับการประสานมาจากตำรวจประเทศสเปนให้ทำการตรวจสอบการเดินทางของผู้ต้องหารายนี้ หลังพบข้อมูลว่าจะมีการเดินทางเข้ามาในไทย จึงได้ทำการตรวจสอบแต่ไม่พบฐานข้อมูลปรากฏตามชื่อ จึงได้ทำการตรวจสอบชื่อที่มีลักษณะคล้ายกันก็ไปพบว่ามีชื่อต้องสงสัยชื่อนายหลุยส์ มานูเอล บัตเล คอสตา (Luis Manuel Batlle Costa) สัญชาติเม็กซิโก อีกทั้งแนวทางการสืบสวนพบว่าเป็นคนเดียวกัน จึงได้ขยายผลจนทราบว่าผู้ต้องหารายนี้จะเดินทางจากเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เข้ามาในประเทศไทย โดยสายการบินแอร์เอเชีย เที่ยวบินเอฟดี 619 ในวันที่ 29 ต.ค. จึงได้ทำการเฝ้าสกัดจนกระทั่งจับกุมได้ ทั้งนี้ จากการตรวจสอบพบว่าคนร้ายได้มีการปลอมแปลงบัตรประชาชน และหนังสือเดินทางปลอม นอกจากนี้ผู้ต้องหารายนี้ถือเป็นผู้ต้องหาที่ทางการสเปนต้องการตัวเป็นอย่างมากเนื่องจากก่อเหตุฉ้อโกงประชาชนโดยการโฆษณาจัดหาแรงงานในประเทศแถบอเมริกาใต้ว่าสามารถที่จะหางาน รวมทั้งเอกสารต่างๆ ในการไปทำงานที่ประเทศแถบยุโรป แต่มีค่าใช้จ่าย 500 ยูโร หรือ 2 หมื่นบาท ซึ่งที่ผ่านมาได้หลอกผู้เสียหายไปกว่า 5,000 ราย มูลค่ากว่า 2.5 ล้านยูโร หรือ 100 ล้านบาท เบื้องต้นเจ้าหน้าที่แจ้งข้อหาปลอมและใช้หนังสือเดินทางปลอม ก่อนนำตัวผู้ต้องหาไปดำเนินตดีตามกฎหมายต่อไป

เมื่อผู้สื่อข่าวถามถึงกรณีของนายจักตาร์ ซิงห์ ทารา ซึ่งเป็นผู้ก่อการร้ายชาวอินเดีย ที่เคยก่อเหตุระเบิดคาร์บอมบ์ได้หลบหนีออกจากเรือนจำในประเทศอินเดีย ก่อนแฝงตัวเดินทางข้ามแดนไปยังประเทศมาเลเซีย พล.ต.ต.วราวุธ กล่าวว่า จากการตรวจสอบพบว่าผู้ต้องหารายนี้ได้เข้ามาในไทยวันที่ 7 ก.ย.ที่ผ่านมา แต่ทางประเทศอินเดียได้มีการประสานเข้ามาเมื่อวันที่ 15 ก.ย.ที่ผ่านมา โดยใช้หนังสือเดินทางประเทศปากีสถาน ขณะนี้ได้ทำการออกหมายจับผู้ร้ายข้ามแดนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และได้มอบหมายให้ชุดสืบสวนกระจายกำลังลงพื้นที่หาข่าว เชื่อว่าคนร้ายยังคงกบดานในไทย เนื่องจากได้ตรวจสอบข้อมูลการเดินทางของนายจักตาร์แล้วพบว่ายังไม่พบว่ามีการเดินทางออกนอกประเทศแต่อย่างใด

ลกั ษณะภูมิอากาศ การสอนเน้ือหาภูมิอากาศ นักเรียนต้องเข้าใจก่อนว่า ภูมิอากาศเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง

กับอุณหภูมิและความชื้น การอธิบายปัจจัยท่ีส่งผลต่ออุณหภูมิและความช้ืนจะช่วยทาให้เข้าใจลักษณะภูมิอากาศ

ได้มากข้ึน ในขณะเดียวกันลักษณะภูมิอากาศจะส่งผลต่อลักษณะของพืชพรรณธรรมชาติ และพืชพรรณธรรมชาติจะ

สง่ ผลต่อการกาหนดพืชผลทางเศรษฐกิจ

ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ในพื้นที่หรือภูมิภาคใด นักเรียนต้องสามารถอธิบายลักษณะ

ทรพั ยากรธรรมชาติทั้งทรพั ยากรดิน ทรัพยากรนา้ ทรพั ยากรป่าไม้ และทรัพยากรแรแ่ ละเช้ือเพลิง โดยชวนให้นักเรียน

วเิ คราะหป์ ัจจัยทีม่ ีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรดังกล่าวเพ่ือเปน็ พน้ื ฐานในการศกึ ษากิจกรรมมนุษย์ตอ่ ไป

ตวั อยา่ ง

ทรัพยากรดิน

ปจั จัยที่มผี ลต่อ

ความอดุ มสมบูรณ์ ส่งผล

ของดนิ

ลกั ษณะภูมิประเทศ ความลาดชันมีผลต่อการสร้างดิน และการกร่อนพังทลายของดิน

บริเวณทล่ี าดชนั มากจะสร้างดนิ ได้ยากแต่ดนิ จะกรอ่ นได้ง่าย

ลกั ษณะภูมิอากาศ อากาศรอ้ นชื้น ฝนตกหนัก ดินจะถูกชะล้างได้ง่าย ความร้อนทาให้

ฮวิ มัสสลายตัวไดง้ ่าย

วตั ถุต้นกาเนิดดิน ดนิ ที่เหมาะตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื คอื ดินท่เี กิดจาก หินปูน และ

หินบะซอลต์ ทม่ี คี วามเป็นดา่ ง

สง่ิ มีชวี ติ ในดิน จุลินทรยี ์ชว่ ยยอ่ ยสลายซากพชื และสัตว์ และทาให้ฮิวมสั เพ่มิ ข้นึ

เวลา ดนิ ทม่ี ีอายุมากจะมีความอุดมสมบูรณ์น้อย เพราะผ่านการชะล้างมา

มากแล้ว

ทรัพยากรปา่ ไม้

ทรัพยากรป่าไม้มีความสัมพันธ์กับปริมาณความช้ืนเป็นหลัก เม่ือนักเรียนสามารถระบุ

ลักษณะอากาศในแต่ละภูมิภาคได้ นักเรียนก็จะสามารถวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ได้ โดย

ธรรมชาติถ้าพื้นที่ใดมีปริมาณความชื้นมาก ต้นไม้จะขึ้นหนาแน่นมาก และเม่ือปริมาณความช้ืน

