พระสมเด จแหวกม านผงน ำม นข ส งหล ง ว.ป.จ.ม

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พเ์ กศบวั ตูม

เจา้ ของ นายกำธร ศรณั ยคปุ ต ์

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พเ์ กศบวั ตูม

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พเ์ กศบวั ตูม

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พเ์ กศบวั ตูม

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พเ์ กศบวั ตูม

เจา้ ของ ดร. สุชาติ มน่ั คงพทิ กั ษก์ ลุ

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายวฒุ ชิ ยั มอี นิ ถา

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายประทปี มงคลนิสภกลุ

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายประทปี มงคลนิสภกลุ

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ นายทนิ กร ทลคร

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั พมิ พป์ รกโพธิ์

เจา้ ของ ดร. สุชาติ มน่ั คงพทิ กั ษก์ ลุ

คุย เจาะลกึ การค้นหา มวลสาร การสร้างพระสมเด็จฯ โดย ดร. สุชาติ มั่นคง พทิ กั ษ์กลุ ( ๒๕๕๒ )

การสรา้ งพระสมเด็จฯ ของสมเด็จพระพฒุ าจารยโ์ ต พรหมรังสี มีบนั ทึกจากหนังสือหลาย เลม่ และ มีขอ้ มลู จากการวิเคราะห์หลายแห่งมากมาย ผูเ้ ขียนจึงเห็นสมควรที่จะนาํ เสนอขอ้ มูลใน เชิงลึก โดยนําผลงานวิจยั เรื่องมวลสาร เช่นปูนเปลือกหอย เป็ นต้น มาประกอบการพิจารณา ร่วมกบั บุคคลท่ีเกย่ี วข้อง อยใู่ นเหตุการณ์ ในช่วงการสร้างพระสมเด็จฯ เช่นเหตุการณ์ตอน พระ ธรรมถาวร (ช่วง) เป็นสามเณร ที่อยใู่ กลช้ ิด หลวงป่ ูโตมาตลอด หรือ สถานท่ี ที่มีโอกาสเชื่อมโยง เกยี่ วขอ้ งกบั มวลสาร เช่น ลพบุรี ซ่ึงเป็นสถานที่ หลวงป่ ูโต เสด็จไปเยีย่ ม พระอาจารยแ์ สง วดั มณี ชลขนั ธ์ และเป็นแหลง่ ท่ีมีโรงงาน ปูนขาวเปลอื กหอย หรือ สระบุรี ที่ท่านเสด็จ ไปกราบไหว้ รอย พระพทุ ธบาท เป็นประจาํ ทุกปี หรือ การกลบั ไปเยยี่ มโยม มารดา ที่ กาํ แพงเพชร ซ่ึงอาจจะมีอิฐแดง กาํ แพง หรือ พระซุม้ กอ หรือการไปธุดงค์ของหลวงป่ ูโต ท่ี ลาว และ เขมร ซ่ึงน่าจะได้มวลสาร กลบั มาบา้ ง

การสรา้ ง พระสมเด็จ ของท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ มกี ารสร้างพระพิมพช์ นิดต่างๆ จํานวน มาก กลา่ วกนั ว่า เหตุท่ีเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ สรา้ งพระสมเด็จน้นั เกดิ แต่ท่านไดป้ รารถถึงมหาเถระใน ปางกอ่ น มกั จะสรา้ งพระพิมพบ์ รรจุไวใ้ นปูชนียสถานต่างๆ เพื่อเป็นการสืบต่ออายพุ ระศาสนา และ เพ่อื ให้คนช้นั หลงั ไดบ้ ูชาเจริญพทุ ธานุสติ ท่านประสงค์จะทาํ ตามคติน้ัน จึงไดส้ ร้างพระสมเด็จข้ึน ไว้ จาํ นวนมาก ว่าสรา้ งถงึ ๘๔,๐๐๐ องค์ เท่าจํานวนพระธรรมขันธ์ คร้ังแรกเจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระสมเด็จคร้ังแรกท่ีเรียกกนั ว่า "ทรง ๓ ช้ัน" ต่อมาเจา้ ประคุณไดส้ ร้างคร้ังท่ีสองข้ึนอีก ที่ เรียกกนั วา่ "ทรง ๗ ช้ัน" เพ่อื นาํ ไปบรรจุไวท้ ี่วดั ไชโยวรวหิ าร จงั หวดั อ่างทอง อนั เป็ นวดั ที่ระลึกถึง โยมมารดาของท่าน แต่คร้ังน้ีสรา้ งไม่ครบจาํ นวน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯไดบ้ อกแกน่ ายเทศ ช่าง แกะสลกั พระ บา้ นอยหู่ ลงั ตลาดบา้ นขมิ้น ธนบุรี ติดกบั วดั ระฆงั ฯ ว่า รุ่นน้ีคงจะทาํ ไม่ครบจํานวน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ตามที่ต้งั ใจไวเ้ สียแลว้ เพราะคงจะถึงแกม่ รณภาพลงเสียกอ่ น เนื่องจาก สงั ขารสูงวยั มากแลว้ ท่านจึงใหเ้ อาพระคะแนนร้อยคะแนนพนั จากการสร้างคร้ังแรกเอามารวมกนั แลว้ นาํ ไปบรรจุไวท้ ่ีวดั ไชโย จงั หวดั อ่างทอง ตามท่ีต้งั ใจไวจ้ นครบบริบูรณ์

ตอนแรก เจา้ ประคุณสมเด็จฯ ดําริให้ช่างทางบา้ นช่างหล่อ จังหวดั ธนบุรี เดิมเรียกบา้ น ชาวเหนือ ด้วยเป็ นท่ีอยอู่ าศยั ของพวกชาวเหนือ ซ่ึงเป็ นข้าในกรมพระราชวงั หลงั ไดท้ าํ แม่พิมพ์ ภายหลงั บรรดาผทู้ ่ีเคารพนบั ถอื และสานุศิษย์ ท่ีสามารถทาํ แม่พิมพไ์ ดท้ าํ ถวาย ดงั น้ัน พระสมเด็จ จึงมรี ูปลกั ษณะแตกต่างกนั หลายแบบ และ ในตอนแรกไดใ้ ชห้ ินมีดโกนแกะเป็ นแม่พิมพ์ ต่อมาจึง ใชห้ ินอ่อนบา้ ง ไมแ้ กน่ บา้ ง ส่วนวตั ถุที่ใชส้ ร้างพระน้ัน ว่าใช้วตั ถุหลายอย่างต่างกนั คือ ผงดินสอ (ท่ีไดจ้ ากการเรียนมลู กจั จายน์ตามวิธีโบราณ) ดินสอเหลือง ปูนขาว เกสรดอกไม้ เปลือกกลว้ ยหอม

เปลือกกลว้ ยน้าํ ชานหมาก ใบลานเผา อาหารสาํ รวม และน้ํามนั ต้ังอิ้ว (พระสมเด็จบางชนิดสร้าง ดว้ ยวตั ถุส่ิงเดียว บางชนิดสรา้ งดว้ ยวตั ถุหลายอยา่ งผสมกนั )

ตามปกติเจา้ ประคุณสมเด็จฯ มกั ฉันอาหารสาํ รวม คือในเวลาฉันเช้าท่านจะหยบิ อาหาร คาวหวานทุกชนิดใส่ลงบาตรคลุกเคลา้ กบั ขา้ วสุก แลว้ แบ่งออกเป็ น ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ให้บูชา พระพทุ ธรูป ณ ท่ีบูชา เรียกกนั ว่าถวายขา้ วพระ ส่วนที่ ๒ ให้ทานสัตว์ อีกส่วน ๑ ท่านฉันคร้ันเวลา เที่ยงแลว้ ใหเ้ อาอาหารที่บูชาพระพุทธรูป น้ันไปตากแดดเกบ็ รวบรวมไวส้ ําพรับสร้างพระสมเด็จ ต่อไป ว่ากนั วา่ เจา้ ประคุณสมเด็จฯ ทาํ ดงั น้ีเสมอเป็นอาจิณปฏิบตั ิ เวน้ แต่ไปฉนั ในกจิ นิมนต์

ท่านเจา้ ประคุณพระเทพญาณเวที (ละมลู สุตาคโม) วดั ระฆงั ฯ อา้ งคาํ บอกเล่าจากท่านเจ้า คุณพระธรรมถาวร (ช่วง) ซ่ึงเป็นพระฐานานุกรมของเจา้ ประคุณสมเด็จอกี ต่อหน่ึงวา่

“การสรา้ งพระสมเดจ็ ของเจา้ ประคุณน้นั ท่านใชป้ ูนขาวเป็ นหลกั ผสมด้วยเกสรดอกบวั ข้ี ไคลใบเสมา น้าํ ออ้ ย เน้ือ และ เปลอื กกลว้ ยน้าํ ละวา้ น้าํ มนั ต้งั อิว้ ข้ีธูปในพระอุโบสถ ปูนและดินกรุ ตามพระเจดียเ์ กา่ ๆ เศษอาหารและชานหมากที่สมเด็จฉันแลว้ ผงจากใบลานเผา ว่านวิเศษต่าง ๆ และผงวิเศษในทางแคลว้ คลาด และเมตตามหานิยม จากผงดินสอ ซ่ึงเจา้ ประคุณเขียนอกั ขระตัว ขอมในเวลาลงเลขยนั ตต์ ่าง ๆ

เม่อื เวลาจะสร้างพระสมเดจ็ น้ัน ในตอนแรกเจ้าประคุณสมเด็จฯ ฉันกลว้ ย แลว้ เอาเปลือก กลว้ ยใส่ภาชนะเกบ็ ไว้ ท่านมีดินสอเหลืองแท่งใหญ่อย่แู ท่งหน่ึง จึงให้นายน้อย ซ่ึงเป็ นง่อยและ อาศยั อยกู่ บั ท่านมานานแลว้ เล่อื ยดินสอเหลอื งออกเป็นชิ้นเลก็ ๆ แลว้ ผสมกบั เปลือกกลว้ ย เจือดว้ ย น้าํ ผ้ึงบา้ ง น้ําออ้ ยเค่ียวบา้ ง ตาํ จนละเอียดดีแลว้ จึงให้นายน้อยกบั พระธรรมถาวร (ช่วง) ช่วยกนั พมิ พพ์ ระลงบนแม่พิมพท์ ี่ “ช่างเทศ” เป็นคนแกะให้ใหม่ เป็ นแม่พิมพข์ นาดเลก็ รูปหลงั เบ้ียฐาน ๓ ช้นั เสร็จแลว้ ใส่บาตรไวเ้ กบ็ ในกุฏิช้นั ใน แลว้ ทาํ พธิ ีปลุกเสกวนั ละ ๓ คร้ัง คือ เช้า กลางวนั และเยน็ มิไดข้ าด จนพอแกค่ วามตอ้ งการ จึงค่อยเอาออกแจกจ่ายแกผ่ ตู้ อ้ งการ

ต่อมา ยงั ไดส้ ร้างพระสมเดจ็ ดว้ ยวิธีดงั กล่าว แต่มีวิธีในการพิมพ์แปลกออกไป นั่นคือ เมือ ผสมผงไดท้ ่ีแลว้ เอาออกมาป้ัน แลว้ คลึงใหเ้ ป็นท่อนยาวคลา้ ยฟั่นเทียนแลว้ ตัดเป็ นข้อๆ ผ่ากลางเอา กดในแมพ่ มิ พ์ เมื่อแกะออกมาจากแม่พมิ พแ์ ลว้ ท่านเอามีดเจียนหัวและทา้ ยกบั ขา้ งๆให้มนั เขา้ แลว้ ทําพิธีปลุกเสกเช่นเดิม แลว้ ท่านเอาไปแจก ชาววัง เมื่อเวลาไปบิณฑบาตเสมอ ท่านทําดังน้ีจน ดินสอเหลืองหมด ( เม่ือทาํ พระสมเด็จไดจ้ ํานวนร้อยองค์ ให้ทาํ พระชนิดหลงั เบ้ียขนาดเท่าปลาย นิ้วกอ้ ย ๑ องค์ เรียกว่า พระคะแนนร้อย และเมอ่ื สรา้ งไดจ้ าํ นวนพนั องค์ ให้สร้างพระคะแนนพนั ๑ องค์ ซ่ึงเป็ นพระสมเด็จขนาดใหญ่กวา้ ง ๔.๒ ซม. ยาว ๖.๑ ซม. นายเทศ เป็ นผูท้ าํ แม่พิมพ์พระ คะแนนพนั รุ่นแรก และเจ้าประคุณสมเด็จฯ ไดเ้ อาพระสมเด็จน้ี ให้นางเอ่ียม ผูซ้ ่ึงขายน้ําพริกเผา และกงุ ้ แหง้ ที่ตลาดบา้ นขมิน้ เป็นคนแรก นางเอี่ยมติว่าใหญ่นกั เจ้าประคุณสมเด็จฯว่า ทําคร้ังแรก

ตอ้ งใหญ่หน่อย ภายหลงั คิดวา่ ทาํ พระสมเด็จขนาดใหญ่ ต้องเปลืองผงโดยใช่เหตุ ท่านจึงให้ทาํ แต่ พระขนาดเลก็

ต่อมา ท่านใชด้ ินสอขาว ท่ีทาํ เป็ นแท่งแลว้ ลงอกั ขระลบเอาผงเกบ็ ผสมไวจ้ นพอแกค่ วาม ตอ้ งการ ท่านจึงใหไ้ ปแกะ กะเทาะปูนขาวท่ีลอ่ นๆ ตามกาํ แพงโบสถ์ สีมาบ้าง ซ่ึงมีตะไคร่น้ําติดอยู่ เป็นส่วนมาก แลว้ เอามาตาํ ผสมกบั ดินสอขาว ที่ท่านทาํ ไวแ้ ลว้ จึงพิมพ์ ทีน้ีพิมพเ์ ป็ นรูปสี่เหลี่ยม ผืน ผา้ เป็ นพระชนิดปรกโพธ์ิ ชนิดทรงเจดีย์ และชนิดอื่นๆ จึงได้ความว่า พระสมเด็จบางองค์เน้ือ

