พระมหาสมปองเทศตอนใช ช ว ตอย างไรให ม ความส ข

๔๕

ว่า สิ่งท่ีทานี้ มันจะไปตอบว่า คนที่ฟังแล้วได้อะไร ถ้าคนที่ฟังได้แค่สนุกสนานเฮฮา เขาก็ได้ความ สนุกสน าน เพ ราะฉะน้ั น ถ้าเขาต้องการสื่อ สนุกสนาน เขาก็ได้สนุกสนาน แต่ถ้าเขาต้องการสื่อ ธรรมะ ธรรมะคืออะไร อย่างทบ่ี อก เข้าใจธรรมชาติ มีความทุกข์ลดน้อยลง อยู่กับสิ่งต่างๆรอบตัวได้ดี มากขึ้น ก็ต้องถามว่า สิ่งท่ีเขาทาตอบโจทย์ตรงน้ัน หรือไม่เปล่า คนฟังรู้สึกว่า ฉันมีความทุกข์น้อยลง ฉันเข้าใจแล้วว่าทุกอย่างเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป ฉัน เข้าใจสัจธรรมของชีวิต ไม่มีมิจฉาทิฏฐิ ถ้ามันทาได้ ถึงตรงนั้น จะนาเสนออยา่ งไรก็แลว้ แต่ ต้องไปถามดู ว่า คนที่ฟงั ...เขาได้อะไรจากตรงน้ันมากกว่า๕๐

หนูเป็นคนเครียดบ่อย ไม่มีความสุข เป็น ซึมเศร้า เป็นคนไม่ค่อยย้ิมหรือหัวเราะง่าย จะซึม ๆ

๕๐ GQ. ๒๕๖๔. พระสงฆ์ไลฟส์ ดธรรมะ ในมมุ มองของหมอบี ทูตสอื่ วิญญาณ. เขา้ ถึงได้ใน //www.youtube.com/watch?v=hP-AhJji9QI. เม่อื ๙ กันยายน ๒๕๖๔

๔๖

ตลอดแอบร้องไห้คนเดียว เป็นคนเก็บตัวอยู่ตลอด พอได้ฟังพระอาจารย์แล้ว รู้สึกดีข้ึน เริ่มย้ิมออก หัวเราะทุกครั้งท่ีได้ฟัง ขอบคุณพระอาจารย์มาก ค่ะ๕๑พระสมัยใหม่ ฟังธรรมแล้วมีความสุข ฟังต่อไป ครบั ผมกเ็ ปน็ แบบคณุ ส้ๆู น่ะ ให้กาลงั ใจต่อกัน๕๒

ปู่ดูไลฟ์ย้อนหลังหลายรอบมาก ปู่อายุ 83 บอกสมัยก่อนพระก็เทศน์กันแบบน้ีนะ ฟังแล้ว จรรโลงใจทางานสวนต่อได้ท้ังวัน วันพระทีต้องรีบ ตื่นไปศาลา ไปนั่งฟัง สายก็กลับ วันไหนไม่สบายใจ ก็ไปวัดหาพระเพ่ือน หาหลวงปู่หลวงตา ปู่ดูไลฟ์ไป พูดสอนหลานตามไป พ่อบอกเมื่อคืนปู่ขอปากกา กระดาษไปจดคาสอนเร่ืองทาใจจากคนที่รัก (ลูก ชายคนโตของปู่เพ่ิงเสียอาทิตย์ก่อน) แล้วพับเก็บไว้ หัวเตียง คือไม่ได้เห็นปู่จับดินสอปากกาเขียนนาน แล้วเพราะตาไม่ดี ปู่ไม่ได้เข้าวัดนานแล้วแต่ธรรมะ ในใจเยอะมาก พระสองรูปน้ีเป็นพระท่ีปู่เปิดฟัง

๕๑ C H E R M I L D. เร่ืองและทีม่ าเดียวกนั . ๕๒ Commobilea. เรือ่ งและที่มาเดยี วกัน.

๔๗

คร้งั แรกในรอบหลายปีเลย๕๓ ไมเ่ คยฟังพระเทศน์มา เปน็ 10 ปไี ด้แลว้ คะ่ และกลบั มาฟงั ได้เพราะท่านทั้ง 2 เลยค่ะ ฟงั จนจบโดยไม่ร้สู ึกงว่ งเลย ดีมาก ๆ ชอบ มาก ๆ ค่ะ ๕๔หลานผมชอบดูพระท่านท้ัง 2 รูป และพระปิยะอีกรูป ชอบดูคลิปพระท่านเทศน์ นั่งดู ได้ท้ังวันไม่รู้หาคลิปมาจากไหนทั้ง ๆ ท่ีเป็นเด็กติด เกมสม์ าพกั หลงั เริ่มหา่ งไปแล้ว๕๕

คนที่บอกพระเทศน์แบบน้ี จะอายคนต่าง ศาสนา อยากบอกว่าผมเป็นคาทอลิก แต่ติดตาม พระมหาสมปองมานานร่วมสิบปีแล้วครับ ชอบ สไตล์การเทศน์ท่านมาก๕๖ ผมนับถือศาสนาอิสลาม และผมก็ชอบฟัง เวลาพระสงค์พูดต้ังแต่พระพยอม

๕๓ Lana K. เร่ืองและทมี่ าเดียวกัน. ๕๔ Ch Lim. เรอ่ื งและทมี่ าเดยี วกนั . ๕๕ Kan Tapong. เรือ่ งและทม่ี าเดียวกนั . ๕๖ K W. เรือ่ งและทีม่ าเดียวกัน.