ลดลงจะเกิดเขตทงุ่ หญา้ โดยมชี ื่อทีแ่ ตกตา่ งกันไปตามเขตอากาศ ดงั น้ี

เขตอากาศ ปรมิ าณความชื้น มาก น้อย

เขตรอ้ น ปา่ ดงดิบ ทุง่ หญ้าสะวันนา

เขตอบอุ่น ป่าผลัดใบ ทุ่งหญ้าแพรร่ี

เขตแหง้ แล้ง ท่งุ หญ้าสเตปป์ พืชพรรณทะเลทราย

เขตหนาว ป่าสน ท่งุ หญา้ อัลไพน์ (ทนุ ดรา)

6

สงิ่ แวดล้อมทางประชากร เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม เมื่อนักเรียนเข้าใจระบบธรรมชาตแิ ลว้ จะทาใหน้ ักเรียนสามารถอธิบายลกั ษณะและระบุตาแหน่งกิจกรรมของ มนุษย์ที่ปรากฏได้ง่ายข้ึนและรวดเร็ว โดยวิเคราะห์ให้สัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติได้ เพราะส่ิงแวดล้อมทาง ธรรมชาตเิ ปน็ ปจั จัยสาคัญทีก่ าหนดแบบรปู และการกระจายของกจิ กรรมของมนษุ ย์ ครูควรใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนท่ีลักษณะทางกายภาพ แผนท่ีเฉพาะเรื่องรูปแบบต่างๆ ได้แก่ แผนทจ่ี ุด แผนท่ีเส้นแสดงการเคล่ือนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม รวมถึงข้อมูลสถิติพื้นฐานมาให้นักเรียน วเิ คราะห์ภาพรวมของลกั ษณะสิ่งแวดล้อมทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ชวนนักเรียนแปลความหมาย และเปรียบเทียบข้อมูล หาลักษณะร่วมและความแตกต่าง พร้อมท้งั วิเคราะห์สาเหตุ ปจั จยั ทสี่ ่งผล การสอนในเร่ืองน้ีจะทาให้นักเรียนเห็นความสาคัญ ของระบบธรรมชาติทม่ี ีผลตอ่ กจิ กรรมมนุษย์ ระบบธรรมชาติมี ส่วนสาคญั ในการเกือ้ หนุนชีวิตมนุษย์ ซ่ึงจะนามาสู่การปลูกฝัง พฤติกรรมการดาเนินชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้าง ค่ า นิ ย ม ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ท า ใ ห้ นั ก เ รี ย น ตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมให้ได้ก่อน การ ยกตัวอย่างอิทธพิ ลของระบบธรรมชาตใิ นกิจกรรมของมนุษย์ท่ี ใกล้ตวั นักเรียนจึงเป็นสง่ิ ท่คี รคู วรทา

ประชากร ในการสอนเรื่องประชากรมีสาระสาคัญ คือ โครงสร้าง ประชากร การกระจายตัวของประชากร และการต้ังถ่ินฐาน ครู ควรจะชวนให้นักเรียนพิจารณาแผนที่ลักษณะทางกายภาพ เพ่ือ อธิบายถึงความสัมพันธ์ของลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่ ส่งผลต่อการต้ังถิ่นฐาน เมื่อนักเรียนเข้าใจมโนทัศน์เหล่านี้ ไม่ว่า นักเรียนจะศึกษาภูมิภาคใดก็ตาม ก็จะสามารถอธิบายลักษณะ ประชากรไดอ้ ยา่ งลกึ ซง้ึ สังคมและวัฒนธรรม ในการสอนเร่ืองลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมน้ัน มี มโนทัศน์สาคัญคือ วัฒนธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของคนในสังคม ในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นสังคมและวัฒนธรรมใน แต่ละภูมิภาคจึงมีความแตกต่างกัน การตัดสินว่าวัฒนธรรมใด ดกี ว่ากนั น้นั เป็นส่งิ ท่ีควรหลีกเลี่ยง

ประเด็นเร่ืองโลกาภวิ ัตน์ เปน็ อกี หน่ึงมโนทัศน์ท่ีจาเป็นในการศึกษาภูมิศาสตร์ เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าการ เปล่ียนแปลงในภูมิภาคหน่ึงไม่ส่งผลต่อภูมิภาคอื่นๆ และในขณะเดียวกัน ความก้าวหน้าของวิทยาการและเทคโนโลยี การคมนาคม การสื่อสาร และการขนส่ง การขยายตัวทางการค้าเสรีและระบบทุนนิยม ทาให้เกิดการเล่ือนไหลของ ความคิด สินคา้ ประชากรและแรงงาน ดังน้ันการสอนภูมิศาสตร์จึงจาเป็นต้องกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคที่ เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงและเลอ่ื นไหลท่ีมีต่อกัน

7

การอธิบายความสมั พนั ธใ์ นระบบธรรมชาตทิ ม่ี ีต่อกัน การสอนให้นกั เรยี นเข้าใจในระบบธรรมชาติ ต้องทาให้นักเรียนเข้าใจกระบวนการทางานของระบบธรรมชาติ ตลอดจนวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในพื้นท่ีต่างๆ ของโลกท่ีได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ และ ความสัมพนั ธ์ของการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพที่มผี ลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดังตัวอย่าง แผนผังตอ่ ไปนี้

การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกมีผล ธรณีภาค ลกั ษณะภูมิประเทศทแี่ ตกตา่ งมีผลตอ่ ต่อการเกิดทะเลและมหาสมทุ ร ลกั ษณะภูมิอากาศ

น้าขนึ้ น้าลงส่งผลต่อ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศมีผล

อทุ กภาค การกัดเซาะชายฝ่ัง ต่อการจดั ระดับของเปลือกโลก บรรยากาศภาค

การเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของความ

หลากหลายทางชีวภาพส่งผลต่อ

อทุ กภาคและบรรยากาศภาค

ปรากฎการณ์ของอทุ กภาคมีผลต่อ ปรากฎการณ์ของบรรยากาศภาคมีผล

ชนิดและการกระจายของพืชพรรณ ชวี ภาค ต่อชนิดและการกระจายของพืชพรรณ ธรรมชาติและสิ่งมีชวี ิต ธรรมชาติและสิ่งมีชวี ิต

ความสงู ของพืน้ ที่ ความใกล้ไกลทะเล ภมู ปิ ระเทศ ภมู ิประเทศมีผลต่อความอดุ มสมบูรณ์ ของทรัพยากรน้า ดิน ป่าไม้ สัตวป์ ่า

การวางตวั ของเทือกเขาส่งผล และแร่ ต่อภูมิอากาศ การลดลงของป่าไมแ้ ละ

ลมฟ้าอากาศสง่ ผล น้าทา้ ให้การเปลีย่ นแปลง

ต่อการเปลีย่ นแปลง ของภมู ิประเทศเขตที่สงู

ภูมิประเทศ การลดลงของป่าไมม้ ีผลต่อการ

ภมู อิ ากาศ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ

การเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิและ ความชืน้ มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์