เหลือง เพราะท่านผสมดินสอเหลืองนัน่ เอง บางองค์เน้ือขาวเจือเขียวเลก็ นอ้ ย เม่ือหักออกดูจะเห็น ผงสีดาํ ๆ ติดอยปู่ ระปราย จึงให้ไดค้ วามสนั นิษฐานว่า ที่เน้ือติดจะเขียวเลก็ นอ้ ยน้ัน เพราะกะเทาะ ปูนขาวที่เอามาตําน้ัน เม่ือส่วนผสมที่เจือด้วยของเหลว ตะไคร่น้ํากค็ ลายความดําของมนั ออกมา ผสมกบั ผงท่ีผสมน้นั ๆ ที่เน้ือผงดาํ ติดอยปู่ ระปราย เพราะตะไคร่น้ําน้ันไม่ไดถ้ ูกย่อยจนละเอียดโดย ส้ินเชิงนนั่ เอง

ดงั น้นั มีขอ้ วิเคราะห์ของผูเ้ ขียน ว่า พระสมเดจ็ ที่มีสีขาว ออกเขียว และ ผสมผงดํา ในช่วง แรก กอ่ นจะเริ่มมกี ารผสมน้าํ มนั ต้งั อิ้ว จะเป็นพระสมเด็จ ฐาน ๓ ช้ัน ชนิดปรกโพธ์ิ ปรกเมล็ดโพธ์ิ และ เจดีย์ และเป็ นพระสมเด็จที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ บรรจุกรุวัดระฆังฯ และ แจกให้กบั ประชาชน ในระหว่างท่ีท่านออกบิณฑบาต ขอ้ สันนิษฐานน้ีเป็ นจริง ว่า สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง พระราชทานแจกพระปรกเมล็ดโพธ์ิ เม่ือคราวเกิด โรคอหิวาต์คร้ังใหญ่ ในปี ระกา พ.ศ. ๒๔๑๖

แสดงใหเ้ ห็นวา่ ท่านไดส้ ร้าง พระสมเด็จปรกโพธ์ิ ออกมาจาํ นวนมาก ซ่ึงมีความคิดเห็น ขดั แยง้ กบั นกั วิชาการบางท่าน วา่ พระสมเด็จปรกโพธ์ิ ท่านสร้างออกมาจํานวนน้อยมาก จึงทําให้เซียนพระ ไมน่ ิยมเลน่ หากนั ซ่ึงการที่ รชั กาลที่ ๕ นาํ มาแจกจ่ายให้ กบั ประชาชน แสดงว่า พระสมเด็จตอ้ งมี จาํ นวนมากมาย พอที่จะนาํ ออกมาแจกประชาชน

มขี อ้ สนั นิษฐานต่อไปว่า พระสมเด็จในช่วงนี้ น่าจะสร้างในช่วง ปี พ.ศ. ๒๓๙๙ จากการ บอกเล่า เจา้ คุณพระธรรมถาวร (ช่วง จนฺทโชติ) เกดิ ใน ปี พ.ศ. ๒๓๘๖ เป็ นชาวบ้านตําบลบาง ระมาด จงั หวดั ธนบุรี ว่า ไดม้ าอยกู่ บั เจ้าประคุณสมเด็จฯ เมื่ออายุ ๑๓ ปี ไดศ้ ึกษาพระปริยตั ิธรรม ต่อเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ และเมือ่ ไดอ้ ปุ สมบท เจา้ ประคุณสมเด็จฯ ไดเ้ ป็ นพระอุปัชฌาย์ และ เป็ นถา นานุกรมของท่าน ได้รู้พฤติกรรมต่างๆ ของเจ้าประคุณสมเด็จฯ อย่างใกลช้ ิด เป็ นผูห้ น่ึงท่ีได้ทํา

แม่พิมพ์ และ ช่วยพิมพ์พระสมเด็จ และได้พยายามรวบรวมพระสมเด็จไวม้ ากที่สุดเกอื บทุกชนิด ท่านมรณภาพเมือ่ ปี จอ พ.ศ. ๒๔๗๗ อายุ ๙๑ ปี

ต่อมาพิธีปลุกเสกพระสมเด็จเปลี่ยนแปลงไปบา้ งกล่าวคือ สมเด็จไดเ้ อาบาตรพระท่ีใส่พระ พิมพไ์ วจ้ นเตม็ แลว้ น้นั ไปต้งั ไวท้ ่ีหอสวดมนต์หนา้ พระพทุ ธรูปประธาน แลว้ วงสายสิญจน์จากพระ ประธานไปยงั ที่บาตรพระ อาราธนาภิกษุท้ังปวงที่มาเจริญพระพุทธมนต์ในระหว่างเขา้ พรรษาว่า “ช่วยกันปลุกเสกพระของฉันด้วย” ทาํ เช่นน้ีตลอดฤดูกาลเข้าพรรษาน้ัน คร้ันครบกาํ หนดไตรมาส แลว้ สมเด็จกเ็อาพระท่ีปลุกเสกครบกระบวนความแลว้ ไปบรรจุไวต้ ามเจดียข์ องวดั ต่าง ๆ เช่นวดั

ชีปะขาว (วดั ศรีสุดาราม) วดั ตะไกร ที่แขวงกรุงเกา่ , วดั ระฆงั ฯ และวดั ไชโยท่ีจงั หวดั อ่างทอง เป็ น ตน้

ผูช้ ่วยในการสร้างพระสมเด็จฯ น้นั นอกจากท่านเจา้ คุณพระธรรมถาวร (ช่วง) และนาย นอ้ ย (ง่อย) ๒ คนที่กล่าวมาแลว้ กย็ งั มีอีกหลายคนท่ีช่วยกนั คือ ๑. พระภิกษุพ่วง ๒. พระภิกษุภู (ต่อมาคือหลวงป่ ูภู วดั อินทร์ เกจิอาจารยช์ ้ันยอดอีกองค์หน่ึงของเมืองไทย) ๓. พระภิกษุแดง ๔. พระภกิ ษโุ พธ์ิ ๕. สามเณรเลก็ และ ๖. หลวงบริรักษโ์ รคาพาธ แพทยห์ ลวงในรัชกาลท่ี ๔ ซ่ึงมีบ้าน อยใู่ กลว้ ดั ระฆงั ฯ เวลาวา่ ง ๆ กม็ กั จะช่วยเจา้ ประคุณในการสรา้ งพระพมิ พช์ ุดต่าง ๆ อยเู่ สมอ

ผูเ้ ขียนไดน้ าํ ขอ้ มูลการศึกษาพระสมเดจ็ แท้ ในมุมองของพระอาจารยข์ วญั วิสิฐโฐ วดั ระฆงั ฯ กล่าวถึงลักษณะพระสมเดจ็ แท้ ไวว้ ่า จะตอ้ งมีองคค์ ุณวิเศษ ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ดาํ ปนแดงเจือเหลือง หรือเหลืองออ่ นดุจงาชา้ งและสีอฐิ ๒. มีน้าํ หนกั เบากว่าพระพิมพ์อน่ื ๆ ท้งั ส้ิน ๓. เน้ือละเอียดอ่อน ช้ืนคลา้ ยเปี ยกน้าํ อยเู่ สมอ แต่แขง็ แกร่ง มวี ตั ถเุ ลก็ ๆ สีดาํ หรือแดง ฝังอยกู่ บั ส่วน หน่ึงส่วนใดของพระทุกองค์ ๔. แตกเป็นลายงาชา้ ง หรือลายสงั คโลก ๕. เม่ือหยบิ เอาองคพ์ ระข้ึนดว้ ยอาการสาํ รวม จะเกดิ ญาณหยงั่ ลึกสาํ นึกรูด้ ว้ ยตวั เองทนั ทีวา่ น่ีคือ พระสมเดจ็ เน้ือแท้

ส่วนอาจารยท์ ่ีรูจ้ ริงในเรื่องพระสมเดจ็ อีกท่านหน่ึงคือ พ.ต.ต.จําลอง มลั ลิกะนาวิน แนะนาํ ไวว้ ่า พระสมเดจ็ แบ่งออกเป็ น ๕ ประเภท คือ เน้ือผง เน้ือกระเบ้ือง (ดินเผา) เน้ือชิน (โลหะผสม) เน้ือเงินและเน้ือตะกว่ั ถ้าํ ชา

เฉพาะเน้ือผงยงั มแี บ่งออกไปอกี เป็น ๑. เน้ือชานหมาก ๒. เน้ือผงใบลาน ๓. เน้ือโป่ งเหลือง หรือ เน้ือกลว้ ยหอม ๔. เน้ือกระยาสารท ๕. เน้ือข้าวสุก ๖. เน้ือปูนน้ํามนั ๗. เน้ือเกสรดอกไม้ ๘. เน้ือหินลบั มดี โกน ๙. เน้ือขนมถว้ ยฟู ๑๐. เน้ือขนมตุบ้ ต้บั ๑๑. เน้ือปูน ๑๒. เน้ือผงแป้งขา้ วเหนียว

จากคาํ บอกเล่าของพระอาจารยข์ วญั วิสิฏโฐ วดั ระฆงั ฯ โดยอา้ งว่าเจา้ คุณพระธรรมถาวร (ช่วง) และ พระครูธรรมราต (เท่ียง) ซ่ึงเป็นถานุกรมในสมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ ( ม.ร.ว เจริญ อิศ รางกูร ณ อยธุ ยา) เป็ นนักสะสมพระเครื่องรางชนิดต่างๆผูห้ น่ึง โดยเฉพาะมีความชํานาญดูพระ สมเด็จเป็นพิเศษ วา่ กนั ว่าไมต่ อ้ งหยบิ พระมาพิจารณา เพียงแต่มองดูห่างๆ กส็ ามารถบอกได้ถูกตอ้ ง ว่าเป็นพระสมเด็จแทห้ รือมิใช่ และท่านได้ กล่าววา่ พระสมเด็จที่เจา้ ประคุณสมเด็จฯสร้างน้ัน ว่ามี ถงึ ๗๓ ชนิด แต่ในเวลาที่เรียบเรียงเร่ืองประวตั ิน้ีสืบทราบเพียง ๒๙ ชนิดคือ

1. พระคะแนนพนั (รุ่นแรก) ๓ ช้นั มี ๓อยา่ งคือสีดํา (อยคู่ งกระพนั ชาตรี) อย่าง ๑ สีขาวมีกลิ่นหอม (แกโ้ รคต่างๆ)อย่าง ๑ สีขาวไม่มีกลิ่น(ทางเมตตามหานิยม) อยา่ ง ๑ (ขนาดเดียวกนั กวา้ ง ๔.๒ ซม. ยาว ๖.๑ ซม.)

2. ขอบกระดง้ (หลงั กาบกลว้ ย) ๓ ช้นั (เป็นพระคะแนนกรุวดั ไชโย) รูปไข่ (กวา้ ง ๕.๕ ซม. ยาว ๘.๕ ซม.)

3. พระคะแนนพนั (รุ่นหลงั ) ๗ ช้นั (กวา้ ง ๒.๓ ซม. ยาว ๕.๕ ซม.) 4. หูบายศรี (กระกรรณยาวงอนดุจบายศรี) ๖ ช้นั (กวา้ ง ๒.๒ ซม. ยาว ๓.๓ ซม.) 5. หูบายศรี ๗ ช้นั (กวา้ ง ๒.๔ ซม. ยาว ๓.๕ ซม. ) (ว่าหูบายศรี ๖ ช้นั หายากกว่า

๗ ช้นั ) 6. เศยี รบาตร (พระเศยี รโต เรียกกนั อีกอยา่ งหน่ึงว่า ทรงไกรเซอร์) ๓ ช้ัน ดา้ นหลงั

มีรอยหวั แมม่ ือ ๒ รอย (กวา้ ง ๒.๕ ซม. ยาว ๓.๘ ซม.) 7. หลวงพ่อโต (สีอฐิ เจือดาํ ) มี ๓ อยา่ ง คือที่ใตฐ้ านมีรอยเลบ็ หัวแม่มือมือสองรอย

อยา่ ง ๑ ที่ดา้ นหลงั มีรูหน่ึงรูอยา่ ง ๑ ท่ีดา้ นหลงั มีรูสอง รูอยา่ ง ๑ (ขนาดเดียวกนั กวา้ ง ๒.๕ ซม. ยาว ๓ ซม.)

8. เศยี รกระแต (พระพกั ตร์เรียว) ๓ ช้นั (กวา้ ง ๒.๒ ซม. ยาว ๓.๔ ซม.) 9. ทรงเจดีย์ (ลกั ษณะพระงาม) ๓ ช้นั (กวา้ ง ๒.๒ ซม. ยาว ๓.๕ ซม.) 10. พระประจาํ วนั (ว่ามีครบท้งั ๗ วนั พระประจําวนั พุธ (อุม้ บาตร) กวา้ ง ๒ ซม.

