พ ชท ในหลวงทรงให ม การเพาะเล ยงเน อเย อ

สืบสานพระราชดำ� ริสู่ความย่ังยืน

โครงการคา่ ยเยาวชนรู้งานสบื สานพระราชดำ� ริ (RDPB Camp) บนั ทกึ เหลา่ ตน้ กลา้ จาก RDPB Camp

สารบญั

4 10 22

สบื สานพระราชดำ� ริ (ครูก๊อต) (ครูอ๋อง) สู่ความย่ังยืน นายรัตนชาติ สาระโป วา่ ทีร่ อ้ ยตรี อิสระ ดคี รนั บันทกึ เหล่าตน้ กล้า จาก RDPB Camp ‘ครูอาชีพ เพอ่ื เด็กดอย’ ‘ครนู กั พัฒนาชมุ ชน แรงจูงใจจากแม่ ส่กู ารตามรอยการพัฒนา’

34 46 58

(ครมู อส) (เตา่ น้อย) (ครอู ๊อฟ)

นายกรวิชญ์ ศรีกัณหา วา่ ท่รี ้อยตรี สถาพร สมยั กุล นายฐติ พิ งศ์ พันธด์ ี

‘เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา’ ‘ดั่งครผู ูต้ ามรอย ‘ครูคืนถน่ิ ผู้กลบั มา จากภาคทฤษฎี สูก่ าร พระราชด�ำรนิ �ำแนวคิด พัฒนาถิ่นบา้ นเกิด’ ปฏิบตั ิจริง ส่กู ารประยุกตใ์ ช้’

‘สบื สานพระราชดำ� รสิ คู่ วามยั่งยืน’

เป็นท่ีทราบและประจักษ์ จะเหน็ ไดจ้ ากแนวพระราชดำ� รใิ นการ ต่อสายตาปวงชนชาวไทยมาช้า พฒั นาดา้ นตา่ งๆ นานปั การ โครงการ นานว่า พระบาทสมเด็จพระบรม อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริกว่า ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดช 4,000 โครงการก่อเกิดข้ึนเป็น มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงริเร่ิม แนวทางการแก้ปัญหา เป็นต้นแบบ และคิดค้นแนวทางมากมายที่ช่วย เป็นบทเรียน และเป็นการเรียนรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนความเป็นอยู่ ของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีส่วนร่วม ของประชาชนชาวไทยให้ดีขึ้น ดัง ในการบริหารจัดการทรัพยากร

4

ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงการ กปร. เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีหน้าที่ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในการด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริ จวบจนรัชกาลปัจจุบัน พระบาท รวมท้ังการเผยแพร่องค์ความรู้ตาม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราช แนวพระราชด�ำริ และผลส�ำเร็จของ ปณิธานที่จะสืบสาน รักษา และ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ต่อยอดโครงการอันเนื่องมาจาก ไปสู่ราษฎรเพื่อประโยชน์ในการใช้ พระราชดำ� ริ เพอ่ื ยงั ประโยชนต์ อ่ ปวง ชีวิตบนพ้ืนฐานของความม่ันคงและ ชนชาวไทยใหส้ บื เนอ่ื งตอ่ ไป ยั่งยืน โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ จะเป็นอนาคตของชาติควรได้ เพื่อประสานงานโครงการอันเน่ือง รับรู้และเรียนรู้ว่า ในอดีต มีการน�ำ มาจากพระราชด�ำริ หรือส�ำนักงาน องค์ความรู้ตามแนวพระราชด�ำริ

5

มาแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เห็นผลเป็นที่ จากผ้เู รยี นในวันน้ัน ประจักษ์ และควรน�ำมาสานต่อการ สู่ครผู ถู้ ่ายทอดในวนั นี.้ ..

พฒั นาน้ีให้ย่ังยนื ส�ำนกั งาน กปร. จงึ ได้จัดท�ำโครงการค่ายเยาวชนรู้งาน หนังสือ สืบสานพระราชด�ำริ สบื สานพระราชดำ� ริ (RDPB Camp) สู่ความยั่งยืน เล่มนี้ เป็นส่วนหน่ึง ข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง ซึ่งปัจจุบันได้ ในกิจกรรมภายใต้โครงการค่าย ด�ำเนินการมาเป็นรุ่นที่ 11 โดยได้ เยาวชนรู้งานสืบสานพระราชด�ำริ ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้สอดคล้องกับ (RDPB Camp) นับเป็นหนังสือชุด สถานการณป์ จั จบุ นั ทส่ี งั คมไทยยงั คง ที่ 2 ทไ่ี ดร้ วบรวมตน้ แบบหรอื ตวั อยา่ ง เผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคติด รุ่นพ่ีท่ีเคยเข้าร่วมโครงการฯ รุ่นที่ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1 – 10 ทนี่ ำ� องคค์ วามรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ มาเป็นกิจกรรม “การเรียนรู้ตาม อย่างเหมาะสมกับบริบทของตนเอง แนวพระราชด�ำริผ่านสื่อออนไลน์” เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจ และเป็น แก่เยาวชนจากสถาบันการศึกษา ขอ้ บง่ ชวี้ า่ ประชาชนทกุ คน ทกุ ระดบั ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ทุ ก ภู มิ ภ า ค ทุกสาขาอาชีพ สามารถท่ีจะน�ำแนว ทั่วประเทศจ�ำนวน 80 คน ซ่ึง พระราชด�ำริไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต เยาวชนท่ีเข้าร่วมได้เรียนรู้แนว ของตนได้อย่างแท้จริง ดังเช่นคร้ัง พระราชด�ำริในการด�ำเนินงาน น้ีที่ได้คัดเลือกมาน�ำเสนอ ท่ีล้วน โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ แต่เป็น ครู หรือพ่อพิมพ์ของชาติ ควบคู่ไปกับการฝึกทักษะการจัดท�ำ ผู้ให้ความรู้ในหลากหลายสาขา แต่ สื่อให้เหมาะสมกับยุคดิจิทัลอีกด้วย ยังสามารถน�ำแนวพระราชด�ำริไป

6

ปรับใช้และถ่ายทอด เป็นต้นแบบ ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช ให้แก่เยาวชนรุ่นต่อ ๆ ไปได้อย่าง มหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงรเิ รมิ่ ไว้ นา่ สนใจตามแนวทางของตนเอง ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม

ส�ำนักงาน กปร. เชื่อม่ันว่า ทงั้ ยงั สามารถนำ� เกรด็ ความรจู้ ากเรอื่ ง ค�ำบอกเล่าจากประสบการณ์ของครู ราวเหลา่ นไี้ ปเทยี บเคยี งประยกุ ตใ์ ชใ้ น ที่ผ่านการเรียนรู้ ประยุกต์ ใช้องค์ แนวทางทต่ี นสนใจไดต้ อ่ ไป และพรอ้ ม ความรู้และแนวพระราชดำ� ริจะสามารถ ท่ีจะสืบสาน รักษา ต่อยอด ให้เกิด ท�ำให้ผู้อ่านได้เห็นการน�ำแนวทาง ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป ต า ม ท่ี พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม

7

นายรตั นชาติ สาระโป

คา่ ยเยาวชนรู้งานสบื สาน พระราชดำ� ริ รนุ่ ท่ี 5.2 และรุ่นท่ี 6.1

วา่ ทร่ี ้อยตรี อสิ ระ ดีครัน

คา่ ยเยาวชนรู้งานสบื สาน พระราชด�ำริ รนุ่ ที่ 4.6

นายกรวชิ ญ์ ศรกี ัณหา

คา่ ยเยาวชนรูง้ านสบื สาน พระราชด�ำริ รนุ่ ที่ 4.1 และรนุ่ ท่ี 5.1

8

ว่าทร่ี ้อยตรี สถาพร สมัยกลุ

คา่ ยเยาวชนรู้งานสืบสาน พระราชด�ำริ ร่นุ ท่ี 4.7 และรุ่นท่ี 6.1

นายฐติ พิ งศ์ พันธด์ ี

ค่ายเยาวชนร้งู านสบื สาน พระราชด�ำริ รุ่นท่ี 8

9

“‘ครูอาชีพ เพือ่ เดก็ ดอย’

รตั นชาติ สาระโป

“...เด็กในปัจจุบัน เกิดมา

ในยุคที่มีข้อมูลข่าวสารเยอะมาก การสอนให้เด็กท่องจ�ำเพียง อยา่ งเดยี ว บางเรอื่ งคงไม่เหมาะ ควรเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดต้ งั้ คำ� ถาม ได้วิเคราะห์เหตุและผลด้วย น่ีคือ การเรียนรู้ และเป็นสว่ นหนึ่งของ ทักษะในการเป็นพลเมืองท่ีดี...