ของทรัพยากรธรรมชาติ

นอกจากน้ี การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากธรรมชาติและการกระทาของมนุษย์มีผลต่อระบบธรรมชาติ หากการ เปล่ียนแปลงดังกล่าวมีมากเกินที่ธรรมชาติจะรองรับได้ จะส่งผลให้เกิดการเสียสมดุล การทาความเข้าใจระบบ ธรรมชาติ ทาให้นักเรยี นเขา้ ใจว่าอิทธิพลจากการกระทาของมนุษย์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด และเป็น การสร้างความตระหนักและความรับผิดชอบของมนุษยท์ ี่มีต่อธรรมชาติ

8

การเข้าใจระบบความสัมพันธ์ของธรรมชาติที่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันด้วย ครูสามารถใช้แผนท่ีและเครื่องมือทาง ภมู ิศาสตร์ช่วยในการศกึ ษาได้ นอกจากจะเป็นการฝึกทักษะการอ่านและแปลความหมายแผนที่และการวิเคราะห์ด้วย การตง้ั คาถามชวนคดิ หากเราเข้าไปรบกวนการทางานของระบบก็จะนามาสภู่ าวะเสยี สมดุลที่จะกระทบต่อความม่ันคง ของมนุษยใ์ นอนาคต

 หากกระแสน้าหยุดไหลจะเกิดอะไรขึ้น และมีโอกาสท่ีจะเกิดสถานการณ์นั้นหรือไม่ เพราะเหตใุ ด

 หากกระแสลมทีพ่ ดั ในบรเิ วณตา่ งๆ อ่อนกาลงั ลง จะสง่ ผลกระทบอย่างไร

 เอญนิโญ ลานญิ า มีความเก่ียวข้องกับพ้ืนทใี่ ด

 ทะเลทรายจะมีโอกาสขยายตัวหรือไม่ เพราะเหตุใด การขยายตัวดังกล่าวจะส่งผล กระทบต่อชีวิตมนุษย์และระบบนิเวศอย่างไร

 ทาไมบริเวณศูนย์สูตรถึงมีปริมาณฝนมาก ปริมาณฝนดังกล่าวสามารถเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด

การวเิ คราะหป์ จั จยั ทางกายภาพ และปจั จยั ทางสังคมวฒั นธรรมท่สี ง่ ผลตอ่ กิจกรรมของมนษุ ย์

ครูควรฝึกให้นักเรียนได้วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพ (ปัจจัยท่ีเกิดจากธรรมชาติ) และปัจจัยทางสังคม

วฒั นธรรม (ประชากร เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง) ท่ีส่งผลต่อที่ต้ังของกิจกรรมของมนุษย์ โดย

ครูอาจใช้วิธีการให้นักเรียนสารวจพ้ืนท่ีหรือพิจารณาจากแผนที่แสดงท่ีต้ังกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ท่ีนักเรียนสร้างข้ึน

หรือสือ่ การสอนทีม่ ีอยแู่ ล้ว ชวนให้นกั เรียนรว่ มวเิ คราะห์วา่ “ทำไมกจิ กรรมดังกลำ่ วจึงปรำกฎในพืน้ ทนี่ น้ั ๆ”

ลกั ษณะภูมิประเทศ กจิ กรรมเศรษฐกจิ

เขตเทอื กเขาและท่ีราบสูง  เขตเหมืองแร่ เขตต้นน้าลาธาร การทานาขัน้ บันได

และการปลกู พชื เมืองหนาว

เขตทร่ี าบลุ่ม  เขตเกษตรกรรม เขตตั้งถ่นิ ฐาน เสน้ ทางคมนาคม

เขตท่รี าบชายฝั่ง  เขตประมงน้าเค็ม เขตทา่ เรือพาณชิ ย์ เขตตั้งถ่นิ ฐาน

ลักษณะภูมอิ ากาศ  เขตพชื ผลเมืองร้อน เขตรอ้ น (ยางพารา ปาลม์ นา้ มนั กาแฟ โกโก้ ข้าวเจา้ สบั ปะรด ออ้ ย ยาสบู ข้าวโพด) เขตอบอนุ่ เขตเลยี้ งสัตว์ (ทงุ่ หญ้าสะวันนา)

เขตหนาว  เขตพืชผลเขตอบอุ่น (ข้าวโพด ข้าวสาลี) เขตแหง้ แลง้ เขตเล้ยี งสัตว์ (ทุ่งหญ้าแพรร่ี) เขตเกษตรกรรมแบบผสมผสาน เขตผลไมร้ สเปรี้ยว (เขตเมดิเตอรเ์ รเนยี น)

 เขตทุ่งหญ้าอัลไพนเ์ ล้ียงสตั ว์เร่ร่อน (กวางเรนเดียร)์ เขตปา่ ไมส้ น

 เขตทุง่ หญ้ากง่ึ ทะเลทรายเลี้ยงสัตวเ์ รร่ อ่ น (แกะขน โคเน้ือ อฐู ) ปลกู อินทผาลมั

9

ความท้าทายของครู คือ 1. การเตรียมส่ือประเภทแผนที่เฉพาะเร่ือง แผนที่เล่ม และแผนท่ีลักษณะทางกายภาพ ให้นักเรียนแปล

ความหมายข้อมูลทางภูมิศาสตร์เก่ียวกับที่ต้ังของกิจกรรมของมนุษย์ แทนท่ีครูจะเป็นผู้บอกข้อมูล นกั เรยี นท้ังหมด 2. การตั้งคาถามเพ่ืออธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการกาหนดกิจกรรมของมนุษย์ และจับ ประเดน็ คาตอบของนกั เรยี นมาสรุปเปน็ องค์ความรู้ เช่น การประมง - จากแผนท่ี กิจกรรมประมงอยู่บริเวณใดของโลกบ้าง การทาประมงแต่ละท่ีได้ผลผลิตแตกต่างกัน

เพราะเหตใุ ด - จากแผนที่ เพราะเหตใุ ดกิจกรรมประมงดงั กล่าวจงึ อยู่บรเิ วณนัน้

บริเวณท่ีมกี ิจกรรมประมงมีส่ิงแวดล้อมทางกายภาพอย่างไรบา้ ง 3. การวิเคราะห์คาตอบ สิ่งท่ีครูผู้สอนต้องทา คือ ศึกษาข้อมูลมาก่อน เพื่อช่วยแนะนาคาตอบให้นักเรียน

วเิ คราะหใ์ นทุกประเดน็ อยา่ งครอบคลมุ

เขตตั้งถิน่ ฐาน เป็นเขตปลาชุกชมุ

การวิเคราะห์ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างระบบธรรมชาติกบั กจิ กรรมของมนุษย์ เม่ือนักเรียนเข้าใจอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อกิจกรรมของมนุษย์แล้ว ครูควรให้นักเรียน วิเคราะห์ผลของกิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลกลับไปยังส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ เพ่ือให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการ ตัดสินใจของมนุษย์ที่ผลต่อการเปล่ียนแปลงธรรมชาติ และเสนอแนวทางที่เหมาะสมท่ีจะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่าง ยงั่ ยืน จากแผนภาพแสดง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพกับการประมง จะ เห็นว่าการประมงจะเกิดขึ้นได้ใน พน้ื ทที่ ีม่ ีปจั จยั จากส่ิงแวดล้อมทาง กายภาพมาสนบั สนุน และเม่ือเกิด กิจกรรมดังกล่าวแล้ว การประมง ก็มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ด้ ว ย เ ช่ น กั น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง บางอย่างนามาสู่การลดลงของ กจิ กรรมการประมงอีกดว้ ย