ยาว ๔ ซม. พระประจาํ วนั นอกจากน้ีมีขนาดอยา่ งไรหาทราบไม่) 11. ขุนแผน (หลงั กาบกลว้ ย กวา้ ง ๒.๕ ซม. ยาว ๔.๗ ซม. ) 12. ใบลานเผา สีดาํ ๓ ช้นั (กวา้ ง ๒ ซม. ยาว ๓.๒ ซม.) 13. ชานหมาก สีดาํ ๓ช้นั (กวา้ ง ๒.๒ ซม. ยาว ๓.๔ ซม.) 14. นางพญา รูปหนา้ จั่ว ไม่มีฐาน มี ๒อยา่ ง คือสีแดงหม่น (ค่อนดาํ ) และสีขาว

(ขนาดเดียวกนั ขอบลา่ งสุดกวา้ ง ๑.๘ ซม. ยาว ๒.๕ ซม.) 15. ปรกเมลด็ โพธ์ิ (ที่บริเวณพระเศียร มีป่ ุมกลมเล็กหลายป่ ุม)สีเขียวคล้าํ เรียกกนั

อกี อยา่ งว่า สมเด็จเขียว ๓ ช้นั (กวา้ ง ๒ ซม. ยาว ๓.๔ ซม.) 16. พระเจา้ สิบทิศ (มีพระนงั่ เรียงลาํ ดับบนแผ่นกระเบ้ืองไทย ๑๐ องค์)สีดาํ มี ๒

อยา่ ง คือพระปางมารวิชยั และพระปางสมาธิ (ขนาดเดียวกนั กวา้ ง ๑๐.๕ ซม. ยาว ๑๗.๒ ซม.) 17. ปรกโพธ์ิใบ (บริเวณเบ้ืองบนพระเศียรมีกง่ิ และใบโพธ์ิ) ๓ ช้ัน (กวา้ ง๒.๔ ซม. ยาว ๓.๖ ซม. ) 18. อกร่องหูยาน (คือพระอุระเป็นร่อง พระกรรณยาวงอน) สีเหลอื ง ๗ ช้นั (หนา) 19. พระคะแนนร้อย (รุ่นแรก) หลงั เบ้ีย ขนาดเท่าปลายนิ้วกอ้ ย

20. รูปใบโพธ์ิ (รูปลกั ษณะเหมือนใบโพธ์ิ) 21. ไข่ผ่าซีก (รูปลกั ษณะเหมอื นไข่ผ่าซีก วา่ มีอยทู่ ี่กรุวดั ชีปะขาว) 22. หัวแม่มือ (รูปลกั ษณะเหมือนนิ้วหัวแม่มือ สีอยา่ งเดียวกบั สมเด็จเขียวว่าเป็ น

พระหมอ เม่อื จะรักษาโรค ให้เอาพระน้ีใส่บาตรที่มีน้ํา ถา้ พระจมว่าคนไข้ตาย ถา้ พระลอยว่าคนไขห้ าย วา่ พระชนิดน้ีเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ มกั ใหแ้ กผ่ ูเ้ ป็นหมอ) 23. รูปเจดีย์ (คือทาํ เป็นรูปพระเจดียใ์ นมา่ นแหวก ว่าพระชนิดน้ีใครจบั ตอ้ งขนลกุ ) 24. ฐานแซม (คือฐานมีช้นั เลก็ แซมช้นั ใหญ่ วา่ ทางเมตตามหานิยมดีนกั ) 25. เม็ดขนุน (รูปลกั ษณะกลมรีดุจเมด็ ขนุน ว่าพระชนิดน้ีเกบ็ รักษายากมกั จะสูญ หายเสียโดยมาก) 26. ปิ ดทอง (คือปิ ดทองทึบท้งั ดา้ นหนา้ และหลงั ) 27. ดินสอเหลอื ง หลงั เบ้ีย ๓ ช้นั (รุ่นแรก) 28. เปลอื กกลว้ ยน้าํ (คือสรา้ งดว้ ยเปลือกกลว้ ยน้าํ ) 29. เกสรดอกไม้ (คือสร้างดว้ ยเกสรดอกไมต้ ่างๆ)

จากบนั ทึกของ พระธรรมถาวร (ช่วง) ไดก้ ล่าวถงึ พระสมเด็จ ของสมเดจ็ พระพุฒาจารย์ โต พรหมรงั สี ไดน้ าํ ดินสอพองสีขาว มาใช้ ทาํ มวลสารซ่ึงเขา้ ใจวา่ ท่านนาํ มาจากจงั หวดั ลพบุรี ดงั น้ี

“ ต่อมาท่านใชด้ นิ สีขาว ที่ทาํ เป็นแท่งแลว้ ลงอกั ขระลบเอาผงเกบ็ สะสมไวจ้ นพอแกค่ วาม ตอ้ งการ ท่านจึงใหไ้ ปแกะกะเทาะปูนขาวที่ล่อนๆ ตามกาํ แพงโบสถ์สีมาบา้ ง ซ่ึงมีตะไคร่นํา้ ติดอยู่ ส่วนมาก แลว้ เอามาตาํ ประสมกบั ดินสอขาวที่ท่านทาํ ไว้ แลว้ จึงพิมพ์ ท่ีน้ีพิมพ์เป็ นรูป ๔ เหลี่ยมผืน ผา้ เป็ นพระชนิดปรกโพธ์ิ ชนิดทรงเจดีย์ และ ชนิดอื่นๆ จึงได้ความว่า พระสมเด็จบางองค์เน้ือ เหลอื ง กเ็พราะท่านประสมดนิ สอเหลืองนัน่ เอง บางองค์เน้ือขาวเจือเขียวเลก็ นอ้ ย เมื่อหักออกดูจะ เห็นผงสีดาํ ๆ ติดอยู่ประปราย จึงให้ไดค้ วามสนั นิษฐานว่า ท่ีเน้ือติดจะเขียวเล็กน้อยน้ัน กเ็ พราะ กะเทาะปูนขาวที่เอามาตําน้ัน เม่ือส่วนผสมท่ีเจือด้วยของเหลวตะไคร่น้ํากค็ ลายความดําของมนั ออกประสมกบั ผงท่ีประสมน้ันๆ ท่ีเน้ือมีผงดําติดอยูป่ ระปราย กเ็ พราะตะไคร่น้ําน้ันไม่ได้ถูกย่อย จนละเอยี ดโดยส้ินเชิงนนั่ เอง”

การปลุกเสกพระสมเดจ็ โดยเจา้ ประคุณสมเด็จฯ มีรายละเอยี ดจากการบนั ทึกดงั น้ี

“ในตอนหลงั เม่อื เจา้ ประคุณสมเด็จฯ สร้างและปลุกเสกพระสมเด็จเสร็จแลว้ ท่านให้ใส่ บาตร กระบุงและสัดไปต้ังไว้ที่หอสวดมนต์ ตรงหน้าพระพุทธรูป แล้วโยงสายสิญจน์จาก พระพทุ ธรูปไปวางที่พระสมเดจ็ น้นั บอกพระสงฆท์ ี่มาประชุมเจริญพุทธมนต์ ในพรรษาว่า ขอให้

ช่วยปลุกเสกพระของท่านด้วย (นัยว่าที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ทําดงั น้นั ด้วยประสงค์จะแสดงให้ ปรากฏแกค่ นท้งั หลาย โดยปริยายหน่ึงวา่ พระของท่าน ไดท้ าํ พิธีปลุกเสกแลว้ ) คร้ันถึงวนั ฤกษง์ าม ยามดี ท่านกใ็ ห้รวบรวมพระสมเดจ็ ไปบรรจุไวใ้ นพระเจดียว์ ดั ต่างๆ คือวดั ชีปะขาว (วดั ศรีสุดาราม) วดั ตระไกร (แขวงกรุงเกา่ ) วดั ระฆงั ฯ วดั ไชโย ฯลฯ (ที่ท่ีบรรจุพระพมิ พ์ เรียกกนั วา่ “กรุ” )”

ใน ช่ ว งต้น ผู้เขี ย น ข อ นํา เ สน อ บ ทค ว า ม จา กเ ว็บไ ซต์ ส ม เด็ จโ ต ด อ ทค อ ม www.somdejto.com ซ่ึงมีบทความจากอาจารยร์ ะฆงั อริยทนั โตศรี จากสาํ นกั ธรรมพรหมรังสี โดย มคี วามเกย่ี วขอ้ งท้งั มวลสาร และ ที่มาของมวลสารอยา่ งน่าสนใจ ดงั น้ี

สาํ หรับอทิ ธิวตั ถมุ งคลที่ใช้ในการสร้างพระน้ัน พระองค์ท่านไดส้ ะสมรวบรวมอิทธิวตั ถุ มงคลสาํ หรับสรา้ งพระมาต้งั แต่พระองคท์ ่านยงั เป็นสามเณร โดยทรงได้มาจากพระอาจารยบ์ า้ ง ได้ จากพระฤาษีบ้าง ได้มาจากองค์เทพยดาเจ้านิมิตให้ตามสถานที่ต่างๆ บา้ ง นํามาถวายบ้าง และท่ี สาํ คญั พระองค์ท่านทรงสรา้ งดว้ ยพระองคเ์ อง โดยใชค้ วามพากเพียรวริ ิยะอตุ สาหะอยา่ งมากและได้ แสวงหาอทิ ธิวตั ถมุ งคลเหล่าน้นั จากสถานท่ีต่างๆ ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย

พระอาจารยข์ องพระองคท์ ่านที่มอบอิทธิวตั ถมุ งคลให้ เช่น ได้รับจากพระอาจารย์ สังฆราช สุก ไกเ่ ถ่ือน พระอาจารยเ์ ฒ่า อายุ ๑๑๗ ปี จงั หวดั อยุธยา พระอาจารยแ์ สง พระอาจารยค์ ง พระ อาจารยค์ าํ ศรี จากเชียงใหม่ พระอาจารยข์ วั ใหญ่ จงั หวดั อยธุ ยา เป็นตน้

ทรงไดร้ บั จากพระฤาษี เช่น พระฤาษีสตั ตนะ พระฤาษพี ิกุล พระฤาษีพิลาลยั พระฤาษีบรรลยั โกฎิ พระฤาษีตาววั พระฤาษีตาไฟ พระฤาษมี ตั ตะ จากสุโขทยั

ทรงไดร้ ับนิมิตจากองค์เทพยดาเจา้ ใหไ้ ปนาํ อิทธิวตั ถุมงคล เช่น ทอง เงิน นาก เพชร นิล ไม้ แกน่ จนั ทน์ ไมก้ าหลง ว่าน เกสรในสถานที่ต่างๆ เช่น ในถ้าํ มีถ้าํ ๑๒ คูหา ถ้าํ ป่ ายางโดน ถ้าํ อิสีคูหา สวรรค์ ในยอดปราสาท ในพระหัตถ์พระประธานโบสถว์ ดั ต่างๆ และท่ีสาํ คญั พระองค์ท่านไดร้ ับ อทิ ธิวตั ถุมงคลซ่ึงอญั เชิญมาจากสวรรค์ และน้าํ กอ้ น ซ่ึงไดร้ บั พระราชทานจากพระพรหม เป็นตน้

อิทธิวตั ถมุ งคลที่ทรงสร้างและแสวงหาดว้ ยพระองค์เองน้นั ทรงได้มาดว้ ยความพากเพียร พยายาม ทรงใชค้ วามวิริยะอุตสาหะอยา่ งมาก และบางคร้ังยงั ทรงใช้อิทธิฤทธิปาฏิหารย์ ในการ ไดม้ าซ่ึงอิทธิวตั ถุมงคลเหล่าน้นั เช่น ผงวิเศษจาํ นวน ๕ อยา่ ง มี ผงอถิ ิเจ๑ ผงปัถมงั ๑ ผงตรีนิสิงเห๑ ผงมหาราช๑ ผงพทุ ธคุณ๑ ส่วนที่พระองคท์ ่านแสวงหาดว้ ยพระองค์เองดว้ ยความยากลาํ บากอยา่ ง มากเช่น ว่านยา ๑๐๘ ผงเกสร ๑๐๘ ดินเจด็ โป่ งเจ็ดท่า ไคลเสมา ไคลเจดีย์ พระเกา่ เมืองกาํ แพงเพชร ดินเจด็ ป่ าชา้ ดินใจกลางเมืองเจด็ เมอื ง เถา้ ถ่านขนุ แผนยา่ งกุมารทองที่วดั ป่ าเลไลก์ น้ําผ้ึงจากรังผ้ึง โดยทรงใชใ้ บตองรอง น้าํ พระพุทธมนต์ตามหัวเมืองต่างๆ เปลือกหอย และเปลือกมุกจากใจกลาง สะดือทะเล และหินจากใตพ้ ภิ พ เป็นตน้

นอกจากน้ี มกี ารบนั ทึก การสร้างพิมพ์พระสมเด็จฯ จากสมุดบนั ทึกประวัติของพิมพ์พระ สมเดจ็ แต่ละพมิ พ์นิยมโดยหลวงป่ ูคํา (วดั อัมรนิ ทร์) โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ในช่วงเวลาสุดท้ายของ การ สร้างพระสมเดจ็ โดยพระสมเดจ็ พฒุ าจารย์ (โต) พรหมรังสี ที่ได้ถูกคัดลอกไวซ้ ่ึงระบุไวเ้ ฉพาะ แมพ่ มิ พท์ ่ี ไม่ชาํ รุดแตกหัก ที่มเี หลอื อยใู่ นสภาพดีในเวลาน้นั มดี งั น้ี

พมิ พท์ ่ี ๑ ทรงพระประธาน มี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์ พมิ พท์ ี่ ๒ ทรงชายจีวร มี ๑๕ พมิ พ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์ พมิ พท์ ี่ ๓ อกร่องหูยานฐานแซม มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์ พิมพท์ ่ี ๔ เกศบวั ตูม มี ๔ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์ พมิ พท์ ่ี ๕ ปรกโพธ์ิมพี มิ พท์ ี่ไมแ่ ตกมี ๕ พมิ พ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์ พมิ พท์ ่ี ๖ ฐานคู่มีพิมพท์ ี่ไมแ่ ตก มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์ พมิ พท์ ี่ ๗ เสน้ ดา้ ย มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พมิ พ์ พมิ พท์ ่ี ๘ สงั ฆาฏิ มี ๗ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์ พมิ พท์ ี่ ๙ หนา้ โหนกอกครุฑ มี ๑๖ พิมพ์ ท้งั พมิ พใ์ หญ่ พมิ พท์ ี่๑๐ พิมพท์ รงเจดีย์ มี ๒ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พมิ พ์