10

นายรตั นชาติ สาระโป (ครูก๊อต) อายุ 25 ปี ครูสังคม โรงเรียนบ้านแมง่ อนขี้เหล็ก จงั หวดั เชยี งใหม่ คา่ ยเยาวชนรงู้ านสบื สานพระราชดำ� ริ รนุ่ ที่ 5.2 และรนุ่ ท่ี 6.1

ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ น แ ต ่ ล ะ ค ร้ั ง มี ผ ล คืนไปและเรียกมาท�ำโทษด้วยไม้เรียวสัก ต่อสิ่งที่ตามมาเสมอจังหวะท่ีผมได้ยิน ทีสองที เพราะเราก็มีอ�ำนาจความเป็นครู เสียงนักเรียนตะโกนใส่ผมด้วยถ้อยค�ำท่ี แต่อีกใจหนึ่งก็บอกว่า ผมไม่ควรท�ำ เพราะ หยาบคาย แนน่ อนวา่ อารมณโ์ กรธยอ่ มปะทุ บางทีจุดเปลยี่ นของเรือ่ งนี้ จะออกมาดีหรือ ข้ึน ใจหน่งึ บอกว่านา่ จะตะโกนสบถคำ� หยาบ ไม่ดี อาจอยทู่ กี่ ารตัดสนิ ใจของผม

11

นนั่ คอื เหตกุ ารณท์ ผี่ มเจอ หลงั จากเขา้ ตัวก็ชื่นชอบบรรยากาศของเมืองเหนือเป็น รับราชการครูได้ไม่นาน ท้ายท่ีสุดแล้ว ผม ทุนเดิมอยู่แล้ว และที่ส�ำคัญ ได้ท�ำในส่ิง ตัดสินใจอย่างไร ประเด๋ียวจะเล่าให้ฟังต่อ ที่รัก เพราะท�ำให้มีโอกาสได้ร่วมกิจกรรม ครับ แต่ขอแนะน�ำตัวก่อนผมชื่อ รัตนชาติ ตา่ งๆ ของศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไคร้ สาระโป เปน็ ชาวรอ้ ยเอด็ ปจั จบุ นั อายุ 25 ปี อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ จงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ ครผู ชู้ ว่ ยอยทู่ ี่ โรงเรยี นบา้ นแมง่ อนขเ้ี หลก็ ต�ำบลแม่งอน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ย้อนกลับไปวันแรก ระหว่างที่รถ นกั เรยี นเรยี กผมวา่ ครกู อ๊ ต ผมอาจจะเปน็ ค่อยๆ วิ่งเข้าสู่ต�ำบลแม่งอน เพ่ือน�ำตัวผม แคค่ รธู รรมดาคนหนง่ึ แตผ่ มมปี ระสบการณ์ ไปยังโรงเรียนบ้านแม่งอนข้ีเหล็ก ขณะท่ี ทพี่ เิ ศษอยากจะบอกตอ่ เผอ่ื นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ สายตาผมมองออกไปนอกรถ ได้เห็นพืช กนั ไดค้ รบั พรรณนานาชนดิ แยง่ กนั แผก่ งิ่ กา้ นสาขา อวด ดอกออกผลตามฤดูกาล ได้เห็นบ้านเรือน เหตุผลส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ผมตัดสินใจ ที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนที่นั่น ทว่าในหัวผม เป็นครูอยู่ท่ีน่ีก็มาจากการท่ีได้มีโอกาสเข้า ก็ก�ำลังครุ่นคิดอยู่หลายเร่ืองเพราะตื่นเต้น ร่วม โครงการค่ายเยาวชนรู้งานสืบสาน ทั้งค�ำถามที่ว่าผมจะท�ำหน้าท่ีครูได้ไหม จะ พระราชด�ำริ (RDPB Camp) อีกทั้งส่วน เอาอะไรไปสอนนักเรียน นักเรียนจะฟังไหม

12

และแวบ่ หนงึ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในหวั ผมคอื ทกั ษะและ กระบวนการท่ีตัวเองมีจากการท�ำกิจกรรม ในร้ัวมหาวิทยาลัยคงช่วยให้เรามีความสุขที่ จะเอาชนะความกังวลเหล่านี้ได้

ผมมโี อกาสเขา้ ค่าย 2 ครงั้ คอื ตอน อยชู่ นั้ ปที ่ี 4 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ค่ายรุ่น 5.2 ณ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด

เชยี งใหม่ และคา่ ยรนุ่ ท่ี 6 ณ ศนู ยศ์ กึ ษาการ พฒั นาเขาหนิ ซอ้ นอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ตอนอยู่ชั้นปีท่ี 5 ซ่ึงเม่ือกลับจากค่ายได้ น�ำความรู้จาก RDPB Camp มาใช้ในการ จดั คา่ ยในชมรมอนรุ กั ษฯ์ มข. ปลกู ปา่ ในใจคน เพอื่ ปลกู จติ สำ� นกึ และใหค้ วามรู้ เพราะอยาก ใหท้ กุ คนนำ� ความรไู้ ปชว่ ยกนั วเิ คราะหป์ ญั หา ตระหนักถึงความส�ำคัญกับส่ิงแวดล้อมให้ มากยิ่งข้ึน จนกระทั่งใกล้จบการศึกษา ได้ มีโอกาสเป็นผู้อ�ำนวยการใหญ่ของค่าย ชมรมอนุรกั ษฯ์ มข. ปลูกป่าในใจคน จงึ น�ำ รปู แบบจาก RDPB Camp ในการนำ� ปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้ช�ำนาญกระบวนการสร้างความ ตระหนักรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมมาเป็นวิทยากร ในค่าย เน้นการปลูกจิตส�ำนึก การอนุรักษ์ วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพราะได้แรง บนั ดาลใจจากพระราชด�ำรสั ความตอนหนึง่ ที่วา่ “...เจา้ หนา้ ทีป่ ่าไม้ควรจะปลูกตน้ ไม้ ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะ

13

พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษา ใหเ้ ปน็ บคุ คลคณุ ภาพ ตามพระบรมราโชบาย ตน้ ไมด้ ว้ ยตนเอง...” 4 ด้าน ดังน้ี 1) มีทัศนคตทิ ถี่ ูกต้องต่อบา้ น เมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตท่ีม่ันคง มีคุณธรรม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร 3) มงี านทำ� มอี าชพี และ 4) เปน็ พลเมอื งทดี่ ี มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ณ หน่วย ทุกคร้ังท่ีผมได้สอนนักเรียน ผม จัดการต้นน�้ำทุ่งจ๊อ อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด มีความสุขมากกับภาพเบ้ืองหน้า เพราะ เชียงใหม่ เมอ่ื วนั เสาร์ท่ี 31 มกราคม 2519 นักเรียน ส่วนใหญ่เป็นเด็กและเยาวชน จึงได้น้อมน�ำเป็นแนวทางในการดำ� เนนิ งาน ชนเผ่าพ้ืนเมือง เด็กชาติพันธุ์ นักเรียน มีความแตกต่างหลากหลายในการเรียน ในสว่ นการทำ� หนา้ ทค่ี รขู องผม นบั ตงั้ แต่ รู้เป็นอย่างมาก ได้ช่วยกันคิด ช่วยกัน วนั แรกทมี่ าประจำ� อยทู่ น่ี จี่ นถงึ ปจั จบุ นั ผมทำ� ตั้งค�ำถาม และฟังการวิเคราะห์จากครู หน้าที่ครูสอนวิชาสังคมศึกษาให้แก่นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 และได้รับมอบ หมายจากนายพิษณุ วงศ์สูน ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก ให้ดูแลเรื่อง งานตามแนวพระราชด�ำริในการด�ำเนิน ชีวิตแบบพอเพียง ผ่านทางศูนย์การ เรยี นรู้ เกษตรอนิ ทรยี ใ์ นโรงเรยี น นอ้ มนำ� แนว พระราชดำ� รใิ นหลวงรชั กาลที่ 9 มาถา่ ยทอด ให้นักเรียนในด้านแนวคิด ทฤษฎี และหลัก การทรงงาน เพื่อให้นักเรียนเกิดการคิด วิเคราะห์และการตั้งค�ำถาม ต่อทุกอย่างท่ี เกิดข้ึนปัจจุบัน ในฐานะพลเมืองไทย และ พลเมืองโลกให้แก่นักเรียน

อกี หนา้ ทสี่ ำ� คญั ผมไดม้ โี อกาสเปน็ ครูผู้รับผิดชอบโครงการเรื่องการเรียนรู้ ตามแนวพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดย ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนานักเรียน

14

และเพ่ือนๆ ฉะนั้นหน้าที่ของผมคือเข้ามา ต่อยอดให้นักเรียนได้คิดต่อ เช่น ท�ำให้ นกั เรยี นไดค้ ดิ ไดว้ เิ คราะหล์ งไปถงึ หนว่ ยยอ่ ย ทเ่ี ปน็ ครอบครวั ของเขาเองวา่ เศรษฐกจิ พอ เพียง มีบทบาทส�ำคัญอย่างไรในกระแสโลก ผมพยายามอธบิ ายและตงั้ คำ� ถามใหน้ กั เรยี น เข้าใจและช่วยกันหาค�ำตอบเร่ืองเศรษฐกิจ พอเพียงอย่างถ่องแท้ แต่ก็ยังอยู่ในระดับที่ เป็นการเร่ิมต้นท้ังครูทั้งนักเรียนที่ได้สร้าง การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ดว้ ยวธิ นี ้ี