10

2. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลทางภูมิศาสตร์

การจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถใหเ้ หตุผลทางภมู ิศาสตรไ์ ด้น้นั มี 2 วิธี คือ

การสอนแบบอนุมาน (Deductive) การสอนแบบอุปมาน (Inductive)

เป็นการสอนโดยนาหลักความจริงท่ีเป็นกฏอยู่ เป็นการสอนจากส่วนย่อยไปหลักการ โดยให้

แลว้ นามาสู่การยกตัวอยา่ งในส่วนย่อยหรือใช้ใน พิจารณาจากตัวอย่างๆ จนสรุปเป็นหลักการ

สถานการณ์ท่ีหลากหลาย ทาให้ไม่ตัดสินใจอะไร นักเรียนจะต้องคิดค้นด้วยตนเอง ใช้เวลาในการ

ง่ายๆ ไม่สรปุ เร็วเกินไป วเิ คราะห์เพอ่ื หาหลกั การท่เี ป็นบทสรุป

ความสามารถในการให้เหตุผล ต้องอาศัยความสามารถในการวิเคราะห์ ดังนั้นการสอนให้ท่องจาเพียงอย่าง

เดยี วจึงไมเ่ พียงพอ การสอนให้คิดวิเคราะหจ์ ึงเป็นสิ่งสาคญั ในการสอนภูมิศาสตร์

การคิดวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการจาแนกแยกแยะส่วนต่างๆ ของเหตุการณ์ หรือสิ่งต่างๆ ว่า

ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง มีความสาคัญและสัมพนั ธก์ ันอยา่ งไร อะไรเป็นสาเหตเุ ป็นผล และที่เป็นอย่างน้ันอาศัยหลักการ

ใด การคดิ วเิ คราะห์ยังเปน็ พ้ืนฐานของการคิดระดับทสี่ ูงข้นึ

การคิดสรา้ งสรรค์

การคิดวจิ ารณญาณ การคิดวิเคราะห์เพื่อ

การตดั สินใจ การคิดวิเคราะห์เพื่อ หาความสัมพันธ์ของ การแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์เพื่อ เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูล เปรียบเทียบ การคิดวิเคราะห์ช่วย ส ร้ า ง ท า ง เ ลื อ ก อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล ข้อมู ลเ ก่าแ ละ ให ม่ ทาความเข้าใจปัญหา วิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย จัดระบบข้อมูลเพื่อ เพ่ือก่อให้เกิดการสร้าง อธิบายสาเหตุและ ข อ ง ท า ง เ ลื อ ก เ พ่ื อ สรปุ อา้ งอิงทน่ี ่าเช่ือถอื และพัฒนาส่งิ ใหม่ ตัดสินใจโดยมีเหตุผล ผลกระทบ

ประกอบ

การใชค้ าถาม เป็นเทคนิคการสอนภูมิศาสตร์ ท่ีช่วยพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ โดยคาถามท่ีใช้ควร เป็น คาถามแบบเปิด เป็นคาถามที่มีคาตอบหลายอย่าง ผู้ตอบต้องใช้ความรู้ผนวกความคิดให้เหตุผลประกอบการ อธิบาย ลักษณะของคาถามจะใช้คาว่า ทำไม เพรำะเหตุใด (why) อย่ำงไร (how) ถ้าไม่เป็นอย่างน้ันแล้วจะเป็น อย่างไร (if) เป็นคาถามท่ีถามเพื่อให้ได้ความชัดเจนช่วยให้ผู้เรียนร้ือฟ้ืนความรู้ ช่วยขยายใจความที่มีอยู่แล้ว เป็น ประโยชน์ในการเปิดประเด็นสู่ความเป็นไปได้ของคาตอบ เพ่ือให้ได้สมมติฐานของคาตอบ นักเรียนต้องแสดงความ เข้าใจและทักษะดา้ นการใชเ้ หตผุ ล

การใช้คาถามในการสอนภูมิศาสตร์ ทาให้นักเรียนตื่นตัวและสนใจเรียนมากข้ึน เข้าใจในส่ิงท่ีเรียน เช่ือมโยง ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขยายความคิดและแนวทางในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน มีส่วนร่วมใน กจิ กรรมการเรยี นการสอน นอกจากน้ีครสู ามารถใช้ในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรยี นได้

สิ่งท่ีพึงระวัง 1. หลีกเลีย่ งการใชค้ าถามที่ให้ผู้เรยี นตอบเพียง “ใชห่ รอื ไม่ใช่” เพราะเป็นคาถามที่ไม่ชว่ ยพัฒนาการคดิ

ของผู้เรียน

11

2. ไม่ควรเรง่ รดั คาตอบจากผูเ้ รยี น และคุณคา่ ของการสอนโดยใช้คาถามจะหมดไป ถา้ ครเู ป็นผู้ถามเอง ตอบเอง หรือถามคาถามในลักษณะที่ทบทวนความจาผเู้ รยี นมากเกนิ ไป

3. การใชก้ ระบวนการกลมุ่ เพื่อตอบคาถาม อาจช่วยทาให้นักเรยี นได้แลกเปลีย่ นคาตอบ และเกดิ ประเดน็ ชวนคิดทร่ี อบด้านมากข้ึน

4. การใหเ้ หตผุ ลทางภมู ิศาสตรข์ องนักเรยี นอาจเกิดข้อบกพรอ่ งได้ 2 แบบ คอื แบบที่ 1 คาตอบนักเรยี นอาจกระโดดไปยังผลปลายทาง แต่ยงั ขาดการอธบิ ายเหตผุ ลการเปลี่ยนแปลง ระหวา่ งทาง ครูตอ้ งถามคาถามเพมิ่ เตมิ เพ่ือใหน้ ักเรยี นแสดงเหตุผลเพ่ิมเติม

การเพ่ิมข้ึนของ การเกดิ กรดในทะเล ปะการัง การลดลงของ ก๊าซเรอื นกระจก การเกพาม่ิรเอกณุดิ กหรดภใมู นินท้าะเทละเล ฟอกขาว สตั วน์ า้

แบบที่ 2 นักเรยี นใหเ้ หตผุ ลได้ แต่ยงั ไมส่ ามารถวิเคราะหไ์ ปจนถงึ ปลายทางของคาตอบที่สมบรู ณ์ ครตู ้อง แนะนาเพม่ิ เติมแลว้ ใหน้ ักเรียนลองหาเหตผุ ลอธบิ ายต่อไป