เม่ือพระคุณท่านได้มรณภาพแลว้ รวมพิมพพ์ ระท่ีไม่แตกชาํ รุดได้ ๑๖๔ พิมพ์ เป็ นพิมพ์ สมเด็จท่ีนิยมและไม่นิยม ๘๑ พิมพ์ นอกน้ันเป็ นพิมพพ์ ระอยา่ งอื่นเสีย ๘๓ พิมพ์ แลว้ ท่ีแตกหัก ๘ ถาดทองเหลอื งเตม็ ๆ และพิมพไ์ กเซอร์ท่ีเสด็จยโุ รป ๓๐๐ องค์ ๆ พิมพเ์ ป็ นพระได้แจกให้พระเจ้า ไกเซอร์ต่อมาไดท้ าํ พมิ พเ์ ศียรบาตรข้ึนมาแทนพิมพไ์ กเซอร์ เพราะใครกอ็ ยากไดพ้ ิมพ์ไกเซอร์ เลย เอาพมิ พเ์ ศยี รบาตรแทน ต่อมาคนไดเ้ ชื่อว่าพิมพน์ ้ีเป็นพิมพไ์ กเซอร์ แต่ความจริงไม่ใช่ พิมพ์ไกเซอร์ องค์พระนงั่ บนบวั .” จบบนั ทึกของหลวงป่ ูคาํ เพยี งเท่าน้ี

การแกะแม่พิมพพ์ ระสมเดจ็ น้นั พุทธศิลป์ มที ้งั พมิ พท์ ่ีสวยงามและพิมพ์ไม่สวย พิมพพ์ ระที่ สวยน้นั ทาํ โดย ช่างหลวง เช่น หลวงวจิ ารณ์ เจียรนยั ฯลฯ เป็นผแู้ กะพิมพ์ถวาย (ซ่ึงต่อมาถูกเรียกว่า พมิ พน์ ิยมนนั่ เอง) ส่วนพิมพท์ ี่ไมส่ วยส่วนมากแกะพิมพโ์ ดยช่างท่ีเป็นชาวบา้ น

ท่ีมาของการบันทึก ของหลวงป่ ูคํา จะเห็นได้ว่า ตัวอกั ษรดําใหญ่เป็ นบันทึกเพิ่มเติม ภายหลงั วา่ “ แต่เป็นบนั ทึกของหลวงป่ ูคํา เขียนไวถ้ ี่ถว้ น เป็ นท่ีเชื่อได้ เป็ นประวตั อนั แทจ้ ริงของ ขรัวโตวดั ระฆงั แลว้ มาลอกต่อเม่อื ป่ ูคาํ ไดม้ รณภาพ ไปแลว้ ๔ ปี ในราว พ.ศ.๒๔๒๕ แลว้ บันทึกน้ี ตกอยทู่ ่ีพระครูปลดั มิศร์ และนายพ่งึ ลกู นายเหลย่ี มบา้ นช่างหล่อ ไดไ้ ปขอปลดั มิศร์มาลอกเอาไวใ้ น ราว ๒๔๓๙ แลว้ นายจอม องค์ช่างหล่อ มาลอกคร้ังสุดทา้ ยเม่ือ ๒๔๔๓ นายจอมเป็ นหัวหนา้ กอง โรงกษาป ไดล้ อกมาจากบา้ นช่างหล่อ หลงั วดั ระฆงั เป็ นหลานนายพ่ึง ปฏิมาปกร เคยเป็ นเจ้ากรม

กษาปหรือช่างสิบหมู่สมยั น้ัน ต่อมา หลานนายจอมไดล้ อกมาไวเ้ ป็ นคร้ังสุดทา้ ย พระคุณท่านได้ เป็นพระวปิ ัสสนาสูง จะหาพระองคใ์ ดมาเปรียบมไิ ด”้

ส่วนข้อสันนษิ ฐานของผ้เู ขยี น จาก บทบนั ทึก ของหลวงป่ ูคํา “หลวงป่ ูคาํ มรณภาพ ปี พ.ศ. ๒๔๒๑ พระสมเด็จ พมิ พน์ ิยมและ ไม่นิยม ขา้ งต้น เป็ น พิมพ์ที่ไดส้ ร้างไวแ้ ลว้ และ หลวงป่ ูโต ได้ เกบ็ พระสมเด็จ ไว้ โดยไม่ไดใ้ ส่กรุ บางขนุ พรหม ดงั น้นั ที่ถามว่า วดั ระฆงั กพ่ี ิมพ์ บางขุนพรหม ก่ี พมิ พ์ เป็น คาํ ถามท่ีตอบยากมาก แต่ การที่ หลวงป่ ูคาํ ออกมาเขียนบนั ทึก ว่าพิมพ์นิยม มี ๗๕ พิมพ์ น้ัน ไม่นิยม ๖ พิมพ์ คงเข้าใจว่า พิมพ์พระสมเด็จ ส่วนหน่ึงพิมพ์กนั ท่ีวดั ระฆงั ส่วนใหญ่ แต่ นาํ เขา้ ไปใส่ไวใ้ นกรุ บางขนุ พรหม บางส่วน อาจจะพิมพพ์ ระท่ี บางขนุ พรหมใน วดั อินทรวิหาร และเมอ่ื หลวงป่ ูโต เขา้ มา ตรวจงานการสร้าง พระหลวงพ่อโต กค็ งเกบ็ พระไปไวใ้ นกุฏิบางส่วน หลงั ปลุกเสกเสร็จ หรือ บางส่วน พิมพพ์ ระที่ วดั ใหม่อมตรส โดย เสมียนตราด้วง แลว้ นาํ ไปใส่กรุ ในเจดียใ์ หญ่ ซ่ึงไดม้ ี การขอแม่ พมิ พ์ จากวดั ระฆงั บา้ ง แลว้ หลวงป่ ูโต คงขอเกบ็ ไว้ บางส่วนไว้ ที่ กุฎิ หลงั ปลกุ เสกเสร็จ ดงั น้นั พระสมเด็จ ที่ สรุปโดย หลวงป่ ูคาํ มที ้งั พิมพ์ มาจากวดั ระฆงั และจาก ที่กลา่ วขา้ งตน้

จากหนงั สือปทานุกรม พระสมเด็จ เลม่ ๑ ของ อาจารยอ์ รรคเดช กฤษณะดิลก ได้กล่าวถึง ธรรมชาตขิ องเนือ้ พระสมเดจ็ วัดระฆัง มองทางกายภาพ

จากเลนส์ขยายในเน้ือพระสมเดจ็ วดั ระฆงั เท่าท่ีไดส้ ัมผสั มา มวลสารที่มองเห็นดว้ ยตาเปลา่ ประกอบดว้ ย มวลสารดงั ต่อไปน้ี ๑. จุดสีขาวข่นุ มีท้งั ขนาดใหม่และเลก็ ขนาดเลก็ ต้งั แต่ปลายเข็มหมุดขนานใหญ่เท่าเมล็ดถวั่ เขียวก็ เคยพบ มีปรากฏอยทู่ วั่ ไปในเน้ือพระละเอยี ดแน่นนอน และ เน้ือพระชนิดหยาบเน้ือไมแ่ น่นนอน สนั นิษฐานว่าคือ เมด็ พระธาตุ และเปลือกหอย ๒. จุดสีแดงหรือสีแดงอิฐ ต้งั แต่ขนาดเลก็ ถึงขนาดใหญ่ สนั นิษฐานวา่ คงจะเป็นเศษพระเครื่องหัก ของ กาํ แพงเมืองเพชร สมยั ท่ีสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ไดไ้ ปเดินธุดงคพ์ บพระเน้ือดินหกั แต่ยงั เต็มเปี่ ยมไป ดว้ ยพระพุทธคุณ จึงนาํ มาสร้างพระเพื่อใหเ้ กดิ ความเป็นสิริมงคล และความขลงั แก่ พระสมเดจ็ ๓. จุดสีดาํ มีขนาดเลก็ กค็ ือ เกสรดอกไม้ เมด็ กลว้ ย ถา้ เป็ นขนาดกลาง สนั นิษฐานวา่ เป็นผงถา่ นใบ ลาน และถา้ เป็นลกั ษณะยาว สนั นิษฐานว่าเป็นกานธูป ๔. จุดสีเขียวคลา้ ยสีคราม มีลกั ษณะใหญ่เลก็ แลว้ แต่จะพบในองค์พระ สนั นิษฐานวา่ เป็นหินเขียว หรือ ตะไคร่ ใบเสมา ๕. จุดสีน้าํ ตาลอ่อน และ น้าํ ตาลแก่ สนั นิษฐานวา่ คือเกสรดอกไมแ้ หง้ นานาชนิด อาจเป็ นดอกไม้ ๑๐๘ (ดอกไมท้ ี่ใชบ้ ูชาพระ)

๖. เมด็ ทรายเสกขนาดกลาง และขนาดเลก็ พบในเน้ือพระสมเดจ็ วดั ระฆงั ๗. เมด็ ขาวข่นุ หรือพระธาตุ ส่วนมากจะพบกระจายอยทู่ วั่ ไปในองคพ์ ระบางองค์ พบอยดู่ า้ นหลงั บางองคไ์ ม่พบ ๘. ทองคาํ เปลว ท่ีติดพระประธานในโบสถว์ ดั ระฆงั ใชบ้ ดละเอยี ดผสมในเน้ือพระ ๙. ผงวิเศษท่ีพบเป็ นกอ้ น คลา้ ยกบั กอ้ นดินสอพองกค็ ือ ผงวิเศษที่ไดจ้ ากผงอทิ ธิเจ ผงปัตถะมงั ผงตรี นิสิงเห ผงพทุ ธคุณ ผงมหาราช ๑๐. การยบุ ตวั ของเน้ือพระสมเด็จ เกดิ จากปฏิกริ ิยาการหดตวั แห้งตวั ยบุ ตวั ของเศษอาหาร จึงทาํ ให้ เน้ือพระยบุ ตวั ลง ระยะเวลาและความร้อนของอากาศหลายๆปี ฤดูกาลธรรมชาติ ๑๑. ท่ีแลเห็นพระบางองค์มีความมนั บนองค์พระมาก เพราะวา่ ในเน้ือพระผสมน้าํ มนั ตงั อว๊ิ มากกวา่ ปกติ เน้ือพระชนิดน้ีจึงหนึกนุ่มอยเู่ สมอ ทาํ ใหเ้ น้ือพระเกา่ ไดย้ าก ๑๒. พระสมเดจ็ กบั การลงรกั ปิ ดทอง พระสมเดจ็ วดั ระฆงั บางองค์มีการลงรักปิ ดทองไว้ แลว้ ใน ภายหลงั ได้ถกู ลา้ งออก ซ่ึงกท็ าํ ให้สามารถดูเน้ือพระไดง้ ่ายข้ึน ๑๓. คราบสีขาวบนองค์พระมกั จะพบในพระสมเดจ็ วดั ระฆงั น้นั มี ๒ นยั นยั แรกเกดิ จากแป้งโรย พิมพ์พระ ในตอนสร้าง (สนั นิษฐานวา่ ใชแ้ ป้งขาวเจา้ ผสมปูนขาว) นยั ที่สองเกดิ จากเช้ือราบางชนิด ซ่ึงเกดิ ข้ึนเนื่อง มาจากการเกา่ เกบ็ ไวเ้ ป็ นเวลานานซ่ึงไม่มีผลทาํ ให้ผิวพระเสียแต่อยา่ งใด ซ่ึงถา้ ใชน้ ิ้ว ถอู อกคราบสีขาว กจ็ ะหายไปและจะไมม่ ีผงฝ่ ุนสีขาวติดนิ้วเลย แต่ไมค่ วรถอู อกเพราะคราบสีขาว เป็นการแสดงความเกา่ ความมีอายอุ นั ยาวนานขององค์พระ ๑๔. รอยปริแยกแตกบนผิวพระสมเดจ็ วดั ระฆงั สนั นิษฐานวา่ เกดิ จากการยบุ ตวั หดตวั ของเน้ือพระ เนื่องจาก ความช้ืนและอุณหภมู ิในอากาศเปล่ยี นแปลง แต่ถา้ เน้ือพระมสี ่วนผสมน้าํ มนั ตงั อิ้วท่ี เหมาะสมเป็ นตวั ประสานเน้ือพระกจ็ ะไม่พบลอยปริแตกบนผิว ๑๕. กลิ่นหอมในเน้ือพระสมเดจ็ วดั ระฆงั สนั นิษฐานว่าเกดิ จากการที่ส่วนผสมมวลสารในเน้ือพระ มดี อกไมแ้ ละ เกสรหลายชนิดรวมกนั รวมท้งั น้าํ มนั จนั ทนด์ ว้ ย จึงทาํ ใหพ้ ระสมเด็จมีกลิ่นหอม ๑๖. รอยแตกลายงาบนผวิ พระสมเด็จวดั ระฆงั เกดิ จากการแห้งและหดตวั ของผวิ เน้ือพระช้นั นอกเร็ว กว่า เน้ือพระช้นั ใน พบไดใ้ นองค์พระที่มีผิวระเอียดหนึกนุ่ม