15

ในห้องเรียน ไม่ได้ศึกษากันแค่ต�ำรา ผมสอนให้นักเรียนก้าวทันโลก และมีการ หยิบยกประเด็นข่าวที่น่าสนใจขึ้นมาพูดคุย กันด้วย ให้นักเรียนได้กล้าแสดงออก ผม พยายามสอนว่า ทุกครั้งท่ีรับข่าวสารต่างๆ ให้ผ่านกระบวนการความคิดของตัวเองก่อน ขา่ วมี 2 ดา้ นเสมอ อยา่ เช่ือทนั ที ผมไม่ได้ สอนให้นักเรยี นเช่อื ในสิ่งทคี่ รูพดู แต่สอน ให้คิดให้วิเคราะห์ พยายามให้นักเรียนได้ มีโอกาสคิดเองอย่างเป็นเหตุและเป็นผล มากทีส่ ดุ เชน่ ให้คิดเองวา่ สถาบันพระมหา กษตั รยิ ์ มสี ว่ นทำ� ใหช้ มุ ชนเกดิ การพฒั นาหรอื ไม่ อย่างไร โดยมองจากพระราชกรณียกิจ ต่างๆ ท่ีทรงท�ำเพือ่ ประชาชนชาวไทย

เดก็ ในปจั จบุ นั เกดิ มาในยคุ ทมี่ ขี อ้ มลู ข่าวสารเยอะมาก การสอนให้เด็กท่องจ�ำ เพยี งอยา่ งเดยี ว บางเรอ่ื งคงไมเ่ หมาะ ควร เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดต้ งั้ คำ� ถาม ไดว้ เิ คราะห์ เหตแุ ละผลดว้ ย นคี่ อื การเรยี นรู้ และเปน็ สว่ นหนงึ่ ของทกั ษะในการเปน็ พลเมอื งทด่ี ี

ผมยอมรับว่าเด็กท่ีนี่ส่วนหน่ึงจะ สอนยากกว่าเด็กในเมือง ด้วยความที่เป็น เด็กชาติพันธุ์ เราพูดกันคนละภาษาเขาคิด ว่าเขาไม่ใช่คนไทย ไม่มีบัตรประชาชน เขา มองว่าคนไทยไม่ให้เกียรติเขา บางคนก็มี พฤตกิ รรมก้าวร้าว และมเี ดก็ ท่อี ยูก่ ล่มุ เสยี่ ง เร่ืองยาเสพติด จากเหตุการณ์ที่ผมได้เจอ กับตัว ท�ำให้ผมคิดว่าต้องเอาใจใส่เด็กๆ 16

กลุ่มน้ีมากกว่าเดิมหลายเท่า สอนให้เขารู้ น�ำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเร่ือง เร่อื งความเป็นพลเมอื งทด่ี ี เคารพใหเ้ กยี รติ นกั เรยี น เชน่ นกั เรยี นทม่ี พี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ซ่ึงกันและกันอย่างไม่ได้มีการแบ่งเช้ือชาติ เพราะต้องการพัฒนาให้นักเรียนเกิดการ และที่ส�ำคัญคือการยอมรับฟังความคิดเห็น เปล่ยี นแปลงไปในทางทด่ี ี หรือเปน็ คนดี ท่ีแตกตา่ งเพอ่ื พฒั นาการเรียนรไู้ ปด้วยกนั ผมเรมิ่ ดว้ ยการทำ� ความเขา้ ใจวา่ ทำ� ไม ผมได้น้อมน�ำหลักการพัฒนาตาม นักเรียนจึงมีพฤติกรรมก้าวร้าว มักก่อเหตุ แนวพระราชด�ำริ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ทะเลาะววิ าท บางคนถงึ ข้ันด่มื สรุ า ใช้วาจา

17

ไม่สุภาพกับครูและผู้อ่ืน ท�ำความเข้าใจถึง ส่วนท่ีผมเกร่ินไว้ตอนต้น เรื่องท่ี สาเหตุท่ีท�ำให้นักเรียนเป็นเช่นน้ัน เพราะ นกั เรยี นตะโกนใสผ่ มดว้ ยถอ้ ยคำ� ทหี่ ยาบคาย นักเรียนอยู่คนเดียว ไม่มีพ่อแม่ผู้ปกครอง นั้น ผมได้รู้พื้นเพของเขามาบ้างว่ามีปัญหา คอยอบรมสั่งสอน ต้องหาเงินใช้เอง เลิก อย่างไร ท�ำให้ผมเข้าใจว่าท�ำไมเขาถึงเป็น เรียนไปรับจ้างท�ำงานกับผู้ใหญ่ท่ีต้ังวงด่ืม แบบน้ัน ผมจึงตัดสนิ ใจเดนิ เข้าไปพดู ดๆี กับ สรุ า จงึ มสี ว่ นทำ� ใหเ้ ปน็ แบบนนั้ และถกู มอง เขา บอกไปวา่ “ครูรกั เธอนะ ครเู ข้าใจใน แบบน้ัน ไม่ได้ถูกมองแบบเขา้ ใจ ซง่ึ หากเรา สง่ิ ที่เธอเป็น แตค่ รูเสียใจทเี่ ธอพดู ไมด่ ีกบั เขา้ ใจ มนั จะสง่ ผลดตี อ่ เราและนกั เรยี นดว้ ย คร”ู พดู จบ เด็กอ้ึงไปเลยครับ คงตกใจ ไม่ จากน้ันผมได้พยายามเข้าถึงด้วยการเข้าไป คดิ ว่าผมจะพดู แบบนั้น ผา่ นไป 1 คืน รงุ่ ข้นึ คุยกบั นักเรียน เหมือนจะคิดได้ เขาเดินเข้ามายกมือไหว้ผม

18

แลว้ กร็ บี เดนิ หนไี ป อาจเพราะยงั รสู้ กึ อาย แต่ วนั ตอ่ มานักเรียนไดเ้ ข้ามากลา่ วขอโทษ หลัง จากนนั้ ทา่ ทที กี่ า้ วรา้ วของเขากค็ อ่ ยๆ หายไป แต่ก็คงจะต้องใส่ใจนักเรียนทุกคนเพิ่มมาก ขนึ้ อกี นน่ั คอื วธิ ที ผ่ี มเลอื กใชเ้ พอื่ แกป้ ญั หา เพราะเช่ือว่าลึกๆ แล้ว เด็กๆ เหล่าน้ี โหยหาความรัก ความเข้าใจ และความ เมตตา ถ้าวันน้ันผมขาดสติ เลือกใช้ อ�ำนาจความเป็นครูตอบโต้หรือใช้ไม้เรียว ลงโทษ ความพยายามที่จะเปล่ียนแปลง หรือพัฒนาให้เขาเป็นคนดี สุดท้ายอาจ กลายเปน็ ศูนย์

19

เล่าเร่ืองนอกห้องเรียนบ้างดีกว่า จากเหตุการณท์ ่ผี มเลา่ กับอีกหลายๆ ผมได้รับมอบหมายให้ดูแลเร่ือง ศูนย์การ เรื่องราวบนเส้นทางอาชีพครูท่ีผมเลือก มัน เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน เป็นศูนย์ ท�ำให้ผมเปี่ยมไปด้วยความสุข และไม่เคย ทเี่ ปดิ กวา้ งสำ� หรบั คนในชมุ ชน ตง้ั อยภู่ ายใน นึกเสียใจเลยท่ีเลือกมาเป็นครู มีโอกาสได้ โรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก เพ่ือเป็นฐาน นอ้ มนำ� แนวพระราชดำ� รขิ อง พระบาทสมเดจ็ การเรียนรูใ้ หน้ กั เรียนและชาวบ้าน พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร มาถ่ายทอดให้ ศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ใน นกั เรียน และได้น้อมน�ำหลกั การพฒั นาตาม โรงเรยี น เกดิ ข้นึ ได้ เพราะบรบิ ทของสังคม แนวพระราชดำ� รมิ าประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ แกป้ ญั หา โดยรอบโรงเรียนเป็นการท�ำการเกษตรเชิง พาณิชย์ ซึ่งมีการใช้สารเคมีอย่างหนัก มี อนาคตทว่ี างแผนไว้ จะเปน็ โครงการ การท�ำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมาก โดยมี วัตถุประสงค์ส่วนหน่ึงท่ีต้องการส่งเสริม การเรียนรู้ให้นักเรียน และคนในท้องถ่ิน เรอ่ื งการปลกู ผกั ผลไมท้ ไ่ี รส้ ารตกคา้ ง ความ ปลอดภัยต้องมาเป็นอันดับหน่ึง ก่อนน�ำไป ขายหรือไวก้ นิ เอง

20

ค่ายอบรมแกนน�ำสัมมาชีพ รู้งาน สืบสาน ขึน้ นีจ้ ะจ�ำลองรูปแบบ RDPB Camp แบบ พระราชด�ำริ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ ย่อมๆ เลย เก่ียวกับทฤษฏี และการปฏิบัติเกี่ยวกับ การเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ท้ายท่ีสุดแล้ว ผมตัดสินใจเลือก พอเพียง และการเกษตรทฤษฎีใหม่ โดย เดินบนเส้นทาง แม่พิมพ์ของชาติ เพื่อ ขอทีมวิทยากรจากศูนย์ศึกษาการพัฒนา เป็นต้นแบบให้ลูกศิษย์ที่ผมรัก ซ่ึงผมได้แรง ห้วยฮ่องไคร้ฯ ซ่ึงเป็นศูนย์ศึกษาท่ีผมเคย บนั ดาลใจอยากเปน็ ครเู หมอื นกบั คณุ ครวู ชริ ะ ไปเข้าค่ายแล้วประทับใจเลยอยากมอบ โคตะโน ผู้สอนสมัยมัธยมศึกษาตอนปลาย ประสบการณ์คร้ังน้ันให้นักเรียนได้มาสัมผัส โรงเรยี นรอ่ งคำ� จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ทา่ นสอน และร่วมกันเรียนรู้ เรียกได้ว่าค่ายที่จะจัด ให้ผมเห็นว่า ครูอาชีพ กับ อาชีพครู น้ัน แตกตา่ งกนั