การเพิม่ ขึน้ ของ การเกดิ กรดในทะเล ปะการัง การลดลงของ กา๊ ซเรือนกระจก สัตว์นา้ การเพ่ิมอณุ หภูมินา้ ทะเล ฟอกขาว

ตัวอย่างคาถาม What เทอื กเขาในทวีปอเมริกาใต้ที่มขี นาดใหญ่และมคี วามยาวทส่ี ุด คอื อะไร Where เทือกเขาดังกล่าวอยบู่ ริเวณใดของทวีปอเมริกาใต้ When เทอื กเขาดังกล่าวเกิดขึน้ ในยุคใด Why ทาไมเทอื กเขาดังกลา่ วจึงมีขนาดใหญ่และสงู ชนั How เทือกเขาดังกล่าวสง่ ผลต่อลักษณะภูมิอากาศและกิจกรรมของมนุษย์อย่างไร

IF ถ้าไมม่ ีเทือกเขาดงั กล่าว จะเกิดการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไรบ้างในทวีปอเมริกาใต้

การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ นักเรียนจะต้องอาศัยความ เข้าใจในมโนทัศน์มาประกอบการตอบคาตอบ ดังน้ัน ครูจะต้องสอน มโนทัศน์และหลักการพ้ืนฐาน เพื่อให้นักเรียนสามารถนามโนทัศน์ไป อธบิ ายประสบการณใ์ หม่ทน่ี ักเรยี นพบเจอตอ่ ไป ตวั อย่างเชน่

จากแผนท่ีทวีปอเมริกาใต้ ถ้าเทือกเขาแอนดีสในพื้นที่ เส้นประหายไป จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร จงอธิบายการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขนึ้ และเหตผุ ลทางภูมิศาสตร์

ส่ิงแรก นักเรียนต้องเข้าใจมโนทัศน์เกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ ระหว่างระบบธรรมชาติกับมนุษย์ก่อน จากคาถามกลาวถึงการ เปล่ียนแปลงทเ่ี กิดจากเทือกเขา

12

นักเรยี นจึงตอ้ งรคู้ วามสาคญั ของภูเขาท่ีมผี ลตอ่ ธรรมชาติและกจิ กรรมของมนษุ ย์

เป็นเทือกเขายุคหินใหม่ มีความสูงชัน เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวเพราะอยู่ใน แนวรอยตอ่ ของเปลอื กโลก

การวางตัวของเทือกเขา และความสูง ของเทือกเขามีผลต่อลักษณะภูมิอากาศ ในเรื่องการขวางกั้นทิศทางลม การเกิด เ ข ต เ ง า ฝ น รั บ ล ม ฝ น แ ล ะ ก า ร เปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ติ ามความสงู

เทอื กเขามีผลต่อการเป็นแหล่งกาเนิดต้น นา้ จากปา่ ย่ิงสงู มาก ปริมาณน้าก็จะมาก มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน ป่าไม้ และแร่

เ ข ต เ ทื อ ก เ ข า เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค ต่ อ ก า ร ต้ั ง ถิ่นฐานและการคมนาคมภายในภูมภิ าค

เทือกเขามี ส่ว นในการ กาหนดเข ต เศรษฐกิจ การเป็นเขตป่าไม้ ล่าสัตว์ เกษตรกรรมแบบยังชีพ การทาเหมืองแร่ และการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ แต่เป็น อปุ สรรคต่อการเพาะปลูกแบบไร่นาขนาด ใหญ่ การปศุสัตว์เพื่อการค้า และการเป็น ศนู ย์กลางทางพาณิชยกรรม

ตวั อย่างกจิ กรรม ถ้าโลกน้ไี ม่เหมือนเดมิ หลังจากเรียนจบทุกภูมิภาคแล้ว นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์แนวโน้มการ เปล่ียนแปลง โดยห้ามเปิดเนื้อหาและสืบค้นข้อมูลด้วย การใช้แผนที่ ลักษณะทางกายภาพเท่าน้ันในการวิเคราะห์ โดยอาศัยการเข้าใจ ปฏิสัมพันธ์ของระบบธรรมชาติและมนุษย์ในการตอบคาถามในประเด็น ต่างๆ ดงั นี้  ชายฝงั่ แอฟรกิ าเว้าแหว่งมากขึ้น  เทือกเขารอกกใี้ นอเมริกาเหนือหายไป  เทอื กเขาแอนดสี เปลยี่ นมาชดิ ชายฝงั่ ตะวนั ออก  เทอื กเขาในทวปี ยุโรปทงั้ หมดเปลีย่ นมาวางแนวตะวันออกตะวนั ตก  ทวีปออสเตรเลียย้ายมาอยู่บรเิ วณทเ่ี สน้ ศูนยส์ ูตรลากผา่ นกลางทวปี

13

3. ความสามารถในการมองอนาคตและตดั สินใจอย่างเป็นระบบ หลังจากที่นักเรียนเข้าใจปฏิสัมพันธ์ของ

ระบบธรรมชาติและมนุษย์ จะทาให้นักเรียนเห็น ภาพการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนท้ังในแง่ของการ เกิดภูมิวัฒนธรรมใหม่ในส่ิงแวดล้อม และการ เล่ือนไหลของประชากร สินค้าและความคิด ระหว่างภูมิภาค นอกจากน้ีการเปล่ียนแปลง ดังกล่าวอาจนามาสู่วิกฤติปัญหาสิ่งแวดล้อมอีก ด้วย สดุ ท้ายครตู ้องชวนนักเรียนวิเคราะห์ปัญหา และแนวโน้มของสิ่งแวดล้อม เพ่ือนามาสู่การ จดั การสง่ิ แวดล้อมและการพัฒนาทีย่ ่ังยืน

วิกฤติปัญหาส่ิงแวดล้อมที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหา การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ และ ปัญหาที่เกิดจากภัยพิบัติ ในการสอนเร่ืองเหล่าน้ี ไม่จาเป็นต้องสอนแยกกันเพราะทุกปัญหามี ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน ทั้งนี้เกิดจาก พฤติกรรมการใช้ชีวิตของมนุษย์เป็นสาเหตุ สาคัญที่ทาให้ระบบธรรมชาติเสียสมดุลจนเกิด การเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นวิกฤติปัญหา และครูควร เน้นย้าเห็นความสาคัญของการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของตนเอง การแก้ปัญหาท่ีมาจากทุก ฝา่ ย และความจาเป็นในการสร้างค่านิยมร่วมกัน

ทักษะที่จาเป็นต่อการทาความเข้าใจแนวโน้มและการ เปล่ียนแปลงท่ีเกิ ดข้ึนจากการปฏิสัมพันธ์ดังกล่าว คือ ความสามารถในการคิดเชิงระบบ การคิดเชิงอนาคต และการคิด เชิงพืน้ ท่ี