และไดม้ ีการกลา่ วถึง มวลสารของเน้ือพระสมเด็จ จะตอ้ งมีรายละเอียดดงั น้ีคือ ๑. ดินสอมหาชยั ใชเ้ ขียนลงเป็นผง วิเศษ ๕ ประการ อนั ไดแ้ ก่ - ผงพระพุทธคุณ - ผงปัตถะมงั - ผง ตรีนิสิงเห - ผงมหาราช - ผงอทิ ธิ ดินสอมหาชยั เป็นผงดินสออาถรรพณ์ทาํ จากดินขาวอนั บริสุทธ์ิ ผสมดว้ ย น้าํ ค้นั ใบตาํ ลงึ ยอดสวาท ยอดกาหลง ยอดรกั ซอ้ น ดินโป่ ง ไคลเสมา ยอดชยั พฤกษ์ ยอด ราชพฤกษ์ ยอดมะลจิ ากขา้ วในยาตร ท้งั หมดเป็ นมวลสารพระพทุ ธคุณ และไดถ้ อื หลกั การคุลเี น้ือ พระจากตาํ รับไสยเวทย์ และเพทางคศาสตร์ ๒. ขา้ วหอมจากบาตร บรรจุในชามเบญจรงค์ อนั เป็นของท่ีเจา้ พระคุณสมเด็จฯ เกบ็ รกั ษา

โดยเฉพาะ ๓. กลว้ ยน้าํ ไท ผสมยางมะตูมท้งั สองสิ่งน้ีเกบ็ รักษาไวใ้ นขนั สมั ฤทธ์ิ ไม่บูด ไมเ่ สีย ๔. เกสรบวั สตั ตบงกช พรอ้ มท้งั เกสรดอกไม่ป่ าจากเมืองสุโขทยั เมืองกาํ แพงเพชร เป็นเกสรท่ีเจา้ คุณ สมเดจ็ ฯ ไดร้ วบรวมไวถ้ งึ ๑๐๘ ชนิด ๕. เปลือกหอย ขาวบริสุทธ์ิ นาํ มาป่ นจนละเอยี ดแลว้ ผา่ นกรรมวธิ ีจนกลายเป็ นปูนเปลือกหอย มวล สาร ชนิดน้ีเม่อื ปลุกเสกและอบดว้ ยพระเวทยม์ นตราอาถรรพณ์แลว้ จะเกดิ ทรายทองข้ึนเองดว้ ย วิทยาคม ของเจา้ พระคุณสมเด็จฯ ๖. น้าํ มนั ต้งั อิว๊ เป็นตวั ประสานมวลสารท่ีใช้ในการสรา้ งพระใหย้ ดึ รวมกนั อยา่ งเหนียว ท้งั กระทาํ ให้เน้ือพร ชุ่มช่ืนอีกดว้ ย ๗. วสั ดุอน่ื ๆ ที่กลา่ วไวแ้ ลว้ ในหวั ขอ้ มวลสารที่มองเห็นดว้ ยตาเปลา่ ขา้ งตน้ น้ี ฯลฯ

การวเิ คราะห์ถึงปฏิกริ ิยาจากผงวเิ ศษห้าประการ มลี กั ษณะเช่นไร

พระสมเดจ็ อนั เกดิ จากผงวิเศษห้าประการ ของเจา้ พระคุณสมเด็จฯ เป็นสิ่งท่ีเกดิ จากปูน เปลือกหอยเป็ นหลกั แต่ประชาชน เรียกกนั วา่ "พระผง" เมอื่ พิจารณาดว้ ยสายตาโดยใชเ้ ลนส์ขยาย จะแลเห็นบนพระมีจุดเล็กๆ เรียกวา่ รูพรุนปลาย เข็มเกดิ เป็ นหมๆู่ ประปรายอยู่ ทวั่ บริเวณ ผิวของ องคพ์ ระ รวมท้งั แผน่ พ้ืนฐานดว้ ย

รอยปูไต่ มีลกั ษณะ บุ๋มลึกลงไปรอยน้ีมกั เกดิ เป็นคู่ๆเรียงกนั ไปเป็ นทางคลา้ ยรอบปู จึงเรียก กนั วา่ "รอยปูไต่" รอยน้ีเกดิ ข้ึนประปรายทวั่ แผน่ พ้ืนฐานขององคพ์ ระ

รอยหนอนด้น บนผิวขององค์พระ เม่อื ใช่เลนส์ขยายกาํ ลงั ๑๐ เท่า ส่องจะเห็นรอยโคง้ เล็กๆ คลา้ ลายตวั หนอนขาดเล็กมากปรากฏอยู่ รอยน้ีไมป่ รากฏในพระแบบอนื่ นอกจากพระของเจา้ พระคุณสมเดจ็ ฯ เท่าน้นั ผูศ้ กึ ษาพึงพจิ ารณาให้ละเอียด บ่อน้าํ และลาํ ธาร เกดิ บนผิวพ้ืนฐานของ องคพ์ ระอยโู่ ดยทวั่ ไป สมมติวา่ เราข้ึนไปอยบู่ นที่สูงๆ แลว้ ใช่กลอ้ งส่องดูดาวที่มีกาํ ลงั ขยายมากๆ ส่องดูดวงจนั ทร์ เราจะแลเห็นบนพ้ืนผิวดวงจนั ทร์ปรากฏเป็ น หลุมเป็นบ่อ หุบ เหว ภูเขา และสาย ลาํ ธาร ซ่ึงขอเรียกว่า"ผวิ พระจนั ทร์" อนั เป็นสญั ลกั ษณ์ที่เกดิ ในองค์ พระสมเดจ็ โดยเฉพาะ ท้งั หมด น้ีคือสิ่งท่ีปรากฏอนั เป็นความงดงามขององคพ์ ระสมเด็จ ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ จะมีผโู้ ชคดี ไดเ้ ป็น เจา้ ของพระสมเด็จ เมื่อใชเ้ ลนสข์ ยายดูเน้ือพระ เขาจะเฝ้าดูแลว้ ดูเลา่ อยา่ งไม่รูสึกเบ่ือหน่าย ในความ งามอนั น่าอศั จรรยข์ องพระผงวิเศษของเจา้ พระคุณสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต) พรหมรงั สี ซ่ึง สามารถแลเห็นมวลสารเกสรเป็นจุดรูปต่างๆกนั มีสีสนั แปลกๆเช่น สีแดง สีฟ้า สีเหลือง สีเขียว สี เทา สีน้าํ ตาล ฯลฯ มวลสารเกสรน้ีช่อนตวั ของมนั อยูเ่ งียบๆ ตอ้ งใชเ้ วลาในการดูนานจึงจะปรากฎ ใหเ้ ห็น

ความหมายอย่างมเี หตุผลของมวลสารซ่ึงมสี ่วนผสมในเนื้อสมเดจ็ ท่ีมคี ุณวเิ ศษในตวั เองดงั น้ี ๑. ผงวเิ ศษ ในการทาํ พระสมเด็จของเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ มี ๕ ชนิด ๑.๑ ผงพุทธคุณ มีพลางนุภาพทาง แคลว้ คลาด และ เมตตามหานิยม ๑.๒ ผงปัตถะมงั มีพลางนุภาพทาง คงกระพนั ชาตรี ๑.๓ ผงตรีนิสิงเห มีพลางนุภาพทาง มหาเสน่ห์ ๑.๔ พงมหาราช มีพลางนุภาพทาง มหาอาํ นาจทวั่ ไป ๑.๕ ผงอิทธิเจ มพี ลานุภาพทาง เมตตามหานิยม ๒. ไม้มงคล

๒.๑ ดอกสวาท มคี ุณทาง มหานิยม คนรักทวั่ ไป ๒.๒ ดอกกาหลง มีคุณทาง ใครเห็นใครชอบ ๒.๓ ดอกรักซอ้ น มคี ุณทาง มหาเสน่ห์ ๒.๔ ดอกกาฝากรกั มคี ุณทาง เมตตามหานิยม ๒.๕ ดอกชยั พฤกษ์ และดอกราชพฤกษ์ มคี ุณทาง มหาอาํ นาจ และ แคลว้ คลาดภยั ท้งั ปวง ๒.๖ ดอกวา่ นางคุม้ และ ดอกว่าน มีคุณทาง คุม้ กนั อนั ตรายแกค่ นทวั่ ไป ๒.๗ ดอกวา่ นเสน่ห์จนั ทน์ขาว จนั ทนแ์ ดง จนั ทน์ดาํ มีคุณทาง มหาเสน่ห์ และ คลาดแคลว้ ๒.๘ ดอกวา่ นนางกวกั มคี ุณทาง มหานิยมแกค่ นทวั่ ไป ๒.๙ ว่านพระพทุ ธเจา้ หลวง มีคุณทาง คงกระพนั ชาตรี มหาอาํ นาจ ๒.๑๐ ใบพลูร่วมใจ มีคุณทาง มหานิยมแกค่ นทวั่ ไป ๒.๑๑ ใบพลสู องทาง มีคุณทาง กนั การกระทาํ และอนั ตรายคลาดแคลว้ ๒.๑๒ ผงเกสรบวั ท้งั ๕ และเกสรดอกไม๑้ ๐๘ มคี ุณทาง มหาเสน่ห์ และแคลว้ คลาด ๓. ดนิ อาถรรพณ์

๓.๑ ดิน ๗ โป่ ง ที่เสือลงมากนิ มคี ุณทางมหาอาํ นาจ ใครเห็นใครกลวั เกรงทวั่ ไป ๓.๒ ดิน ๗ ป่ า มคี ุณทางเมตตามหานิยม ๓.๓ ดิน ๗ ท่า มคี ุณทางคลาดแคลว้ ๓.๔ ดิน ๗ สระในวดั มีคุณทางเมตตามหานิยมของคนทวั่ ไป ๓.๕ ดินหลกั เมือง มคี ุณค่าทางมหาเสน่ห์แกต่ วั เอง ๓.๖ ดินตะไคร่เจดีย์ มคี ุณทาง กนั ภตู ผีปี ศาจ และกนั เสนียดจญั ไร ๓.๗ ดินตะไคร่รอบโบสถ์ มีคุณทาง ป้องกนั อนั ตรายทวั่ ไป ๓.๘ ดินตะไคร่ใบเสมา มีคุณทางมหานิยม เมตตา และแคลว้ คลาด ๓.๙ ดินสอขาว หรือ ดินขาว (ดินสอพอง) สาํ หรับเขียนยนั ต์ตามสูตรพระเวท มคี ุณทางแก ้ อาถรรพณ์ ๓.๑๐ ดินกระแจะปรุงดว้ ยของหอม มีคุณทาง เมตตามหานิยม

๔. ผงดาํ คือ แมพ่ ิมพพ์ ระท่ีแตกหักชาํ รุด นาํ มาเผาเป็นถ่าน แลว้ นาํ มาบดผสม ผงถ่านใบลาน (คือ

ใบลานและคมั ภีร์เกา่ ๆ นาํ มาเผาจนเป็นถ่าน) แลว้ นาํ มาผสมกนั เป็นผงดาํ มีคุณทางคงกระพนั ชาตรี และแคลว้ คลาด ๕. ตะไบพระกริ่ง มที ้งั เน้ือเงิน และเน้ือทองเหลือง มคี ุณค่าทาง คงกระพนั ชาตรี ๖. ตะไบเงินตะไบทอง มคี ุณทาง ร่ํารวย โชคลาภ ๗. พระธาตุท้งั ๕ ชนิด มคี ุณทาง การมีสิริมงคล โชคลาภ ๘. จุดแดง เกสรดอกไม้ ๑๐๘ มคี ุณทางมหาเสน่ห์ มหานิยม ๙. เศษพระกาํ แพงหัก (อิฐกาํ แพง) มีคุณทาง คงกระพนั ชาตรี โชคลาภ เงินทองไหลมาเทมา ขนาดขององค์พระซุ้มครอบแก้วท่ีสามารถหามาไดโ้ ดยวดั ขนาดจากองค์ที่มีอยจู่ ริง พมิ พ์ ขนาดองคพ์ ระซุ้มครอบแกว้ (กวา้ ง x สูง x หนา) ๑. พิมพป์ ระธาน (ไม่มีขอ้ มูล) ๒. พิมพใ์ หญ่ ( พิมพช์ ายจีวร บาง, หนา, เสน้ ลวด) (๒.๒-๒.๕ ชม x ๓.๔-๓.๗ ชม x ๔-๖ มม) ๓. พิมพอ์ กร่อง หู ยาน ฐานแซม (๒.๐-๒.๒ ชม x ๓.๔-๓.๕ ชม x ๓-๔ มม) ๔. พมิ พเ์ กศบวั ตูม (๒.๑-๒.๒ ชม x ๓.๔-๓.๖ ชม x ๔-๕ มม) ๕. พมิ พป์ รกโพธ์ิ (๒.๒-๒.๔ ชม x ๓.๔-๓.๘ ชม x ๔-๕ มม) ๖. พมิ พ์

ฐานคู่ (ไม่มีขอ้ มูล) ๗. พิมพ์เส้นดา้ ย (ไม่มีขอ้ มูล) ๘. พิมพส์ งั ฆาฏิ (ไม่มขี อ้ มูล) ๙. พมิ พ์หนา้ โหนก อกครุฑ (ไม่มขี อ้ มูล) ๑๐. พิมพท์ รงเจดีย์ (๒.๒-๒.๔ ชม x ๓.๒-๓.๔ ชม x ๔-๖ มม)

นอกจากท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯจะไดส้ รา้ งปูชณียวตั ถุดงั กล่าวแลว้ มีเรื่องเล่าว่า คร้งั เม่ือ ท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯข้ึนไปเยยี่ มญาติท่ีจงั หวดั กาํ แพงเพชร ซ่ึงเป็ นเมืองหนา้ ด่านทางทิศใตข้ อง กรุงสุโขทยั และเป็นเมอื งที่ร่าํ รวยดว้ ยโบราณวตั ถทุ างพุทธศาสนาแลว้ ยงั เป็นอกี เมืองหน่ึงที่มพี ระ