21

ครูนักพัฒนาชมุ ชน แรงจงู ใจจากแม่ สกู่ ารตามรอยการพฒั นา

วา่ ทีร่ อ้ ยตรี อิสระ ดีครนั

ครอู อ๋ ง วา่ ทรี่ อ้ ยตรอี สิ ระ ดคี รนั ครู หนมุ่ วยั 26 ปี จากโรงเรยี นหว้ ยนำ้� นกั วทิ ยา จังหวัดตาก เป็นจิตอาสาท�ำงานเพื่อสังคม มาตงั้ แตเ่ ดก็ โดยซมึ ซบั จากคณุ แมท่ เ่ี ปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชน และไดเ้ หน็ ภาพของในหลวงรชั กาลที่ 9 ทรงงานหนกั เพอ่ื เพอื่ ความอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ของ พสกนกิ รชาวไทย

กระทง่ั ตอนเรยี นอยปู่ ี 2 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ได้เข้าร่วมโครงการค่าย เยาวชนรู้งานสืบสานพระราชด�ำริ (RDPB Camp) รุ่นท่ี 4 ณ โครงการพัฒนาพ้ืนที่ ลุ่มน้�ำปากพนังอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนครศรีธรรมราช ท�ำให้เกิดการ ต่อยอดทางความคิดในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของชุมชนให้พ่ึงพาตัวเอง เป็นพ้ืนฐาน สำ� คญั ไปสู่ความย่งั ยนื

และนค่ี อื เร่อื งราวของเขา...

22

ว่าทรี่ ้อยตรี อสิ ระ ดคี รัน (ครูอ๋อง) อายุ 26 ปี ครปู ระถม โรงเรยี นหว้ ยนำ�้ นกั วทิ ยา จงั หวดั ตาก คา่ ยเยาวชนรงู้ านสบื สานพระราชดำ� ริ รนุ่ ที่ 4.6

นักกิจกรรมผู้ลา่ ฝันการเป็น ““...ตามรอยพระราชด�ำริ ครูนกั พฒั นา หากทำ� ไดแ้ มเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย กอ็ าจ ครูหนุ่มเล่าความเป็นมาของตนเอง จะเปรยี บเสมอื นเทยี นหนง่ึ แทง่ ท่ี ว่า เกิดในครอบครัวชาวนา อ�ำเภอศีขรภูมิ ยงั คงสอ่ งสวา่ งในทที่ แ่ี มจ้ ะมดื มดิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ คณุ แมเ่ ปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชน ปจั จบุ นั ท่ีสุด นั่นคือท�ำให้เกิดการมอง เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล เหน็ หรอื การพฒั นา... (ส.อบต.) และอาสาสมคั รสาธารณสุขประจ�ำ หมู่บ้าน (อสม.) ในวัยเด็กติดตามแม่ไปลง พื้นท่ีชุมชน เป็นการจุดประกายความสนใจ การพัฒนาชุมชนมาอย่างตอ่ เนื่อง

“การตดิ ตามแมไ่ ปลงชมุ ชนบอ่ ย ๆ รวม ถึงบ้านผมอยู่ติดกับวัดทุ่งสว่างนารุ่ง และ โรงเรยี นบา้ นนารุง่ (ญาณมุนีราษฎร์สามัคค)ี

23

ท�ำให้ต้องช่วยท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่า จากผลงานกิจกรรมต่างๆ ที่สั่งสม การประกวดบรรยายธรรมเร่ือง บ้าน วัด ไว้ ท�ำให้ไม่ใช่เร่ืองยากเลยส�ำหรับ ครูอ๋อง โรงเรียน เป็นยุวจิตอาสาช่วยงานศูนย์ ในการหาที่เรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พอข้ึน ท่ีเจ้าตัวตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาการ ระดับมัธยมย้ายไปเรียนที่โรงเรียนศีขรภูมิ ประถมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พิสัย ก็เป็นตัวแทนเป็นนักโต้วาที และสภา สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี หวงั กา้ ว นักเรียนด้วย” สู่อาชีพพ่อพิมพ์ของชาติ ตามความฝันที่มี

24

โครงการ RDPB Camp จุดประกายความคดิ ใหม่

มาต้ังแต่สมัยเด็ก จากความประทับใจในตัว ตอนเรียนท่ีมหาวิทยาลัยสงขลา คุณครู 4 ท่าน คือ ครูทิฆัมพร หาญเสมอ นครินทร์น่ีเอง ได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการ ผอ.ณัฐดนัย ดวงใจ ครูทศพล แหวนวงศ์ ค่ายเยาวชนรู้งานสืบสานพระราชด�ำริ และครูสุใจ ส่วนไพโรจน์ ท่ีเป็นท้ังครูและ (RDPB Camp) จากการแนะน�ำของรุน่ พใี่ น นักกิจกรรม ผเู้ สยี สละความสุขส่วนตัว เห็น ชมรมอาสาพฒั นาชนบทของมหาวิทยาลยั แก่ประโยชน์ของส่วนรวมเพ่ือสังคม รวมถงึ การสนับสนุนจากทางบ้านที่อยากให้เป็นครู “ตอนนั้นผมเรียนอยู่ปี 2 มีรุ่นพี่ที่ นำ� วชิ าความรกู้ ลบั มาชว่ ยสอนเดก็ ทบี่ า้ นเกดิ ชมรมอาสาพัฒนาชนบท มาถามว่าสนใจ จะเข้าร่วมโครงการนี้หรือเปล่า ก็ได้ตอบ รับไปในทันที เพราะเป็นโครงการที่ตรงกับ ใจทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับ พระราชดำ� รแิ ละเปน็ พนื้ ทโี่ ครงการทผ่ี มสนใจ มาตลอด รวมถึงตัวเองที่ชอบในการท�ำงาน อาสาเปน็ ทนุ เดมิ อยู่แลว้ ”

อย่างไรก็ตาม การที่จะเข้าร่วม โครงการนไ้ี ด้ ตอ้ งมกี ารคดั เลอื กคณุ สมบตั กิ นั พอสมควร และกำ� หนดใหม้ กี ารเขยี นโครงการ ทด่ี ำ� เนนิ งานเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ตอ่ สงั คม ซงึ่ ครู ออ๋ งเองกไ็ ดพ้ สิ จู นต์ วั เองดว้ ยการสง่ โครงการ

25

ใจเขาใจเรา จากปา่ ชายเลน ทเ่ี ปน็ โครงการ รว่ มโครงการ ซงึ่ จดั เปน็ ครง้ั ที่ 6 ของรนุ่ ที่ 4 รักษาป่าชายเลนที่อยู่ติดกับมหาวิทยาลัยไป โดยองคค์ วามรตู้ า่ งๆ ทง้ั ภาคทฤษฎี และลง ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณา ไปดงู านในพน้ื ทจี่ รงิ นนั้ ถอื เปน็ การเปดิ โลกใหม่ ใหแ้ กเ่ จา้ ตวั เลยทเี ดยี ว “ผมเปรียบต้นไม้ก็เหมือนคน ถ้าเป็น ชวี ติ คนเราตอ้ งการการดแู ลใหอ้ ยรู่ อด นน่ั คอื “ก่อนหน้านี้ผมสนใจแต่เร่ืองป่า แต่ ต้องการปัจจัยส่ี ซ่งึ ตน้ ไม้กเ็ ชน่ เดยี วกัน การ สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการอบรมคา่ ย ถอื ว่าเปน็ การจดุ ปลกู ตน้ ไมเ้ พยี งอยา่ งเดยี วนน้ั มนั ไมใ่ ชค่ ำ� ตอบ ประกายมากเลยคอื เรอื่ ง นำ�้ ทมี่ คี วามสำ� คญั ท่ีถูกต้องท้ังหมด สิ่งท่ีตามมาคือต้องมีการ มาก ๆ ในการดำ� รงอยู่ของระบบนิเวศวิทยา ดแู ลใหต้ น้ ไมอ้ ยรู่ อดดว้ ย ถา้ ปลอ่ ยปละละเลย อย่างกรณีของโครงการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน�้ำ ต้นไม้ตายไป ก็จะเป็นการปลูกที่สูญเปล่า ปากพนังฯ ผมทราบมาว่ามีความแตกต่าง ไมไ่ ดป้ ระโยชนอ์ ะไร” ครอู อ๋ ง เลา่ ถงึ โครงการ กนั ของนำ�้ คือ น�้ำจืด น้ำ� เค็ม นำ�้ เปรย้ี ว ใน ที่ส่งไปให้คณะกรรมการโครงการ RDPB พื้นที่ท่ีเป็นน้�ำกร่อย ท่ีชาวบ้านไม่สามารถ Camp พิจารณา จนได้รับการคัดเลือกเข้า น�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มท่ีเมื่อในหลวง