1. การคิดเชิงระบบ (system thinking) การคิดเชิง ระบบ เป็นการคิดให้เห็นภาพรวมท่ีประกอบด้วยหน่วยต่างๆ ท่ี สัมพันธ์และเช่ือมโยงกัน การคิดเชิงระบบจะทาให้มองเห็นว่า ตนเองเช่ือมโยงติดกับโลก ไม่สามารถแยกออกจากโลกหรือไม่ เก่ียวข้องกับโลกได้ เป็นการมองที่เห็นความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยอย่างเป็นระบบ ไม่ได้มองเป็นเส้นตรงต่อๆ กันไป เทา่ น้ัน มองเหน็ สาเหตขุ องปญั หาทีแ่ ท้จริง เปน็ การมองที่เขา้ ใจทัง้ ภาพรวมและสว่ นย่อยๆ ด้วย

การคิดเชิงระบบ เป็นการคิดเชิงเครือข่าย ท่ีประสานองค์ประกอบต่างๆ ให้เชื่อมโยงกัน ดังน้ันการคิดเชิง ระบบจึงต้องมองถึงความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงภายในระบบนั้นก่อน จึงจะเข้าใจระบบ ในระบบใหญ่อาจมีระบบ ย่อย ซง่ึ ในปัญหาหน่ึงปญั หาอาจมีปัญหาย่อยๆ ซบั ซ้อนลงไป

14

การคิดเชิงระบบ เป็นการคิดแบบสัมพันธ์กับบริบท ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม เรา ตอ้ งทาความเข้าใจสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบส่ิงนั้น เพื่อจะทาความเข้าใจหรือวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง การ วิเคราะหค์ ุณสมบตั ิของบรบิ ท เพอื่ ทาความเข้าใจระบบทัง้ หมด

การคิดเชิงระบบ เป็นการคิดอย่างเป็นกระบวนการ เพราะทุกอย่างในโลกน้ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีพัฒนาการ กระบวนการจึงเป็นหลักเกณฑ์สาคัญในการอธิบายระบบ เพราะกระบวนการอยู่ในกิจกรรมของ ระบบ กระบวนการมีสว่ นชว่ ยใหส้ ่วนประกอบของระบบเช่ือมโยงต่อเนื่องกัน

ดังนั้น การคิดเชิงระบบ คือ การคิดที่หลากหลายแบบมารวมในการแก้ปัญหา โดยอาศัยการเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยๆ ที่มีความสัมพันธ์ เป็นลาดับข้ันตอน มองเห็นภาพรวมของปัญหาหรือสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อน ให้ คลค่ี ลาย นอกจากนกี้ ารคิดเชงิ ระบบไม่ได้มุ่งเพ่ือการแก้ปัญหาเท่าน้ัน แต่ยังสามารถนาไปสู่การตัดสินใจในการกระทา สง่ิ ต่างๆ ไดด้ ว้ ย

การคิดเชงิ ระบบจะประกอบดว้ ยองค์ประกอบสาคญั 2 ประการ คือ 1. การวิเคราะห์ความเชื่อมโยง เป็นการวิเคราะห์ระบบท่ีมีส่วนประกอบย่อย โดยการวิเคราะห์ สถานการณ์หรือปัญหา พิจารณาว่าองค์ประกอบย่อยในระบบมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน อย่างไร จนสามารถอธบิ ายแนวโนม้ และแบบแผนของเหตกุ ารณ์นน้ั 2. การคิดป้อนกลับของเร่ืองราว เป็นการอธิบายผลของการกระทาอย่างใดอย่างหน่ึง ท่ีแสดงการ เชอ่ื มต่อระหว่างสว่ นต่างๆ จนเปน็ วงจรป้อนกลบั ของระบบมายังจุดเร่มิ ตน้

วิธีสอนเพ่ือฝกึ คดิ เชงิ ระบบ 1. ฝึกนาหลกั การมาอธิบายสงิ่ ตา่ งๆ อยา่ งมเี หตผุ ล 2. ฝึกคดิ หาความสมั พนั ธ์ระหว่างเหตผุ ลและผลลัพธ์ท่เี กิดขึ้น 3. ฝึกคิดแบบวงกลม เป็นการฝึกคิดการเช่ือมต่อกันระหว่างส่วนต่างๆ ที่ก่อให้เกิดวงจรย้อนกลับ (feedback loop) เป็นการสะทอ้ นขอ้ มลู กลบั มาทีจ่ ุดเรม่ิ ตน้ อีกครง้ั 4. ฝกึ วเิ คราะห์ผลกระทบ (side effect) ท่ีเกดิ ขน้ึ ทง้ั ทางบวกและทางลบ ทั้งระยะสัน้ และระยะยาว 5. ฝกึ ใหผ้ ู้เรยี นรจู้ กั เปรยี บเทยี บระหว่างการมองแยกส่วนและการมองภาพรวม พิจารณาความแตกต่าง ของผลลัพธ์จากการมองท้ังสองแบบ หลกี เลยี่ งการคิดทางตรง

2. การคดิ เชิงอนาคต (futuristic thinking) การคิดเชิงอนาคต เป็นความสามาร ถในการ คาดการณ์แนวโน้มในอนาคตอย่างเป็นระบบ และมีเหตุผล คาดการณ์เพื่อสร้างเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและตัดสินใจ เลือกการกระทาที่เหมาะสมหรือหลีกเลี่ยงการกระทาท่ีไม่ ถูกตอ้ ง ประกอบด้วย

2.1 การจินตนาการบนความสัมพันธ์ของ เหตุและผล เป็นการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต บน พนื้ ฐานของขอ้ มลู ทเ่ี พยี งพอ อาศยั ความเป็นเหตุเป็นผล หลัก ความเป็นไปได้ และหลักความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ใน ลักษณะของการพึ่งพาอาศัยกันและการรับผลกระทบซึ่งกัน และกัน

15

2.2 การวางแผนเพ่ือกาหนดอนาคตที่เหมาะสม เป็นการวิเคราะห์ผลดีและผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนใน อนาคต เพ่ือวางแผนและกาหนดทิศทางในอนาคตที่เหมาะสม รวมถึงการปรับเปลี่ยนแผน เพ่ือรับผลดีและป้องกัน ผลเสยี ในอนาคต

การพฒั นาการคิดเชิงอนาคต จะช่วยกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเหน็ ความสาคัญและมองอนาคตให้มากขึ้น สอนให้เห็น ผลดีจากการกระทาท่ีมุ่งอนาคต วิเคราะห์และประเมินผลท่ีเกิดข้ึนตามในอนาคต คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่อาจ เกิดขึ้นโดยใช้เหตุผล สมมติฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริงและความสัมพันธ์ต่างๆของอดีตและปัจจุบัน ฝึกวางแผนระยะยาว หรอื วางแผนเพื่อบรรลุเปา้ หมายในอนาคต