เคร่ืองซ่ึงงดงามไปดว้ ยพทุ ธศิลปะอนั บริสุทธ์ิของชาวไทยเราอีกดว้ ยและโดยเฉพาะท่ีท่านเจา้

ประคุณสมเดจ็ ฯ ท่านมคี วามรู้และแตกฉานทางอกั ษรโบราณ ท่านจึงสามารถอา่ นศิลาจารึกท่ีว่าดว้ ย

กรรมวิธีการสรา้ งพระเคร่ือง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การสร้างพระพมิ พด์ ว้ ยเน้ือผงขาว ซ่ึงต่อมาเรียกกนั ว่า เน้ือพระสมเดจ็ โดยมีเน้ือหลกั เป็ นปูนขาว (ปูนหิน) หรือปูนเปลอื กหอย ผสมผสานดว้ ยวตั ถุ มงคลอาถรรพณ์อืน่ ๆ และมีผงวิเศษซ่ึงสาํ เร็จจากการลบสูตรสนธ์ิจากคมั ภรี ์ทางพทุ ธาคม

เม่ือนาํ เอามาบดตาํ กรองจนดีแลว้ จึงนาํ เอาวตั ถุมงคลและอาถรรพต์ ่างๆเหลา่ น้ันมาผสมผสานกบั ดินสอพอง (ดินขาว) แลว้ ป้ันเป็นแท่งตากใหแ้ หง้ แลว้ จึงนาํ เอามาเขียนอกั ขระเลขยนั ต์ตามคมั ภรี ์ บงั คบั บนกระดานโหราศาสตร์ซ่ึงทาํ จากตน้ มะละกอ เสร็จแลว้ จึงลบเอาผงมาสรา้ งเป็นพระสมเด็จ

ท่ีเรียกว่าผงวิเศษหรือผงพทุ ธคุณนนั่ เอง นอกจากน้ันแลว้ ยงั สนั นิษฐานกนั ว่า ท่านยงั เอาขา้ วกน้ บาตรและอาหารหวานคาวท่ีทา่ น ฉันอย่ถู า้ คาํ ไหนอร่อยท่านจะไมฉ่ ัน จะคายออกมาแลว้ ตากใหแ้ ห้งเพ่อื นาํ ไปบดตาํ สร้างพระสมเด็จ

ของท่าน ซ่ึงถกู ต้องตามวิธีการสรา้ งพระอาหารของชาวรามญั

ส่วนตวั ประสานหรือตวั ยดึ เกาะน้นั ที่เราทราบๆกนั อย่างเด่นชดั กค็ ือ น้ํามนั ตังอิ๊ว น้ําออ้ ย น้าํ ผ้ึง กลว้ ย และที่สําคัญอีกประการหน่ึงกค็ ือ เยื่อกระดาษ ไดจ้ ากการที่เอากระดาษฟางหรือ กระดาษสามาแช่น้าํ ขา้ มวนั ขา้ มคืน จนกระดาษละลายเป็ นเมือกดีแลว้ จึงนําเอามากรองเพื่อเอาเย่อื กระดาษมาผสมผสานบดตําลงไป เช่ือกนั ว่าตวั เยือ่ กระดาษน้ีเป็ นตัวหน่ึงที่ทําให้พระสมเด็จวัด ระฆงั โฆสิตารามมคี วามหนึกนุ่ม เน้ือจึงไม่แหง้ และกระดา้ ง และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนผสมที่เป็ น ประเภทพืช เช่น ขา้ ว อาหาร กลว้ ย ออ้ ย เป็นตน้ กม็ ีส่วนที่ทาํ ให้เน้ือพระมีความหนึกนุ่มอีกเช่นกนั

สาํ หรบั ในดา้ นแม่พมิ พพ์ ระสมเด็จวดั ระฆงั โฆสิตารามน้ัน ถา้ ไดพ้ ิจารณากนั อยา่ งถ่องแท้ แลว้ จกั เป็ นรูปแบบท่ีเรียบง่าย คือเค้าโครงภายนอกเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผา้ ทรงเลขาคณิต เป็ นการ ออกแบบที่ทวนกระแสความคิดสร้างสรรค์ของคนโบราณอย่างสิ้นเชิง อาจจะพูดไดว้ ่าเป็ นการ ออกแบบที่เป็นศิลปะของตนเองอย่างบริสุทธ์ิ หาได้อยู่ภายใตข้ องศิลปะพระเคร่ืองสกุลอ่ืนใดไม่ ท้งั ๆที่การสร้างพระพิมพห์ รือพระเคร่ืองไดม้ มี าแต่คร้ังสมยั คนั ธารราษฎร์ (อนิ เดีย) มากกว่า ๒,๐๐๐ ปี ล่วงมาแลว้ ในดา้ นองคพ์ ระคงจะไดแ้ นวคิดและแบบอย่างมาจากพระประธานในพระอุโบสถ ซ่ึง ส่วนมากจกั ประดิษฐานอยบู่ นฐานชุกชี เฉพาะซุม้ เรือนแกว้ น้นั คงจกั ไดแ้ นวคิดมาจากครอบแกว้ ซ่ึง เพ่ิงจะมีครอบแกว้ ครอบพระบูชาประจําวดั ประจําบา้ น เพ่ือเป็ นการอนุรักษไ์ ม่ให้ผิวทองหมอง ปร ะก า รห น่ึ ง แ ล ะเ พื่ อเ ป็ นก า ร ป้ อง ก นั ฝ่ ุ นล ะ ออ ง ที่ มี ค ล ะ ค ลุ้ง ใน อา ก า ศ อี กด้ว ย เป็นที่เช่ือกนั วา่ ผูท้ ี่แกะแมพ่ มิ พถ์ วายท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯน้นั น่าจะเป็นฝีมอื ช่างสิบหม่หู รือฝีมอื ช่างหลวงนนั่ เอง

พระสมเดจ็ วดั ระฆงั โฆสิตารามในท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯน้ัน เป็ นเป็ นพระท่ีสร้างแบบ ค่อยเป็นค่อยไป ตามแต่โอกาสและเวลาจะอาํ นวย หาได้สร้างเป็ นคร้ังเดียวไม่ ท่ีเชื่ออยา่ งน้ีเพราะ พระแต่ละพมิ พข์ องท่าน เน้ือหา ตลอดจนมวลสารน้นั มอี อ่ นแกก่ ว่ากนั ละเอียดบา้ ง หยาบบา้ ง สีสนั วรรณะกเ็ป็น เช่น เดียวกนั ท้งั สิ้น เมอ่ื ท่านสร้างพระแต่ละพิมพแ์ ต่ละคราวเสร็จแลว้ ท่านจะบรรจุลง ในบาตร นอกจากท่านจะบริกรรมปลุกเสกดว้ ยตวั ท่านจงดีแลว้ ยงั นิมนต์ให้พระเณรปลุกเสกอีก ดว้ ย เมื่อท่านออกไปบิณฑบาตท่านกจ็ ะเอาติดตวั ไป ญาติโยมท่ีใส่บาตรท่าน ท่านจะแจกพระให้คน ละองค์ และมกั จะพดู วา่ เกบ็ เอาไวใ้ หด้ ีนะจ๊ะ ต่อไปจะหายาก โดยไม่บรรยายสรรพคุณให้ทราบแต่ อยา่ งใด แต่กเ็ป็นที่ทราบกนั อยูใ่ นยุคสมยั น้ันแลว้ ว่า พระสมเด็จวดั ระฆงั โฆสิตาราม ของท่านเจ้า ประคุณสมเด็จฯ โด่งดงั ทางโภคทรพั ยแ์ ละเมตตามหานิยม

แนวทางการสร้างพระสมเดจ็ วัดระฆงั โฆสิตาราม

เป็นที่ค่อนขา้ งจะเช่ือไดว้ ่าเจา้ ประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต ท่านสรา้ งสมเดจ็ วดั ระฆงั

ของท่านไปเรื่อยๆจนท่านอาจจะมกี ารดูฤกษเ์ ป็นกรณีพิเศษ แลว้ ท่านกส็ ร้างข้ึนมาท่านมีกาํ หนดว่า จะสร้างกอ่ี งค์ ท่านกส็ ร้างข้ึนมา แต่มั่นใจว่าท่านไม่ได้สร้างคร้ังละมากๆเพื่อแจกไว้นานๆ วนั ไหนที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯกาํ หนดจะสร้างพระ ท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯกจ็ ะเอาปูนเอา ส่วนผสมต่างๆมาตาํ ไดเ้ น้ือพระสมเด็จมากอ้ นหน่ึง แลว้ ป้ันเป็ นแท่งสี่เหลียม ตัดออกเป็ นช้ินๆ ใน สมยั กอ่ นเรียกว่า ช้ินฟัก แลว้ นาํ เน้ือสมเด็จช้ินฟักวางลงท่ีแม่พิมพ์ ซ่ึงแกะจากหินชนวนกดเน้ือพระ กบั แม่พิมพ์ให้แน่นนําเอาไมแ้ ผ่นมาวางทับด้านหลังของพระสมเด็จวดั ระฆัง แลว้ ใช้ไมห้ รือ ของแขง็ เคาะท่ีไมด้ า้ นหลงั เพื่อไลฟ่ องอากาศและกดให้เน้ือพระสมเด็จแน่นพิมพ์ จึงจะเอาไมแ้ ผ่น ดา้ นหลงั ออกจึงปรากฏรอยกระดานบา้ ง รอยกาบหมากบ้างบนดา้ นหลงั ขององค์สมเด็จวดั ระฆงั กลายเป็นจุดสาํ คญั และเป็นหวั ใจของการดูพระสมเด็จวดั ระฆงั โฆสิตาราม

เมือ่ ท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯไดก้ ดพระบนพิมพ์เรียบร้อยแลว้ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯกจ็ ะ ตดั ขอบพระเป็นรูปสี่เหลีย่ ม โดยใชต้ อกตดั ตอกไมไ้ ผท่ ่ีใชจ้ กั สานท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯไม่ใชม้ ีด เพราะเป็ นพระไม่ควรใชข้ องมีคม วิธีตัดตอกน้ันตดั จากด้านหลงั ไปด้านหน้าโดยเข้าใจว่าใน แม่พิมพพ์ ระสมเด็จท่ีเป็ นหินชนวนน้ัน จะบากเป็ นร่องไวส้ าํ หรับนําร่องการตดั ตอกเพราะพระ สมเดจ็ วดั ระฆงั บางองค์ท่ีขอบมีเน้ือเกนิ จะเห็นเสน้ นูนของร่องไวใ้ ห้สงั เกต การตัดตอกพระสมเด็จ วดั ระฆงั จากดา้ นหลงั ไปดา้ นหนา้ จึงเกดิ ร่องรอยปรากฏท่ีดา้ นขา้ งขององคพ์ ระและรอยปริแตกของ องค์พระดา้ นหลงั ที่ลู่ไปตามรอยตอกท่ีลากลงร่องรอยต่างๆเมื่อผา่ นอายรุ ้อยกว่าปี มาแลว้ การหดตัว ขององคพ์ ระสมเด็จฯ การแยกตวั ของการปริแตกตามรอยตดั กลายเป็ นตาํ นานการดูพระสมเด็จวดั ระฆงั ที่สาํ คญั ที่สุด

เม่ือท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯไดก้ ดพิมพส์ ร้างพระสมเด็จฯจนหมดเน้ือแลว้ กค็ งหยดุ คงไมไ่ ดส้ ร้าง คร้ังละมากๆ เจา้ ประคุณสมเดจ็ พระพุฒาจารย์ โต นาํ มาสร้างพระสมเด็จวดั ระฆงั แน่นอนท่ีสุด

อนั ดบั แรก ประกอบดว้ ยปูนเปลือกหอย คือเอาเปลือกหอยมาเผาเป็ นปูนขาวในสมยั กอ่ นมี ปูนเปลอื กหอยมาก แต่ปัจจุบนั หาไม่ค่อยมแี ลว้

อันดบั สอง คือส่วนผสมของน้าํ มนั ตังอิ๊ว เพราะเคยเห็นมากบั ตาเวลาพระสมเด็จวดั ระฆงั ชาํ รุดหกั จะเห็นเป็นน้าํ มนั ตงั อิว๊ เยม้ิ อยขู่ า้ งในเน้ือพระเป็นจุดๆ

อนั ดบั ที่สาม มปี ูนอกี ชนิดหน่ึงเขาเรียกวา่ ปูนหิน มนี ้าํ หนักมากไม่ทราบว่าทาํ มาจากอะไร ท่านผอู้ ่านโปรดสงั เกตว่าตามโรงงิ้วพวกงิ้วจะเอาแป้งจากปูนหินสีขาวๆมาพอกหนา้ เป็ นพ้ืนแลว้ จะ ติดแน่น เอาเน้ือสามส่วนน้ีเป็ นหลกั มาผสมกนั ยงั มีมวลสารชนิดหน่ึงเป็ นเม็ดสีเทาๆมองเหมือน กอ้ นกรวดสีเทา แต่ไม่ใช่ เพราะเน้ือน่ิมเวลาเอามีดเฉือนจะเฉือนเขา้ ง่าย จึงไม่ทราบว่าเป็ นมวลสาร อะไรและเคยเจอผ้าแพรสีเหลืองเขา้ ใจว่าเป็ นผา้ แพรที่ถวายพระพุทธรูปแลว้ เวลาเกา่ หรือชาํ รุด

แทนท่ีจะนําผา้ แพรที่ห่มพระพุทธรูปมีผูค้ นกราบไหวม้ ากมายไปทิ้งท่านเจา้ ประคุณสมเด็จพระ พฒุ าจารย์ โต ไดน้ าํ ผา้ แพรตดั เป็นชิ้นเลก็ ๆ เอาดินสอลงอกั ขระเป็ นอกั ษรไว้ แลว้ ผสมในมวลสารท่ี สร้างพระสมเด็จวดั ระฆงั