26

รัชกาลท่ี 9 ทรงทราบถึงความเดือดร้อน ครอู อ๋ ง กลา่ ววา่ เมอ่ื มองในภาพรวม จึงมีการก่อสร้างประตูระบายน้�ำอุทกวิภาช ส่ิงส�ำคัญท่ีเขาได้รับจากการเข้าร่วม RDPB ประสิทธิ เพ่ือกักเก็บน�้ำจืดและป้องกัน Camp ท่นี ำ� มาประยกุ ต์ใช้จนถึงปัจจบุ ัน คอื นำ้� เคม็ รกุ ลำ�้ และระบายนำ้� ออกสทู่ ะเลในชว่ ง แนวคดิ ในการทำ� เพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม ทม่ี งุ่ ฤดูฝน ท�ำให้ชาวบ้านสามารถท�ำการเกษตร เนน้ ใหค้ นสว่ นใหญไ่ ดป้ ระโยชนจ์ ากพนื้ ทม่ี าก มีการเล้ียงสัตว์ ท�ำให้คุณภาพชีวิตของผู้คน ทส่ี ดุ ภายใตค้ ำ� 3 คำ� คอื เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และ ดขี ึน้ ท�ำให้ผมเปลย่ี นความคดิ ใหม่ว่า ปา่ กับ พัฒนา โดย เข้าใจ หมายถึงการเข้าใจใน น้�ำนนั้ ตอ้ งอยคู่ ูก่ ันเสมอ” บริบท รวมไปถงึ สภาพภูมิประเทศของแต่ละ พ้นื ท่ที มี่ ีความแตกตา่ งกนั สว่ นค�ำวา่ เข้าถึง คือการรับรู้ว่าแต่ละพื้นท่ีหรือแต่ละชุมชน มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร และจะมีวิธีแก้ไข

27

ปัญหานั้นอย่างไร เพื่อท่ีจะน�ำไปสู่การ “สภาพภูมิประเทศของโรงเรียน พัฒนา ที่มีเป้าหมายสูงสุดคือ การท�ำให้ ตั้งอยู่บนภูเขา น้�ำท่ีใช้ก็ไหลมาจากภูเขา แต่ละชุมชนสามารถด�ำรงคงอยู่ได้ด้วย แรกๆ เห็นแทงก์น�ำ้ ขนาดใหญ่รวม 6 ถัง ต้งั ตัวเองอย่างยง่ั ยนื น่ันเอง อยู่ ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนอ์ ะไร จงึ คดิ ปรบั ปรงุ การ กักเก็บส�ำรองน้�ำเอาไว้ใช้ และพัฒนาระบบ เมอื่ ตน้ กลา้ เตบิ ใหญต่ ามรอยการพฒั นา สง่ น้�ำให้ดีขน้ึ เพ่อื ให้ท้ังครู นักเรียน รวมถงึ ชาวบา้ น มนี ้ำ� กนิ น้�ำใช้ แมว้ า่ จะมอี ปุ สรรค ปัจจุบัน ครูอ๋อง เป็นครูที่โรงเรียน บา้ ง เพราะช่วงปลายหน้าหนาวจนถึงตลอด ห้วยน้�ำนักวิทยา อ�ำเภอพบพระ จังหวัด หน้าร้อนปริมาณน�้ำจะน้อยลง เป็นสิ่งที่ ตาก ได้น�ำความรู้ตามแนวพระราชด�ำริมา ควบคมุ และคาดการณไ์ มไ่ ดว้ า่ นำ้� จะมากหรอื ใช้ประโยชนอ์ ย่างเตม็ ท่ี น้อย และเพียงพอต่อการใช้งานหรือไม่”

28

น่ันจึงเป็นท่ีมาของ โครงการฝาย ขณะเดียวกัน ครูอ๋อง ยังส่งเสริม กน้ั นำ�้ เพอื่ ชะลอการไหลของนำ้� ชะลอความ การเรียนรู้ โดยการจัดหาคอมพิวเตอร์ให้ แรงของน�้ำหลาก ช่วยดกั ตะกอนแมน่ ้ำ� เกบ็ นักเรียน เพ่ือใช้ในการเรียนรู้และเกิดทักษะ กักน้�ำท�ำให้เกิดความชุ่มช้ืนในบริเวณฝาย ด้านเทคโนโลยี อีกทั้งส่งเสริมทักษะความ และพ้ืนท่ีเหนือฝาย ท�ำให้ชาวบ้านสามารถ สามารถของนักเรียนด้านวิชาการ ดนตรี ใช้ท�ำการเกษตรบริเวณใกล้เคียงได้ตลอด กีฬา เพ่ือให้นักเรียนเกิดทักษะการสื่อสาร ทั้งปี เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ แหล่ง การคิด และการแก้ไขปัญหา สามารถอยู่ อาหารของชาวบ้าน อีกท้ังช่วยเพ่ิมปริมาณ ในสังคมได้อย่างมีความสุข และยังเติมเต็ม น้�ำใต้ดิน เป็นประโยชน์ในการท�ำประปา คุณภาพชีวิตของนักเรียน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น หมบู่ า้ นและประปาของโรงเรยี น กลุม่ ชาติพันธ์ุกระเหรย่ี ง ท่ีหลายคนมาเรยี น

29

เพียงเพื่อต้องการแค่อ่านออกเขียนได้ ด้วย ด้วยหวั ใจจติ อาสา การจัดโครงการส่งเสริมด้านอาชีพ ไม่ว่า หวงั พัฒนาบ้านเกิด งานเกษตรกรรม การรจู้ กั พงึ่ พาตนเองในดา้ น ต่างๆ อาทิ การท�ำน้�ำยาล้างจาน งานช่าง ในอนาคตอยากย้ายกลับบ้านเกิดที่ พื้นฐาน เพ่ือให้เกิดทักษะชีวิตหลังจบการ จังหวัดสุรินทร์ หลังจากบ้านมานานเกือบ ศึกษาออกไปอีกดว้ ย 10 ปี เพ่ือไปเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้าน ท่ีส่วนใหญ่ ท�ำการเกษตร ยังต้องอาศัยน้�ำเป็นตัวแปร ส�ำคญั ในการท�ำนาอยู่ นอกจากนี้ ยงั อยาก จะรอื้ ฟน้ื งานวสิ าหกจิ ชมุ ชน การทำ� กะหรพ่ี ฟั และไส้กรอก ที่เคยสร้างรายได้ให้ชุมชนใน สมยั ยงั เด็กให้กลบั มามชี ีวิตชีวาอกี ครง้ั รวม ถงึ โครงการหมู่บ้านสขี าว ตอ่ ต้านยาเสพตดิ

30

ท่ีแพร่ระบาดในชุมชน โดยใช้ “บ้าน-วัด- วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม 2535 ความ โรงเรยี น” เป็นจุดเชื่อมสำ� คญั ตอนหน่ึงวา่

“ผมถือคติว่า อยู่เพื่อตนเอง อยู่แค่ “...ความรู้ที่จะศึกษามีอยู่สามส่วน ส้นิ ลม อยเู่ พื่อสงั คม อยู่ช่วั ฟ้าดนิ คอื ถา้ เรา คอื ความรวู้ ชิ าการ ความรปู้ ฏบิ ตั กิ าร และ จะอยเู่ พื่อตัวเอง ก็เป็นแคก่ ารอยไู่ ปวันๆ แต่ ความคดิ อา่ นตามเหตผุ ลความเปน็ จรงิ ซง่ึ ถา้ เราอยเู่ พอ่ื คนอน่ื ทำ� เพอ่ื คนอน่ื เราจะเปน็ แตล่ ะคนควรเรยี นรใู้ หค้ รบเพอ่ื สามารถนำ� ทจี่ ดจ�ำและเป็นทร่ี กั ของคน นั่นคอื คนเราจะ ไปใชป้ ระกอบกจิ การงาน และแกป้ ญั หาทง้ั นับถอื กันท่ีการท�ำความดนี ่นั เอง” ปวงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ...”