3. การคดิ เชิงพ้ืนท่ี (spatial thinking) เป็นการคิดที่ใช้ความรู้ทางภูมิศาสตร์ในการระบุ วิเคราะห์ และทาความเข้าใจประเด็นเกี่ยวกับที่ต้ัง ทิศทาง มาตราส่วน แบบรูป พ้ืนที่ และแนวโน้มของความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์กับเวลา ในการสอน ภูมิศาสตร์นั้นครูควรจะฝึกให้นักเรียนคิดว่าพื้นท่ีหรือภูมิภาคท่ีศึกษาอยู่น้ันมีความสัมพันธ์กับพ้ืนท่ีโดยรอบอย่างไร ดังนั้นเราจึงไม่สามารถสอนภูมิศาสตร์โดยท่ีไม่สนใจพื้นท่ีโดยรอบไม่ได้ เพราะพ้ืนท่ีเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบเชื่อมโยง สัมพนั ธก์ ัน และในขณะเดียวกนั พ้นื ทที่ ่เี ราศึกษาอยนู่ ้ันกเ็ ปน็ ส่วนหนึ่งของพ้ืนที่ท่ีใหญ่กว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนใน พน้ื ที่ในระดับยอ่ ยก็จะสง่ ผลต่อพื้นทโ่ี ดยภาพรวมด้วยเชน่ กนั ดังนน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ การจดั เนอ้ื หาจึงเร่มิ จากพ้ืนท่ีใกล้ตัวจน ไปไกลตัว จากบ้านของตนเอง ขยายขอบเขตมาเป็นเมือง ชุมชน จังหวัด ประเทศ และโลกตามลาดับ และการสอน ภมู ศิ าสตร์จึงเร่มิ ตน้ จากการศกึ ษาท่ีตัง้ ไมว่ ่าจะสอนพนื้ ทใ่ี ดกต็ ามจาเป็นต้องทราบที่ตั้งบนผิวโลก และอาณาเขตติดต่อ ของพ้ืนท่ีที่ศึกษาด้วย การสอนให้นักเรียนรู้จักการคิดเชิงพ้ืนท่ี ครูอาจต้ังประเด็นในการศึกษาโดยใช้คาถามนาเพ่ือหา คาตอบดงั ตอ่ ไปน้ี

พื้นทีเ่ หลา่ นม้ี ีอะไรที่ พ้ืนท่ีเหล่าน้มี ีความ ทาไมพนื้ ทที่ ่ีอยู่ใกล้กัน คลา้ ยคลึงกันบ้าง เหมอื นหรือแตกต่างกัน จึงมีลกั ษณะ คลา้ ยคลงึ กนั พืน้ ที่สว่ นย่อย อยา่ งไร เก่ยี วข้องสัมพันธก์ ับ พืน้ ที่โดยรวมอยา่ งไร Spatial สภาพแวดลอ้ ม thinking เปล่ยี นแปลงไปอยา่ งไร บ้างจากพน้ื ทห่ี นึง่ ไปยัง

อีกพืน้ ท่ีหน่ึง

พืน้ ทนี่ ้สี ่งผลกระทบต่อพืน้ ท่ี พืน้ ที่นม้ี ีการเปล่ียนแปลงไป อ่ืนอย่างไร จากอดตี อย่างไร

16

การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์

กระบวนการทางภูมิศาสตร์ สามารถใช้เป็นแนวทางใน

การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องการเรียนรู้แบบสืบสอบ และการ

เรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน อีกท้ังยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดการ

พัฒนาทักษะการสังเกต ทักษะการแปลความข้อมูลทาง

ภูมิศาสตร์ การใช้เทคโนโลยีและการสถิติพ้ืนฐานเพื่อนามาสู่

ข้อสรุปที่เป็นองค์ความรู้ที่เป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายสาหรับ

ผู้เรียน โดยการนากระบวนการทางภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัด

กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วยดว้ ยขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้

1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ การศึกษาภูมิศาสตร์

จะต้องอาศัยความสามารถในการต้ังคาถาม คาถามท่ีใช้ศึกษาในวิชาภูมิศาสตร์จะเป็นคาถามท่ีมีลักษณะเฉพาะ โดย

เป็นปัญหาเกี่ยวกับคาถามที่ถามวา่ ท่ีไหน และทาไมจึงต้องเป็นท่ีนั่น (where and why there) จึงเป็นส่ิงสาคัญอย่าง

ยิ่งทน่ี กั เรียนจะต้องพฒั นาและฝึกทกั ษะเก่ียวกับการตัง้ คาถาม

แนวคาถาม ตัวอย่างคาถาม

 เพราะเหตใุ ดส่ิงต่างๆ จึงปรากฏและเป็นอยู่ท่ีตรง ทาไมแผน่ ดินไหวจงึ เกดิ ท่ปี ระเทศญป่ี ่นุ

น้ัน เพราะเหตุใดมนั จงึ อยูท่ ่ีน่ัน

 บางส่งิ บางอยา่ งนั้นสมั พนั ธก์ บั อะไรบา้ ง ประเทศที่เกิดแผ่นดินไหว ยังเกิดภูเขาไฟปะทุและ สึนามิ ดว้ ย เพราะอะไร

 ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นตรงน้คี ล้ายกับท่ีไหนบา้ ง นอกจากประเทศญี่ปุ่นแล้วยังมีประเทศใดอีกบ้างท่ีเกิด แผ่นดนิ ไหว

 อะ ไร เป็ นผ ลท่ี เกิ ดขึ้ น จ าก ทา เล ที่ต้ั งแ ล ะ จากการต้ังอย่บู นแนวรอยเลื่อน จะเกดิ ผลกระทบอะไรบา้ ง ความสัมพันธ์เหลา่ น้ัน

การตั้งคาถามนั้นจะต้องเป็นคาถามท่ีมีความเป็นไปได้ในการหาคาตอบ นามาสู่การตั้งสมมติฐานของคาตอบ และสะทอ้ นให้เห็นถงึ แนวทางในการรวบรวมข้อมลู เพื่อหาคาตอบดว้ ย ในระดับเรม่ิ ต้นการฝึกต้ังคาถามควรเร่ิมต้นแยก คาถามทางด้านภูมิศาสตร์ออกจากคาถามท่ีท่ัวไป ครูร่วมกันต้ังคาถามเพื่อชวนให้นักเรียนสงสัยและกระตุ้นให้เกิด คาถามตอ่ ยอดตามมา

2. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ขอ้ มูลที่ใชใ้ นการศึกษาภูมิศาสตร์ เรียกว่า สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information) เป็นข่าวสารที่ มรี ายละเอียดเกยี่ วกบั ทาเลทตี่ ้งั ลกั ษณะทางกายภาพและกจิ กรรมของมนษุ ย์ เม่ือนักเรยี นตง้ั คาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ นักเรียนจะต้องรวบรวมข้อมูลจากการอ่านและแปลความหมายจากแผน ท่ี ภาพถ่าย ข้อมูลสถิติ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมถึงการเก็บข้อมูลจากการสอบถาม การออกภาคสนาม และการอา้ งอิงจากเอกสาร การออกภาคสนาม นับว่ามีความสาคญั เปน็ อยา่ งมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ เป็นการฝึกทักษะการสังเกต ในพ้ืนที่จริง ด้วยการสัมภาษณ์ การสอบถาม และการบันทึกภาพ การออกภาคสนามจะช่วยกระตุ้นให้ความอยากรู้ อยากเห็น เพลิดเพลิน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) จากการเก็บข้อมูลจะทาให้นักเรียนเข้าใจ ลกั ษณะทางกายภาพและกิจกรรมของมนุษยท์ เ่ี กดิ ข้ึนในทต่ี า่ งๆ