ชิ้นส่วนท่ีสาํ คญั อีกอยา่ งหน่ึงคือ กา้ นธูปบูชาพระ สนั นิษฐานว่าท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯ คง นาํ เอาสิ่งของที่บูชาพระท้ังหมดเมื่อกราบไหวบ้ ูชาพระ แลว้ กไ็ ม่ท้ิงนํามาตัดหรือป่ นกบั เน้ือที่จะ สร้างสมเด็จวดั ระฆงั จะเห็นเป็ นเศษไมล้ ักษณะกา้ นธูปผสมอยู่ในเน้ือพระสมเด็จวดั ระฆงั กลายเป็นเอกลกั ษณ์อนั สาํ คญั ยงิ่ ถา้ มีเศษธูปแลว้ ตอ้ งเป็นสมเด็จวดั ระฆงั

วสั ดุอกี สิ่งหน่ึงที่สาํ คญั มากคือมเี มด็ แดงเหมือนอิฐผสมอย่ใู นเน้ือของพระสมเด็จวดั ระฆงั เมด็ แดงน้ีขอยนื ยนั ไดเ้ ลยวา่ เป็นเศษเน้ือพระซุม้ กอตําให้ละเอียดแลว้ ผสมไวก้ บั มวลสารที่จะสร้าง พระสมเด็จวดั ระฆงั

เอกลกั ษณ์อนั สาํ คญั ที่สุดคือเมด็ เลก็ ๆมีผสมค่อนขา้ งมาก สีขาวออกเหลือง ซ่ึงคนส่วนใหญ่ เรียกว่า เมด็ พระธาตุ แต่คงไม่ใช่เม็ดพระธาตุเพราะถา้ เป็ นเม็ดพระธาตุคงต้องใช้จาํ นวนมหาศาล เพราะพระสมเด็จวดั ระฆงั ทุกองค์จะมีเม็ดพระธาตุมาก จะไปเอาพระธาตุมาจากไหนมากมาย มหาศาล จุดเมด็ พระธาตุน้ีกลายเป็ นจุดสําคญั ของตาํ นานการดูพระสมเด็จวดั ระฆงั ท่ีสําคัญท่ีสุด สนั นิษฐานวา่ น่าจะเป็นปูนหินสีขาวๆเมอ่ื ผสมกบั น้าํ มนั ตงั อิ๊วจบั ตวั เป็ นกอ้ น เม่ือตําผสมกบั ปูนขาว เปลอื กหอยแลว้ ไม่กลนื กนั ภายหลงั แยกกนั เป็นเมด็ ๆในเน้ือของสมเดจ็ วดั ระฆงั

แต่บางคนกส็ นั นิษฐานไปว่าอาจจะเป็นปูนขาวท่ีป้ันพระบูชาตามโบสถ์ เสร็จแลว้ ทารักปิ ด ทองให้ พุทธศาสนิกชนกราบไหวบ้ ูชาเป็ นร้อยเป็ นพนั ปี บางคร้ังปูนขาวพองข้ึนชํารุดเสียหาย จึง ตอ้ งลอกเอาปูนขาวออกป้ันดว้ ยปูนขาวใหม่ให้พระสมบูรณ์ เพื่อยดื อายพุ ระพุทธรูปบูชาในโบสถ์ ให้มอี ายนุ บั พนั ปี ท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ พระพุฒาจารย์ โต เห็นเป็นวสั ดุบูชาท่ีไม่ควรจะท้ิง จึงนํามา ตาํ ผสมไวใ้ นมวลสารของพระสมเด็จวดั ระฆงั มาจนถึงปัจจุบนั อายขุ องพระสมเด็จวดั ระฆงั ร้อยกว่า ปี การหดตวั ของมวลสารเกดิ ข้ึน

วสั ดุที่ต่างกนั อายตุ ่างกนั จึงหดตวั ไม่เท่ากนั จึงเกดิ รอยแยกตวั ของรอบๆเมด็ พระธาตุอยา่ ง สมา่ํ เสมอ เป็นตาํ นานอนั สาํ คญั ท่ีสุดในการดูพระสมเดจ็ วดั ระฆงั แท้

ท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯ จะนาํ ดินสอพองมาเขียนเป็ นตวั อกั ขระบนกระดานชนวน เสร็จ แลว้ กล็ บออก และเขียนอกั ขระใหม่แลว้ กล็ บออกอีก นําเอาผงท่ีลบออกมาเกบ็ เอาไว้ คนรุ่นเกา่ รุ่น แกเ่รียกว่า ผงอิทธิเจ นาํ มาผสมในพระสมเด็จวดั ระฆงั

แนวทางการสร้างพระสมเดจ็ บางขนุ พรหม(วดั ใหม่อมตรส) เสมียนตราดว้ ง เป็ นผจู้ ดั สร้าง ท่านเป็นต้นสกุล ธนโกเศศ เป็นคหบดีผมู้ ง่ั คง่ั ยา่ นบางขนุ พรหม ท่านไดป้ วารณาตวั เป็นโยมอปุ ัฏฐากและรบั ใชใ้ กลช้ ิดในท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ พระองค์ น้นั อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลายตลอดมาทุกยคุ ทุกสมยั สมเดจ็ พระพุฒาจารยโ์ ต พรหมรังสี ไดจ้ ดั สรา้ ง

พระมหาเจดียอ์ งค์ใหญป่ ระดิษฐานไวท้ ่ีหนา้ วดั บางขนุ พรหมเป็นพิเศษอีกดว้ ย เม่ือดาํ เนินการสร้าง พระมหาเจดียเ์ สร็จเรียบร้อยแลว้ ท่านเสมียนตราดว้ งพรอ้ มกบั ท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯ ไดจ้ ดั สร้าง พระพิมพเ์ น้ือผงสีขาวอยา่ งพระสมเด็จวดั ระฆงั มีจาํ นวนมากถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ บรรจุไวใ้ นพระมหา เจดียเ์ พื่อเป็ นพุทธบูชาและการสืบพระศาสนาตามคดีโบราณนิยมอกี ดว้ ย

อน่ึงการสร้างพระสมเด็จบรรจุพระมหาเจดียท์ ่ีวดั บางขุนพรหมน้นั ไดร้ ับความอนุเคราะห์ จากท่านเจา้ ประคุณสมเด็จฯ โดยใหใ้ ชแ้ ม่พิมพ์สมเด็จวดั ระฆงั โฆสิตารามของท่านที่เคยใชใ้ นการ สรา้ งพระสมเดจ็ วดั ระฆงั คือ พระสมเดจ็ พิมพใ์ หญ่ พระสมเด็จพิมพท์ รงเจดีย์ พระสมเดจ็ พมิ พเ์ กศ บวั ตูม พระสมเด็จพิมพฐ์ านแซม นอกจากพิมพพ์ ระสมเด็จวดั ระฆงั

ดงั กลา่ วแลว้ น้นั ทางคณะทา่ นผสู้ ร้างพระสมเดจ็ วดั บางขนุ พรหมยงั ไดใ้ ห้นายช่างผแู้ กะ แมพ่ ิมพว์ ดั ระฆงั เจา้ เดิม แกะแม่พิมพ์พระสมเด็จท้งั ๔ พิมพ์ ดงั กล่าวแลว้ เพิ่มเติมข้ึนมาอกี และยง่ิ ไปกว่าน้นั ยงั ใหแ้ กะแม่พิมพพ์ ระสมเด็จวดั บางขนุ พรหมข้ึนมาในรูปทรงใหม่อีก ๗ พิมพค์ ือพระ สมเดจ็ พิมพ์เส้นดา้ ย พระสมเด็จพิมพส์ งั ฆาฏิ พระสมเดจ็ พิมพส์ งั ฆาฏิ หูชา้ ง พระสมเด็จพมิ พฐ์ านคู่ พระสมเด็จพมิ พป์ รกโพธ์ิ พระสมเดจ็ พิมพอ์ กครุฑ และ พระสมเดจ็ พิมพไ์ สยาสน์ รวมในกรุวดั บาง ขุนพรหมมีพระท้งั สิ้น ๑๑ พิมพด์ ว้ ยกนั กจ็ ริงและแต่ละพิมพท์ รงยงั มแี ม่พมิ พท์ ่ีแตกต่างกนั ออกไป อกี มาก อยา่ งเช่น พระสมเดจ็ พมิ พเ์ สน้ ดา้ ย มีแม่พิมพท์ ่ีต่างพิมพก์ นั ไปอกี หลายพิมพ์ ตวั อยา่ งเช่น พระสมเดจ็ พิมพเ์ สน้ ดา้ ยใหญ่ พระสมเด็จพิมพเ์ สน้ ดา้ ยแขนกลม พระสมเด็จพิมพเ์ สน้ ดา้ ยแขนหกั ศอก เป็นตน้

เม่ือไดพ้ จิ ารณาถงึ การสร้างพระสมเดจ็ บางขุนพรหมแลว้ ท่านจะเห็นวา่ การสรา้ งพระ สมเดจ็ ในคร้งั น้ีน้นั ไม่เหมือนกบั การสร้างพระสมเดจ็ วดั ระฆงั ที่อยู่ในลกั ษณะที่ค่อยทาํ ค่อยไปไม่ รีบเร่ง รวบรวมผงวิเศษวสั ดุอาถรรพณ์และวตั ถุมงคลไดแ้ ค่ไหนกท็ าํ ไปแค่น้ัน มวลสารในพระ สมเด็จวดั ระฆงั จึงหลากหลายและมคี วามแตกต่างกนั ไปบา้ งเป็นธรรมดา เพราะการผสมมวลสาร ต่างกรรมต่างวาระกนั ผดิ กบั การสรา้ งพระสมเดจ็ ท่ีวดั บางขนุ พรหม เขา้ ใจวา่ คงจะระดมชาวบา้ น ชาวช่องมาช่วยกนั สร้างกนั เป็ นงานใหญ่คร้ังมโหฬารให้สาํ เร็จกนั เลยทีเดียว มวลสารของสมเดจ็ กรุ บางขนุ พรหมส่วนมากจึงเป็นไปในลกั ษณะอยา่ งเดียวกนั คือเน้ือจะแกป่ ูนหอย หรือปูนเพชร ผสมผสานดว้ ยผงวเิ ศษซ่ึงสาํ เร็จจากสูตรสนธิอนั เป็นอกั ขระเลขยนั ตต์ ามตาํ ราบงั คบั เช่น ผงปถมงั อทิ ธิเจมหาราช ตรีนิสิงเห และผงนะอกั ขระวิเศษต่างๆ อนั มีนะ ๑๐๘ เป็ นตน้

เน้ือหาจึงดูกระดา้ งไม่หนึกนุ่มและอดุ มไปดว้ ยมวลสารอนั มีวสั ดุมงคลและอาถรรพณ์อย่าง กบั พระสมเดจ็ วดั ระฆงั หรือจะพูดโดยสรุปกค็ ือมวลสารจะหนกั ไปทางผงปูนหอยเมื่อไดส้ ร้างพระ สมเด็จบางขุนพรหม และการปลกุ เสกจากท่านเจา้ ประคุณสมเดจ็ ฯ เสร็จเรียบร้อยแลว้ จึงไดท้ าํ การ บรรจุในเจดียอ์ งค์ใหญ่ท่ีวดั บางขนุ พรหม

จากผลงานการวจิ ยั ของ นายสุขกมล วงศ์สวรรค์ ระดับปริญญาโท เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ สาขาโบราณคดีสมยั ประวตั ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปกร ผเู้ ขียนตอ้ งการ นาํ ผลงานวิจยั มาเกย่ี วโยง ใหเ้ ห็นว่า สมเดจ็ พระพฒุ าจารยโ์ ต พรหมรงั สี ถา้ หากได้ มีโอกาสเดินทางไปลพบุรี แวะหาอาจารย์ พระแสง ที่ วดั ชลมณีขนั ธ์ ยอ่ มเป็ นไปไดม้ ีโอกาสผ่านชุมชน ที่ผลิตหินปูนเปลือกหอย ซ่ึงเป็ น แหลง่ โบราณคดีวงั ไผ่อาํ เภอบา้ นหมี่ จงั หวดั ลพบุรี ท่านต้องนําปูนขาว ที่ทําจากเปลือกหอยจาก แหลง่ ดงั กล่าว มาเป็นมวลสารหลกั ในการสร้างพระสมเด็จฯ ผูเ้ ขียนจึงนาํ รายละเอียดผลงานวิจัยมา เผยแพร่ ดงั น้ี

“ผลการวจิ ยั พบวา่ ชุมชนโบราณในแหลง่ โบราณคดีวงั ไผ่ อาํ เภอบา้ นหมี่ จงั หวดั ลพบุรี ไดน้ าํ เปลอื กหอยน้าํ จืด ท้งั ฝาเดียวและสองฝา ประเภทหอยโข่ง และหอยกาบ มาเผาเป็นปูนขาว โดยเป็นการเผากลางแจง้ เตาเผาที่พบมลี กั ษณะเป็นเตาเผาแบบพ้ืนบา้ น หรือเตาเปิ ด ประกอบดว้ ย ลานดินเผาไฟช้นั เดียว ไม่พบช่องใส่ไฟ ถา่ น ข้ีเถา้ ปูนขาว และเปลือกหอย ซ่ึงมีข้นั ตอนการผลติ โดยนาํ เปลือกหอยขนาดต่างๆ มากองสุมไวบ้ นพ้ืนดินแลว้ นาํ เช้ือเพลงิ เช่น กงิ่ ไม้ หญา้ แห้งมากอง สุมบนเปลือกหอยแลว้ จุดไฟเผาดว้ ยอณุ หภูมปิ ระมาณ ๗๐๐ – ๙๐๐ องศาเซลเซียส