เนอ่ื งจากผมไดพ้ ฒั นาการศกึ ษาควบคู่ 1. ด้านวิชาการ ผมได้พัฒนาตนเอง ไปกบั การพัฒนาชุมชน ผมได้นอ้ มนำ� ความรู้ ในการพัฒนาต่อยอดการศึกษาในระดับท่ี สามส่วน ซ่งึ เป็นพระราชดำ� ริด้านการศึกษา สูงข้ึน โดยศึกษาตอ่ ระดับปริญญาโท สาขา ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน วชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ ป ริ ญ ญ า บั ต ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ด ล วทิ ยาลยั นอรท์ เทริ น์ เพอ่ื ใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรทู้ าง

31

วิชาการและด้านทฤษฎี เพื่อน�ำองค์ความรู้ ผอู้ นื่ มากนกั ผมจงึ ลงมอื ทำ� พฒั นาดา้ นตา่ งๆ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพของตนเอง ทงั้ ตอ่ นกั เรยี น โรงเรยี น และสงั คม เพอ่ื ให้ เปรียบดั่งการข้ึนรูปปั้นรูปหนึ่ง ถ้าหากเรา เกดิ การเปลยี่ นแปลงในทางทดี่ ขี นึ้ มคี วามรดู้ ี หล่อรูปข้ึนมาสวย น่ันคือมีพื้นฐานด้านการ มสี ขุ ภาพดี มเี ศรษฐกจิ ดนี นั่ คอื ความสำ� เรจ็ ศึกษาท่ีดี จะสามารถปั้นรูปออกมาได้สวย ที่ผมได้รับจากการลงมือท�ำ (Learning ทาสสี วย เปรยี บเสมอื นการพัฒนาเดก็ โดย by Doing) การสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ คนดที มี่ คี วามเกง่ ในหลาย ด้านตามความสามารถ และความถนัดของ 3. ด้านความคิดอ่านตามเหตุผล แต่ละบุคคล เด็กแต่ละคนจะต่อยอดและ ความเป็นจริง วิชาชีพครูของผมจ�ำเป็นที่จะ พัฒนาตนเองจนเกิดการเรียนรู้และใช้ชีวิต ต้องน�ำความรู้ด้านต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ให้ อยา่ งมคี วามสุข เกิดประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นการท�ำหน้าท่ีใน บทบาทที่หลากหลายเป็นท้ังครู ผู้ปกครอง 2. ด้านความรู้ปฏิบัติการ หากผมมี ปฐมพยาบาล นักจิตวิทยา นักออกแบบ ความรเู้ พยี งอยา่ งเดยี วคงไมเ่ กดิ ประโยชนต์ อ่ ในการจัดการเรียนรู้ และอื่นๆ เป็นการน�ำ

32

ศาสตร์วิชาต่าง ๆ เขา้ มาบูรณาการกนั เพอื่ ก็แลว้ แต่ ให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน “แต่อย่างน้อยท่ีสุด สิ่งท่ีในหลวง ได้ส�ำเร็จเป็นสิ่งท่ีจ�ำเป็น ดังที่กล่าวกันว่า เป็นการเรียน และการใช้วชิ าการในลักษณะ รัชกาลท่ี 9 ทรงสอน ทรงแนะแนวทาง สหวทิ ยาการ (multidiscipline) และทรงปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่างให้ เราเหน็ มาตลอดระยะเวลาทย่ี าวนาน ตงั้ แต่ ปดิ ท้าย ครอู อ๋ ง ได้กล่าวถงึ โครงการ จ�ำความได้ เราได้ยิน ได้รับรู้มาตลอด ถึง RDPB Camp ทจ่ี ดั มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งวา่ อยาก เวลาแล้วหรือยังท่ีเราควรเดินตามรอย ให้คนรุ่นใหม่ได้มาเรียนรู้ซึมซับว่าในหลวง พระราชดำ� ริ หากทำ� ได้แม้เพียงเล็กน้อย ก็ รชั กาลท่ี 9 ทรงทำ� เพอื่ พสกนกิ รของพระองค์ อาจจะเปรยี บเสมือนเทียนหน่ึงแท่ง ที่ยงั คง มากมายมหาศาลเพยี งใด และนำ� ความรทู้ ไ่ี ด้ สอ่ งสวา่ งในทที่ แ่ี มจ้ ะมดื มดิ ทส่ี ดุ นนั่ คอื ทำ� ให้ จากการอบรมนน้ั ไปต่อยอดสรา้ งประโยชน์ เกดิ การมองเห็น หรือการพฒั นานัน่ เอง” ให้ชุมชนของแต่ละคน จะมากบ้างน้อยบ้าง

33

“‘เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา’ จากภาคทฤษฎี สกู่ ารปฏิบัติจริง

“กรวชิ ญ์ ศรกี ัณหา ในฐานะครู ผมได้น�ำ ความรู้และประสบการณ์สู่เหล่า นกั เรยี น การลงมอื ทำ� จรงิ เมอื่ พวกเขาเห็นก็พร้อมใจที่จะท�ำ ตาม นับเป็นการถ่ายทอดองค์ ความรู้ที่เราได้จากแคมป์มาปรับ ใชใ้ นทอ้ งถน่ิ ทเี่ ราอยู่ ซง่ึ ผมตอ้ ง ขอชน่ื ชมโรงเรยี นและชมุ ชนทอ่ี ยู่ แม้จะมีความแตกต่างกันแต่พวก เขามีก็มีความรักและสามัคคีกัน อย่างมาก

34

นายกรวิชญ์ ศรีกัณหา ตนเองได้ร่�ำเรียนให้แก่เหล่าลูกศิษย์ลูกหา (ครมู อส) ด้วยความเต็มใจเต็มที่แลว้ ยังมีหน้าที่อบรม อายุ 27 ปี ส่ังสอนให้เด็กนักเรียนเป็นคนดี รวมทั้งให้ ครวู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นหวั ปา้ ง ความรใู้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ในสงั คมแกพ่ วกเขา จงั หวดั นครราชสมี า เหล่าน้นั ดว้ ย คา่ ยเยาวชนรงู้ านสบื สาน พระราชดำ� ริ รนุ่ ท่ี 4.1 และรนุ่ ที่ 5.1 ครูมอส หรือนายกรวิชญ์ ศรีกัณหา ครูหนุ่มวยั 27 ปี กเ็ ช่นเดียวกนั นอกจากจะ คำ� วา่ เรอื จา้ ง นน้ั จะเปรยี บกบั อาชพี สอนหนังสือให้แก่นักเรียนแล้ว ยังพยายาม อน่ื ไมไ่ ดเ้ ลย นอกจากงานทม่ี เี กยี รติ มคี ณุ คา่ เรียนรู้ศาสตร์วิชาต่างๆ เพ่ือพัฒนาตัวเอง กับสังคมอย่าง อาชีพครู หรือ พ่อพิมพ์- ตลอดเวลา พรอ้ มทั้งถ่ายทอดใหแ้ กน่ ักเรียน แม่พมิ พข์ องชาติ นัน่ เอง และชาวบ้านในชุมชน ที่ตนเองได้ท�ำงาน อยู่ดว้ ย เรอ่ื งราวของ ครผู อู้ ทุ ศิ ตน ใหน้ กั เรยี น และศิษยานุศิษย์ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อ ใ น ส มั ย เ รี ย น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี สังคมน้ัน เราคงเคยได้เห็นได้อ่านได้รับรู้กัน มีโอกาสได้รับการคัดเลือกให้เข้าค่าย มาไม่น้อย ยิ่งปัจจุบันมีส่ือโซเชียลท่ีทุกคน เยาวชนรู้งานสืบสานพระราชด�ำริ (RDPB สามารถเข้าถึงด้วยแล้ว ย่ิงท�ำให้ข่าวสาร Camp) ของสำ� นกั งาน กปร. และได้นำ� องค์ ขอ้ มูลต่างๆ ยงิ่ สามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ยมากขน้ึ ความรู้ แนวคดิ จากการไปเรยี นรใู้ นโครงการ กว่าในอดีตที่ผ่านมา อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ แล้วน�ำมา ต่อยอดในบทบาทของตัวเอง พร้อมกับ อย่างไรก็ตาม อาชีพครู นอกจาก ขยายผลความรู้ให้ผู้ที่เก่ียวข้อง สร้าง จะท�ำหน้าที่ประสาทวิชาการ ตามสาขาท่ี ประโยชนใ์ หช้ ุมชนไดเ้ ปน็ อย่างมาก

35

ครูมอส เลา่ ใหฟ้ งั ว่า เปน็ ชาวจงั หวดั วัยเด็กใฝ่ฝันว่าสักวันหนึ่งจะต้องเป็น กาฬสินธุ์ เติบโตมาจากครอบครัวเกษตรกร ครูให้ได้จึงได้เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ท่ี อยา่ งแทจ้ รงิ มสี มาชกิ 7 คน คอื พอ่ แม่ นอ้ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ในสาขาวิชา 2 คน และตากับยาย มีอาชีพทำ� นา เขาจึง วิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะครุศาสตร์ ซมึ ซบั และลงมอื ทำ� นามาตงั้ แตเ่ ดก็ นอกจาก นี้ ยังช่วยยายปลูกขา้ วโพด เลย้ี งไกพ่ ืน้ เมือง ณ ท่ีแห่งน้ีเอง นับเป็นจุดเริ่มต้น ขาย หารายไดเ้ สรมิ ส่วนพอ่ กบั แม่ นอกจาก ท่ีท�ำให้ได้เข้าร่วมค่าย RDPB และรู้จัก ทำ� นาแล้ว ยังรบั จ้างในตา่ งจังหวัดด้วย โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริมาก ยิ่งข้ึน โดยในช่วงท่ีเรียนอยู่ถือได้ว่าเป็น นักกิจกรรมตัวยงคนหนึ่งเลยก็ว่าได้ และได้ รว่ มกบั รนุ่ พเ่ี ขยี นโครงการสง่ เขา้ ประกวดจน