17

3. การจดั การขอ้ มูล เม่อื นักเรียนไดข้ ้อมูลแล้ว ก็ตอ้ งจัดการและนาเสนอออกไปด้วยวิธีการต่างๆ เพ่ือให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูล เพราะข้อมูลท่ีได้อาจจะกระจัดกระจาย และไม่เพียงพอ นักเรียนจะต้องนาข้อมูลมาจาแนก และจัดกลุ่มให้อยู่ใน รูปแบบแผนภาพ แผนผัง แผนท่ี และกราฟ ทาให้เห็นภาพสรุปท่ีชัดเจน ในการจัดการข้อมูลน้ัน นักเรียนต้องมี ความคดิ สรา้ งสรรค์ในการออกแบบและมีวธิ กี ารนาเสนอข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ การทาแผนท่ีเป็นวิธีการท่ีนิยมมากในการจัดการข้อมูล ด้วยการเขียนข้อความหรือบันทึรายละเอียดจากการ สารวจที่ต้องการนาเสนอไว้ในแผนท่ี การใช้สัญลักษณ์แสดงข้อมูลในแผนที่ เช่น ท่ีตั้งของทรัพยากรท่ีมีอยู่บนโลก จุด ตั้งถังขยะในโรงเรียน ตาแหน่งท่ีเกิดแผ่นดินไหว พื้นที่ท่ีประสบปัญหาส่ิงแวดล้อม เป็นการพัฒนาทักษะในการ ออกแบบสญั ลกั ษณใ์ นแผนที่ การค้นหาทาเลท่ตี งั้ บนแผนท่ี การกาหนดทิศทาง และการใชม้ าตราส่วน 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการศึกษาแบบรูป ความสัมพันธ์ และความเชื่อมโยงที่เกิดขึ้นของปรากฏการณ์ต่างๆ ทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนศึกษาแนวโน้ม ความสัมพันธ์ และความต่อเนื่องของปรากฏการณ์หาความสัมพันธ์สอดคล้อง กนั และลักษณะที่คลา้ ยกนั ระหวา่ งพน้ื ที่ เปรียบเทยี บกับขอ้ มูลจากแผนท่ี กราฟ แผนภาพ ตาราง และอื่นๆ ด้วยการใช้ สถิติอยา่ งง่ายๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้คาตอบสาหรับคาถาม แผนที่ ศึกษารูปแบบและความสมั พนั ธท์ างพ้ืนที่ ตาราง กราฟ ศกึ ษาแนวโนม้ และความสมั พันธ์ระหวา่ งประเด็นตา่ งๆ เอกสาร ตารา ศึกษาความหมาย อธบิ าย และสังเคราะหค์ ุณลักษณะของแตล่ ะสิ่งทีส่ นใจ

5. การสรปุ ข้อมูลเพ่อื หาคาตอบ

การสรุปคาตอบบนจากข้อมูลท่ีถูกเก็บรวบรวม จัดการ และการวิเคราะห์อย่างเป็นขั้นตอน โดยอ้างอิงข้อมูล

ด้วยการนาเสนอดว้ ยวาจาและข้อเขียน แสดงคาตอบท่ีแสดงออกถึงความสามารถในการให้เหตุผล และความสามารถ

ในการสื่อสารท่ชี ัดเจน

กระบวนการทางภูมิศาสตร์ รายละเอียด ตวั อยา่ งกิจกรรม

ต้งั คาถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ การตั้งคาถามเพื่อกาหนดประเด็นที่จะ  การสงั เกต (Asking Geographic ศึกษา โดยคาถามน้ันต้องเกี่ยวข้องกับ  การสาธิต Questions) “ทตี่ ง้ั ” เชน่ สิง่ น้ันอยู่ที่ใด เหตุใดจึงอยู่ที่นั่น และท่ตี ้ังน้นั มีความสาคญั อย่างไร  การทดลอง  การอภิปราย

รวบรวมสารสนเทศทาง รวบรวมข้อมูล สืบค้นจากเคร่ืองมือทาง  การสืบคน้ ทางอนิ เทอรเ์ น็ต ภมู ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ รูปถ่าย รูปถ่ายทางอากาศ ภาพ  ก า ร ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง มื อ แ ล ะ (Acquiring Geographic จากดาวเทียม ข้อมูลเชิงสถิติ หรือข้อมูล เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ Information) แบบบรรยายท่ีเป็นประโยชน์ในการตอบ คาถาม  การเก็บขอ้ มลู ภาคสนาม  การบนั ทึกการสงั เกต

จัดการสารสน เทศทาง การนาข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความถูกต้อง  การทาแผนที่ ภมู ศิ าสตร์ ความพอเพียง ตลอดจนจาแนก จัดกลุ่ม  การทาผังกราฟฟิค Organizing Geographic ข้อมูล จัดหมวดหมู่เพื่อง่ายต่อการวิเคราะห์ Information) ข้อมูล  การเขียนผังมโนทัศน์

18

กระบวนการทางภูมิศาสตร์ รายละเอียด ตวั อยา่ งกจิ กรรม

วิเคราะห์สารสนเทศทาง การอธิบายและแปลผลข้อมูลท่ีผ่านการ  การอภปิ รายกล่มุ ภมู ิศาสตร์ จัดการแล้ว เพ่ือให้ได้แนวคาตอบของ  การระดมความคดิ

(Analyzing Geographic คาถาม

Information)

สรปุ สารสนเทศทาง สรุปคาตอบให้ตรงกับคาถาม โดยอ้างอิง  การทาโปสเตอร์

ภมู ศิ าสตร์ หลักการ ทฤษฎี และกฎด้วย จากน้ันเรียบ  การสรุปลงใบงาน

(Answering Geographic เรยี งคาตอบเพอ่ื จะนาเสนอ  การนาเสนอหน้าช้นั เรียน Information)

การสอนภูมิศาสตร์ ต้องเน้นการพัฒนาการคิดวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยง เปรียบเทียบและให้

เหตุผลทางภมู ิศาสตร์ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนสบื ค้น รวบรวม ตคี วามสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์จากแหล่งสารสนเทศ

ทางภูมศิ าสตร์และใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกอ่านทาความเข้าใจระบบธรรมชาติและ

มนุษย์ และการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน สุดท้ายคือการฝึกให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการมีส่วนรวมจัดการ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้