เมอื่ ถูกเผาแคลเซียมคาร์บอเนตที่อยใู่ นเปลือกหอย จะถูกเปลี่ยนเป็ นแคลเซียมออกไซด์ เรียกว่า quick lime หรือ ปูนดิบ มลี กั ษณะเป็นผงสีขาวหรือกอ้ นสีขาว เรียกว่าปูนขาวและจากขนาด และลกั ษณะของเตาเผาปูนที่พบอาจสนั นิษฐานไดว้ ่า ชุมชนโบราณในแหล่งโบราณคดีวงั ไผ่ มี เทคโนโลยใี นการผลติ ปูนขาวเพอ่ื ตอบสนองในชุมชนของตนเองในระดบั ครัวเรือน และผูผ้ ลิตคือ คนในชุมชนท่ีมคี วามรูเ้ ร่ืองการเลือกใชว้ ตั ถดุ ิบ และอณุ หภมู ใิ นการเผาเป็นอยา่ งดี

นอกจากน้นั ยงั กล่าวไดว้ ่ามีการนาํ เปลอื กหอยมาเผาเป็ นปูนขาวต้ังแต่สมยั ทวารวดี และ จากการนําตัวอย่างปูนขาวจากเปลือกหอยท่ีแหล่งโบราณคดีวงั ไผ่ และตวั อย่างปูนขาวจากการ สํารวจไปวิเคราะห์โดยใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ท้งั ๔ วิธีท่ีกล่าวมาขา้ งต้น พบว่าปูนขาวจาก เปลือกหอยและปูนขาวจากหินปูน มีสารประกอบทางเคมีท่ีไม่แตกต่างกนั แต่มีลกั ษณะทาง กายภาพท่ีแตกต่างกนั คือปูนขาวจากเปลือกหอยจะมีผลึกขนาดใหญ่ ผลึกมเี หลี่ยมมน แต่ปูนขาว จากหนิ ปูนจะมผี ลึกขนาดเลก็ และผลกึ มเี หลย่ี มมมุ ”

จาการศึกษาข้อมูล ของผูเ้ ขียนเอง ได้ทราบว่า ท่ีจังหวดั ลพบุรี ในอาํ เภอเมือง ที่ เรียกกนั วา่ หม่บู า้ นหินสองกอ้ น มชี ุมชน เกือบ ๒๐๐ ชุมชน เป็ นหมู่บ้านทําดนิ สอพอง (ริมคลอง ชลประทาน) ตําบลทะเลชุบศร อาํ เภอเมือง จังหวดั ลพบุรี โดยมีแหล่งดินสีขาว แห่งเดียวใน ประเทศไทย ที่ใชท้ าํ ดินสอพอง ซ่ึงถอื ว่า เป็นสถานที่ท่องเที่ยวชีวิตพ้ืนบ้าน ผูเ้ ขียนได้มีโอกาส คุย และ สอบถาม กบั คุณกมลรส ซอ้ นใย โทร. ๐-๓๖๖๔-๐๕๐๔ และไดใ้ ห้ข้อมูลว่า แหล่งโบราณคดี วงั ไผ่ อาํ เภอบา้ นหม่ี จงั หวดั ลพบุรี อยหู่ ่างจาก ชุมชนน้ีข้ึนไป ประมาณ ๓๐ กม. และ วดั มณีชล ขนั ธ์ กอ็ ยู่ ห่างจาก แหล่งทาํ ดินสอพอง ประมาณ ๓ กม. ชุมชนหมู่บ้านทาํ ดินสอพอง ไดม้ ีการทาํ

ดินสอพองต้งั แต่ สมยั กรุงศรีอยธุ ยา รัชสมยั ของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และ ทาํ ให้ ผูเ้ ขียน วิเคราะห์ ไดว้ า่ การที่ หลวงป่ ูโตแวะมาเยยี่ มอาจารยพ์ ระแสงแห่งวดั มณีชลขันธ์ ท่านต้องนํา ปูน ขาวที่ ทําจากเปลือกหอย และ ดินสอพองสีขาว จากท่ีน่ี เพ่ือเป็ นมวลสารหลกั ในการสร้าง พระ สมเดจ็ ฯ อยา่ งแน่นอน ซ่ึง ดินสอขาว หรือ ดินขาว (ดินสอพอง) ท่านใชส้ ําหรับเขียนยนั ต์ตามสูตร พระเวท มคี ุณทางแกอ้ าถรรพณ์

กรณีท่ี จากบทบนั ทึก มหาอาํ มาตยต์ รี พระยาทิพโกษา ( สอน โลหะนันทน์ ) ถึงการแวะ ไปไหวส้ กั การะ พระพุทธบาทของ หลวงป่ ูโต ดงั น้ี

“กลางวนั ไปกอ่ เทา้ พระวดั บางขนุ พรหม เจริญทิวาวหิ ารธรรมดว้ ย ดูช่างเขียนออกแบบกะ ส่วนให้ช่างเขียนๆ ประวตั ิของท่านข้ึน ท่ีผ่านมาแลว้ แต่ตน้ จนจบตลอด จนท่านนมสั การพระพุทธ บาท ต้งั แต่เป็นพระมหาโตมา จนเป็ นพระพุฒาจารย์ (โต) กย็ งั ข้ึนพระพุทธบาทตามฤดูเสมอ เมื่อ คร้ังทูลกระหม่อมพระ คือสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ยงั ทรงผนวชอยวู่ ดั ถมอราย (ราชาธิวาส) ยงั ทรงซกั ถามพระมหาโตวา่ ท่านเชื่อพระบาทลพบุรีเป็นของแทห้ รือ พระมหาโตทูลว่า เป็ นเจดียท์ ่ีน่า ประหลาด เป็นท่ีไม่ขาดสกั การะ”

กท็ าํ ให้ทราบว่า หลงั จากท่าน นมสั การพระพุทธบาท เป็ นประจําทุกปี ท่านกถ็ ือโอกาส แวะไปเยย่ี ม อาจารยพ์ ระแสง ณ วดั มณีชลขันธ์ไปด้วย จากการค้นควา้ ของผูเ้ ขียน ปรากฏว่า ใน จงั หวัดลพบุรี มีรอยพระพุทธบาท ถึง ๑๓ แห่ง ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ เว็บแดนนิพพานดอทคอม //www.danpranipparn.com จึงไม่ทราบว่า หลวงป่ ูโตไปสถานท่ีใด ดงั น้ี ๑. วดั ถ้าํ คูหาสวรรค์ ต.นิคม อ.เมอื ง จ.ลพบุรี ๒. วดั พระพุทธบาทน้าํ พุ ต.เขาสามยอด อ.เมอื ง จ.ลพบุรี ๓. พระพุทธบาทเขาช่องลม วดั ทุ่งสิงห์โต บ.ไผข่ วาง ต.เขาพระงาม อ.เมือง จ.ลพบุรี ๔. พระพุทธบาทเขานอ้ ย ในกองบินที่ ๒ ต.เขาพระงาม อ.เมอื ง จ.ลพบุรี ๕. วดั เขาสนามแจง ต.สนามแจง อ.บา้ นหมี่ จ.ลพบุรี ๖. พระพทุ ธบาทเขาวงพระจนั ทร์ ต.ห้วยโป่ ง อ.โคกสาํ โรง จ.ลพบุรี ๗. วดั ราชบรรทม (เขาตะเภา) ต.เพนียด อ.โคกสาํ โรง จ.ลพบุรี ๘. วดั เขาคีรีนาครัตนาราม ต.ชอนสารเดช อ.หนองมว่ ง จ.ลพบุรี ๙. พระพทุ ธบาทเขาราบ วดั ชยั บาดาลบ่อประสิทธ์ิ บ.โพธ์ิทอง ต.ชยั บาดาล อ.ชยั บาดาล จ.ลพบุรี ๑๐. พระพุทธบาทวดั ป่ าศรีมหาโพธ์ิวปิ ัสสนาราม บ.ทบั สะแก ต.บวั ชุม อ.ชยั บาดาล จ.ลพบุรี ๑๑. วดั เขาเตียน บา้ นเขาเตียน ต.วงั เตย อ.โคกสาํ โรง จ.ลพบุรี ๑๒. วดั เนินรังวรปัญญา(ลานนางฟ้า) ต.ยางราก อ.โคกเจริญ จ.ลพบุรี ๑๓. วดั ถ้าํ บ่อทอง ต.ช่องเขาสาริกา อ.พฒั นานิคม จ.ลพบุรี

๑๔. วดั ถ้าํ พระวปิ ัสสนาราม อ.พฒั นานิคม จ.ลพบุรี (ใกลเ้ ขื่อนป่ าสกั ชลสิทธ์ิ)

นอกจากน้ี จากการคน้ ควา้ ของผูเ้ ขียน ปรากฏวา่ ในจงั หวดั สระบุรี มีรอยพระพุทธบาท ถึง ๗ แห่ง ขอ้ มลู จากเวบ็ ไซต์ เวบ็ แดนนิพพานดอทคอม โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ๑. วดั พระพุทธบาทราชวรวหิ าร (สุวรรณบรรพต) ต.ขุนโขลน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี ๒. วดั กลั ญาณบรรพต (เขาเล้ียว) ต.พกุ ร่าง อ.พระพทุ ธบาท จ.สระบุรี ๓. วดั พระพทุ ธฉาย ต.หนองปลาไหล อ.เมอื ง จ.สระบุรี ๔. พระพทุ ธบาทนอ้ ย ต.สองคอน อ.แกง่ คอย จ.สระบุรี ๕. ถ้าํ ดาวเขาแกว้ ต.หนองเสือยา่ ง อ.หมวกเหลก็ จ.สระบุรี ๖. พระพุทธบาทพุแค บ.โคกดินแดง ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกยี รติ จ.สระบุรี ๗. วดั สะพานหิน (วดั ธนพฒั นาราม) ต.มติ รภาพ อ.หมวกเหลก็ จ.สระบุรี

จากการยอ้ นรอย การเดินทางของ หลวงป่ ูโต ไปกราบไหว้ พระพุทธบาท จงั หวดั ลพบุรี และ จังหวดั สระบุรี ผูเ้ ขียน เห็นว่า ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ เดินทางโดยเรือ ล่องไปทางแม่น้ํา เจา้ พระยา แม่น้าํ ลพบุรี และ แม่น้าํ ป่ าสกั ส่วนการเดินทางรถไฟ เป็ นไปไม่ได้ เพราะ รถไฟ เปิ ดให้ มกี ารใชอ้ ยา่ งเป็นทางการ ในรัชกาลท่ี ๕ เม่ือ ปี พ.ศ. ๒๔๓๙ ซ่ึงท่านมรณภาพ ไปแลว้ และ บาง ช่วงมกี ารเดินทางโดยถนน สถานท่ีท่าน เดินทางไปน้นั นอกจากพระพุทธบาทแลว้ กย็ งั มีวดั มณีชล ขนั ธ์ จงั หวดั ลพบุรี หม่บู า้ นหินสองกอ้ น บริเวณทะเลชุบศร จงั หวดั ลพบุรี ท่ีเป็ นแหล่งดินสอพองสี ขาว ในอาํ เภอเมอื ง และ ข้ึนไปทางเหนือ แหล่งโบราณคดีวงั ไผ่ อาํ เภอบ้านหม่ี จังหวดั ลพบุรี ซ่ึง เป็น แหลง่ ผลิตปูนขาวเปลือกหอย และในอาํ เภอบา้ นหม่ี ท่านเดินทางมา วดั เขาสนามแจง ต.สนาม แจง อ.บา้ นหม่ี จ.ลพบุรี กราบไหว้ รอยพระพทุ ธบาท ซ่ึงเป็นบทวเิ คราะห์ของผเู้ ขียน

และอกี บทบนั ทึก มหาอาํ มาตยต์ รี พระยาทิพโกษา ( สอน โลหะนันทน์ ) ถึงการแวะไป ไหวส้ กั การะ พระพุทธบาทของ หลวงป่ ูโต ดงั น้ี

“สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ต้งั แต่ปลดภาระการวดั การสอนให้หม่อมเจ้าพระพุทธบาทปิ ลนั ท์แลว้ ตวั ท่านกไ็ ปตามสบาย กบั รีบทาํ พระพิมพ์ ดูให้คนโขลกปูนเพชรและนั่งพิมพ์ไป บางทีไปเยย่ี มป่ าชา้ วดั สระเกศ เชา้ กบ็ ิณฑบาตไดอ้ ะไร กฉ็ ันไปพลาง บางทีเท่ียวสะพายบาตรไป ใครใส่เวลาไหน ท่านกฉ็ นั ฉลองศรทั ธาเวลาน้ัน ไปน่งั ในโลหะปราสาทวดั ราชนัดดาราม ไปคุย กบั หลวงพ่อรัต วดั เทพธิดาราม บา้ ง แลว้ ถูกคอ ไปดูช่างเขียนประวตั ิของท่านที่ผนงั โบสถ์วดั บาง ขนุ พรหมใน ดูให้ช่างกอ่ กอ่ พระโต กอ่ ข้ึนไปจนถึงพระโสณี (ตะโพก) ถึงหน้าขนึ้ พระบาท ก็ ขนึ้ นมัสการพระพุทธบาทเสมอทุกปี จนพวกลพบุรี สระบุรี นบั ถือเอาน้ําลา้ งเท้าท่านไปเกบ็ ไว้ รักษาฝี ดาษ ดีนักถึงฝี จะร้ายแรง ดาษตะกวั่ กห็ าย เด็ก ๆ ที่ออกฝี ไม่มีใครเป็ นอนั ตราย

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้