36

ได้รับการคัดเลือกเข้าสูค่ ่าย RDPB ในทีส่ ุด พระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ส�ำหรับ “จดุ เรมิ่ ตน้ การเรยี นรอู้ งคค์ วามรตู้ าม RDPB Camp รุ่นท่ี 4.1 ที่ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาภูพานฯ นั้น มีผู้ผ่านการคัดเลือกแค่ แนวพระราชดำ� รขิ องในหลวงรชั กาลท่ี 9 เกดิ 20 สถาบัน จากมหาวิทยาลัยท่ัวภาคตะวัน ข้ึนตอนผมเรียนปี 1 มีรุ่นพม่ี าชักชวนใหร้ ่วม ออกเฉียงเหนือ ส่วนตัวเขาเองได้เรียนรู้ส่ิง โครงการ ตอนแรกๆ ผมไมค่ อ่ ยมคี วามเขา้ ใจ ต่างๆ มากมาย อาทิ การเล้ียงสัตว์ 3 ด�ำ แต่ได้พยายามศึกษา ลงพ้ืนที่จริงเก็บข้อมูล คือ หมูด�ำ ไก่ด�ำ โคด�ำ และการท�ำเกษตร ถ่ายท�ำ VDO ช่วยกันท�ำตามความเข้าใจ แบบผสมผสาน เปน็ ตน้ ซงึ่ เขามีพ้ืนฐานดา้ น จนในที่สุดก็ไดร้ ับการคดั เลอื กสคู่ า่ ย RDPB” เกษตรกรรมจากการท�ำในครอบครัวอยู่แล้ว แต่ไม่มีการวางแผน ท�ำตามแบบที่เคยท�ำ ในครั้งแรกที่ได้เข้าร่วมโครงการค่าย กันมา ท�ำแค่กินเหลือก็ขายบ้าง เมื่อได้เข้า เยาวชนรู้งานสบื สานพระราชดำ� ริ รนุ่ ท่ี 4.1 มาเรียนรู้ในค่ายแล้ว เหมือนเปิดโลกทัศน์ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่อง ที่ไม่เคยรมู้ าก่อน แมจ้ ะอยใู่ กลแ้ คเ่ อือ้ ม แต่ มาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร และ ไม่ค่อยได้สนใจ คร้ังน้ีจึงได้มาเรียนรู้ว่าการ ครั้งที่ 2 อยู่ในรุ่น 5.1 ณ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจาก

37

จะทำ� งานดา้ นใดนน้ั สง่ิ สำ� คญั คอื ตอ้ งมกี าร “ผมได้อะไรจากแคมป์น้ีมากมาย ได้ วางแผน ต้องศึกษาให้ถ่องแท้ให้รู้แน่ และ เรียนรู้ภาคทฤษฎี เป็นองค์ความรู้ตามแนว ลงมอื ทำ� จรงิ ทง้ั เรอ่ื งของดนิ นำ้� อากาศ ไป พระราชด�ำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีอะไร จนถงึ เมลด็ พนั ธต์ุ า่ ง ๆ แตด่ ว้ ยความที่ การเขา้ บา้ ง มนั ชา่ งมากมายและละเอยี ดลกึ ซงึ้ จะ คา่ ยมเี วลาใหล้ งมอื ทำ� นอ้ ยไปนดิ ทำ� ใหร้ สู้ กึ วา่ ศกึ ษาอยา่ งไรใหเ้ ขา้ ใจไดห้ มด ยงั ไดร้ ถู้ งึ หลกั ยงั ทำ� ไมเ่ ตม็ อม่ิ แตไ่ ดส้ รา้ งแรงบนั ดาลใจ การทรงงาน การต่อยอดที่จะน�ำไปปรับให้ เขา้ กบั แตล่ ะพนื้ ท่ี ไดเ้ ขา้ ไปเรยี นรงู้ านทบี่ า้ น ของเกษตรกรโดยตรง ซ่ึงแต่ละคนนับได้ว่า เป็นปราชญ์ชาวบ้านอย่างแท้จริง ผมเลือก การปลกู พืชผกั สวนครวั การทำ� สบูส่ มุนไพร ซ่ึงหลังจากกลับมาจากค่ายก็ได้น�ำความรู้ ตรงนนั้ มาคยุ กบั เพอื่ นทม่ี หาวทิ ยาลยั ทเ่ี รยี น คณะวทิ ยาศาสตร์ สาขาเคมี พอดกี บั ทเ่ี พอ่ื น ก�ำลังทำ� วิจัยเรื่องการทำ� สบสู่ มุนไพรอยู่ด้วย ผมจึงน�ำข้อมูลตรงนี้มาประยุกต์ผสมผสาน กับหลักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์เข้าไปจน เปน็ ทมี่ าของการทำ� สบู่สมุนไพรในทสี่ ุด”

38

นอกจากน้ี องคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ าก RDPB กล่าวคือ การท่ีทรงมุ่งช่วยเหลือ Camp รุ่นท่ี 5.1 ท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนา พัฒนาให้เกิดการพ่ึงตัวเองได้ของคนใน เขาหินซ้อนฯ จังหวัดฉะเชิงเทรา และน�ำ ชนบทเปน็ หลัก กจิ กรรม และโครงการตาม มาต่อยอดจนเป็นผลส�ำเร็จน้ัน ถือเป็นค่าย แนวพระราชด�ำริ ที่ด�ำเนินการอยู่ในหลาย ที่จุดประกายความคิดการเรียนรู้โครงการ พนื้ ทท่ี ั่วประเทศ ในการพัฒนาทั้งดา้ นอาชพี อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ รวมไปถึงการ และส่งเสริมการเกษตรให้เกษตรกรสามารถ พัฒนาชุมชน เพราะเขาได้พบกับหลักการ ดำ� รงชีพอยไู่ ด้อย่างมั่นคง และย่ังยืน สำ� คญั ท่ีวา่ เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา น่ันเอง

39

“ จุ ด น้ี เ ป ็ น ที่ ม า ข อ ง ก า ร อ ย า ก มี ความรู้แนวคิดหรือหลักการในโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เร่ิมต้นตั้งแต่ การน�ำแนวคิดสู่ครอบครัว การปลูกผัก สวนครวั การเล้ยี งสตั ว์ จนไปถงึ การน�ำแนว ความคิดไปสู่เพ่ือนร่วมมหาวิทยาลยั ในการ จัดท�ำโครงการต่างๆ ท่ีลงสู่ชุมชนใกล้เคียง โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากหลายๆ หนว่ ยงานโดยเฉพาะโครงการใหญท่ ผ่ี มภมู ใิ จ 40

อย่างมากคือ โครงการน้�ำดีชีวีสุข ผมเป็น ในลักษณะนี้เกิดขึ้นในหลายหมู่บ้านเพ่ิมข้ึน แกนน�ำนักศึกษาน�ำหลักการทรงงาน เข้าใจ เรื่อยๆ” เขา้ ถงึ พัฒนา มาเป็นแนวคดิ หลักในการน�ำ โครงการลงสู่ชุมชน ได้รับการสนับสนุน ครูมอส นอกจากจะมีอาชีพสอน งบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐน้ีท�ำให้ หนังสือแล้ว ปัจจุบันยังได้น�ำแนวคิดการ เกิดการสร้างโรงงานน้�ำดื่มชุมชนข้ึนต้ังแต่ ท�ำเกษตรผสมผสานมาสู่โรงเรียน โดยมี ปี 2557 ซ่ึงจะเห็นได้ว่าปัจจุบันมีโครงการ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน เป็นแกนหลักใน การท�ำสวนเกษตร ซึ่งมีทั้งการปลูกพืชผัก

41

สวนครวั ไวห้ ลายชนดิ รวมทง้ั ผลไม้ เชน่ ฝรงั่ “ในฐานะครู ผมได้น�ำความรู้และ กลว้ ย ไว้ให้นกั เรยี นได้เก็บกนิ อกี ด้วย ประสบการณ์ไปสู่นักเรียน การลงมือท�ำ อย่างจริงจัง เมื่อพวกเขาเห็นก็พร้อมใจที่ น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ก า ร เ ล้ี ย ง ห นู น า จะท�ำตาม นับเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ กระตา่ ย ไก่ ไวห้ ารายไดเ้ สรมิ ใหโ้ รงเรยี นอกี ท่ีเราได้จากแคมป์มาปรับใช้ในท้องถิ่นที่เรา ดว้ ย ซงึ่ แมว้ า่ ตอนนโ้ี ครงการพง่ึ จะเรม่ิ ตน้ แต่ อยู่ ซงึ่ ผมตอ้ งขอชนื่ ชมโรงเรยี น และชมุ ชน ในอนาคตเขามั่นใจว่าการด�ำเนนิ การภายใต้ ที่อยู่แม้จะมีความแตกต่างกันแต่พวกเขาก็มี แนวพระราชด�ำริน้ัน จะเกิดผลส�ำเร็จท่ีเป็น ความรกั และสามคั คกี นั อยา่ งมาก ทสี่ ำ� คญั รปู ธรรมอยา่ งแนน่ อน คอื พวกเขาพรอ้ มรว่ มมอื รว่ มใจกนั ทำ� กจิ กรรม ตา่ งๆ อยา่ งเตม็ ท”่ี

นอกจากจะมีจิตวิญาณแห่งความ เป็นครูอย่างเต็มเปี่ยมแล้ว ตอนนี้ครูมอส ยังเรียนต่อด้านการบริหาร โดยวาดฝันว่า

42

ใ น อ น า ค ต จ ะ ไ ด ้ น� ำ อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ประสบการณ์ชีวิต มาถ่ายทอดและพัฒนา ชมุ ชนใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ

สำ� หรบั สงิ่ ทภ่ี มู ใิ จมากทไี่ ดจ้ ากการเขา้ แคมปค์ รง้ั นน้ั กค็ อื จากนกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ รว่ มกวา่ 20 สถาบัน ทางค่ายจะมีการคัดเลือกและ มอบรางวลั ชนะเลิศ ใหแ้ ก่โครงการที่ดี และ ยงั มรี างวลั ชมเชย อกี 4 รางวลั สำ� หรบั มอบ ให้แก่ผลงานในล�ำดับต่อมา ซึ่งโครงการติด 1 ใน 4 ท่ีได้รับรางวัลชมเชยด้วย

43

การได้รับรางวัลชมเชยจากผลงาน ระดับประเทศนอกจากจะมีความส�ำคัญต่อ นักศึกษาคนหนึ่งแล้ว เหนือสิ่งอื่นใดคือ ใน วันน้ัน ครูมอส ได้รับมอบรางวัลดังกล่าว จากองคมนตรี ซง่ึ ทา่ นเปน็ บคุ คลทใี่ กลช้ ดิ กบั ในหลวงรชั กาลที่ 9 ทไ่ี ดศ้ กึ ษางานและวธิ กี าร ทรงงานกบั พระองคท์ า่ นโดยตรง จงึ ทำ� ใหเ้ ขา เกดิ ความภูมใิ จ และประทับใจเปน็ อย่างมาก และยังเปน็ รางวลั ทม่ี ีคุณค่าตอ่ จิตใจ

ครูมอส ยังกล่าวทิ้งท้ายด้วยว่า ใน ช่วงที่ไวรัสโควิด-19 ระบาด ไม่ได้รับผล กระทบโดยตรง แต่จะมีกระทบทางอ้อม มากกวา่ เพราะวา่ นกั เรยี นทรี่ ว่ มในโครงการ ปลกู ผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้ และโครงการเลยี้ ง หนูนา จะมาโรงเรียนไม่ได้ ทุกคนจะต้อง หยุดเรียน แต่ได้พยายามหาเวลาท�ำอย่าง อ่ืนไปก่อน ส่วนหลังจากนี้หากสถานการณ์ เร่ิมดีข้ึนก็คิดว่า จะมาลุยโครงการกันต่อ โดยเฉพาะการเพาะเล้ียงหนูนาท่ี ตอนน้ี เราทยอยขายลอตแรกไปได้แล้ว ได้เงิน มาประมาณหมื่นกว่าบาท พอขายได้เราก็ จะเริ่มเห็นช่องทางการตลาด เราโชคดีท่ีมี 44

พ่อค้าจากที่อ่ืนมาปักหลักรับซื้อหนูนาอยู่ท่ีนี่ แรงใจ ลงมอื ทำ� อยา่ งจรงิ จงั ผมอยากจะเชญิ คาดว่าในอนาคตหนูนาท่ีทางโรงเรียนเพาะ ชวนเยาวชนคนรนุ่ ใหม่ ซง่ึ จะเปน็ อนาคตของ เลยี้ งจะสรา้ งรายไดด้ ขี นึ้ เรอ่ื ยๆ สว่ นการปลกู ประเทศชาติของเรา ร่วมน้อมน�ำแนวทาง ผกั และผลไม้ก็ยงั ทำ� อยูต่ ามปกติ พระราชด�ำริของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มาใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน เพราะนอกจากจะท�ำให้ “แนวคิดของผมคือ ฝันใหไ้ กลแล้วไป เรามคี วามสขุ แลว้ ยงั ทำ� ใหเ้ รามกี นิ มใี ชอ้ ยา่ ง ให้ถึง ด้วยการด�ำเนินชีวิตอย่างมีหลักการ พอเพียงอกี ดว้ ย” และเหตุผล แต่การจะไปถึงความฝันอันย่ิง ใหญท่ เ่ี ราตง้ั ไวน้ นั้ จะตอ้ งทมุ่ เทแรงกาย และ

45

“ดัง่ ครผู ูต้ ามรอยพระราชดำ� ริ

นำ� แนวคิด สู่การประยกุ ตใ์ ช้

ว่าท่รี ้อยตรี

“สถาพร สมยั กลุ ...ผมคิดว่าฝันไป ท่ีได้ ท�ำงานในโครงการอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริ ผมอายุน้อย ที่สุดและเป็นหัวหน้าแปลงเกษตร ท้ังที่ผมไม่ได้จบด้านการเกษตร แต่ผมส่ังสมความรู้มาไม่น้อย เลย ผมมุ่งมน่ั ฝึกฝนหาความรู้ อย่างถ่องแท้ ลงมือปฏิบัติจริง ทดลอง ทดสอบ จนสามารถ ถ่ายทอดให้ผู้คนที่สนใจ เพื่อให้ เค้าเหล่าน้ันสามารถน�ำไปด�ำรง ชวี ติ ไดด้ ว้ ยความพอเพยี ง ยง่ั ยนื ตลอดไป... 46

ว่าทร่ี อ้ ยตรี สถาพร สมยั กุล (เตา่ นอ้ ย) อายุ 27 ปี วทิ ยากร แปลงเกษตรยงั่ ยนื ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ น อนั เน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา คา่ ยเยาวชนรงู้ านสบื สานพระราชดำ� ริ รนุ่ ที่ 4.7 และรนุ่ ท่ี 6.1

ปฐมบทของชวี ติ

ผมเกดิ ทบ่ี า้ นซบั เมก็ ตำ� บลหนองนำ้� ใส ยังภูมิล�ำเนาของตนเอง เรียนจบแล้วไม่มี อำ� เภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว้ ครอบครวั การผูกมัด ไม่ต้องมาใช้ทุนคืน ผมเลือก เรามกี นั 5 คน คือ พ่อ แม่ ผม พี่ชาย และ เรียนสาขาวิชาการจัดการภูมิสังคม คณะ นอ้ งชาย ฐานะทางบา้ นคอ่ นขา้ งยากจน พอ่ มี ศลิ ปศาสตร์ อาชพี รบั จา้ งทว่ั ไป รบั จา้ งทำ� นา เราไมม่ ที นี่ า กต็ ้องเช่านาทำ� ส่วนแมร่ ับจ้างเยบ็ ผา้

พอจบ ม.6 ผมก็สอบชิงทุนเข้า เรียนต่อในโครงการบัณฑิตคืนถ่ิน โพธิ วิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) อ�ำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก (คลอง 16) ซึ่งเป็นทุนการศึกษาของ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นโครงการท่ีเปิดโอกาสให้แก่นักเรียน ผู้ท่ีมีปณิธานท่ีจะกลับไปประกอบอาชีพ

47

แรงบันดาลใจจากภาพขา่ ว เป็นครูบนดอย เป็นทหารตามแนวชายแดน แถวเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ก็ได้ ผมรู้จักค�ำว่าโครงการหลวงจากข่าว แต่ภาวนาว่าสักวันขอให้เราได้ท�ำงานแบบนี้ ในทวี ี ภาพทจี่ ำ� ฝงั ใจเหน็ รถแลนดโ์ รเวอรข์ อง บา้ ง จากนนั้ ผมกส็ ะสมหนงั สอื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ที่ทรงงานหนกั ทง้ั ลยุ นำ้� โครงการในพระราชด�ำรมิ าเรอ่ื ยๆ สว่ นใหญ่ ลุยป่าข้ึนไปบนดอย พอไดเ้ ห็นแลว้ เกิดความ จะได้มาจากการชนะกิจกรรมตอบค�ำถาม รู้สึกว่าเราอยากท�ำงานโครงการหลวงมาก ทำ� ใหต้ อนนี้ผมมีหนังสือเยอะมาก ตอนน้ันยังไม่รู้จักโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำ� ริ วา่ เปน็ อยา่ งไร คิดแต่วา่ อยาก ชวี ติ ในร้วั มหาวทิ ยาลัย

ตอนเรียนปี 1 ผมอยู่หอพักมหา วิทยาลัย และคิดว่าเราจะท�ำอย่างไรให้ได้ เงินมาเลี้ยงชีพบ้าง เพราะเงินท่ีทางบ้านส่ง มาให้เดือนละ 3,000 บาท ไม่เพียงพอ จึง ตัดสินใจยืมจักรยานเพ่ือนไปปั่นตระเวนหา พื้นที่รกร้างว่างเปล่าของชาวบ้านท่ีอยู่ใกล้ๆ มหาวิทยาลัย และเจ้าของท่ีก็อนุญาตให้ผม ใช้พ้ืนที่ปลูกผักได้ ผมจึงได้ปรับสภาพพื้นที่ ให้สามารถปลูกผักได้ และเริ่มปลูกผักบุ้ง 3 แปลง

ช่วงแรก ปลกู เพื่อนำ� มากนิ เอง เหลอื จะนำ� ไปแจกคนอนื่ ทง้ั รปภ. แมบ่ า้ น คนสวน ผมยึดหลักของในหลวงรัชกาลที่ 9 ใช้ชีวิต เรียบง่าย และประหยัด จนกระทั่งอาจารย์ มาเห็น จึงท�ำให้ผมเป็นที่รู้จัก ดังนั้น จาก ท่ีปลูกไว้กิน ก็กลายเป็น กิน แจก แลก จ�ำหน่าย หารายได้จากการขายผัก มีเงิน มาใช้ในชีวิตประจ�ำวนั ได้

48

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้