๔๘

จน มาถึง พระสงฆ์ 2 ท่านนี้ มันทาให้ ได้ความรู้๕๗ ทา่ นท่ังสอง สุดยอดแล้วครับ ผมนับถอื อิสลาม แต่ ผมชอบดูเพราะฟังแล้ว ทาให้ตัวผมมีสต๊ิกมากข้ึน เมื่อก่อนตัวผมใจร้องมาก แต่พอมาฟังท่านท่ังสอง แล้ว เดียวนี้ตัวผมเหมือนว่ามีเรืองอะไรก็มีสต๊ิก ก็ คอื วา่ ใจเย็นมาก๕๘

กลุ่มผู้ไม่เหน็ ด้วยกับการเผยแผ่ศาสนาในรูปแบบท่ีแตกต่างไป จากท่ีเคยมีมาก่อน เรียกกลุ่มน้ีว่า “อนุรักษ์นิยม” หรือ “กลุ่มศาสนา แนวจารีต” ส่วนกลุ่มผู้เห็นด้วยกับการเผยแผ่ศาสนาที่แตกต่างไปจาก รูปแบบเดิม เรียกกลุ่มน้ีว่า “เสรีนิยม” หรือ “ศาสนาแนวประยุกต์” ส่วนกลุ่มที่มีความเห็นกลางๆที่ไม่โดดเด่นว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย มี ทศั นะค่อนไปทางเคารพในการตัดสินใจของผู้อยู่ในศาสนา ศาสนาเป็น เรื่องรสนิยมเฉพาะคน และมีความพยายามในการหาสาระสาคัญจาก ส่งิ ท่ปี ระสบมากกว่าการตดั สินว่าสิ่งใดถูกหรอื สง่ิ ใดผิด

๕๗ preecha danmatam. ใน “เอาอะไรมาเสือ่ ม” 2 พ.ส.ฯ. เขา้ ถงึ ได้ใน //www.youtube.com/ watch?v=WzTLvFR4Ae0. เมอ่ื ๑๔ กนั ยายน ๒๕๖๔.

๕๘ เดก็ ดื้อ. เรื่องและทมี่ าเดยี วกัน.

๔๙

ความขัดแย้งทางความคิด-ความเช่ือเกี่ยวกับศาสนาน้ี มี ข้อสังเกตว่า มโนทัศน์ท่ีถูกอธิบายในนามศาสนาท่ีโดดเด่นและผูกติด กับวิถีการดารงชีวิตของคนในบริเวณพื้นที่ท่ีเรียกว่าประเทศไทย ประกอบด้วย (๑) มโนทัศน์แบบเดียว (เอกนิยม) อันมีท่าทีระบุชัดว่า ส่ิงใดถูก (๒) มโนทัศน์แนวประยุกต์/ผสมผสาน และ (๓) มโนทัศน์ แบบคัดสรร ผ่านคาอธิบายในนามศาสนา ๒ แบบ คือ (๑) การนับถือ ผ/ี วิญญาณสถติ (๒) การนับถือศาสนาท่ีรบั รองโดยรัฐ

สาเหตุของความขัดแย้งทางความคิด-ความเช่ือเก่ียวเน่ือง ด้วยศาสนา

หากพิจารณาสาเหตุของความขัดแย้งทางความคิด-ความเช่ือ เก่ียวกับเนื่องด้วยศาสนาผ่านแนวคิดท่ีจอห์น ฮิคต้ังข้อสังเกตไว้ถึง ความแตกต่างทางศาสนา ๓ ประการที่อ้างถึงข้างต้น อาจพิจารณาได้ ว่า (๑) เกิดจากการที่ศาสนิกของแต่ละศาสนาไม่สามารถมี ประสบการณ์ ทางศาสนาที่ เหมือนกัน (๒) เกิดจากความไม่รู้ สาระสาคัญท่ีแท้จริงของศาสนา จึงต้องอาศัยการตีความ และ (๓) เกิด จาก การ ระบุถึงค วาม จ ริงสู งสุ ดท างศ าส น าที่ แต่ล ะศาส น าใช้ภ าษ า ต่างกนั ตลอดถงึ การไม่สามารถเข้าถึงและการไม่สามารถอธบิ ายความ

๕๐

จริงสูงสุดทางศาสนาได้ดว้ ยภาษา อย่างไรก็ตาม จากสถานการณค์ วาม ขัดแย้งทางความคิด-ความเชอ่ื เก่ียวเน่ืองด้วยศาสนาทเี่ กิดขึ้นเป็นความ ขดั แยง้ ทางสงั คม อาจตง้ั ข้อสงั เกตถึงสาเหตุ ไดด้ งั นี้

๑. การยอมรับไม่ได้ถึงความมีอยู่ของความคิด-ความเช่ือท่ี แตกต่าง

๒. ความเช่ือว่าศาสนาท่ีตนรับอยู่นั้นเป็นสิ่งท่ีดีที่สุดกว่า ศาสนาอ่นื

๓. การแสดงอานาจทางความคิด-ความเช่ือที่เหนือกว่า ความคดิ -ความเชอื่ ทแี่ ตกตา่ ง

๔. การสกัดพื้นที่ทางวัฒนธรรมศาสนาและรักษาพื้นท่ี วัฒนธรรมทางศาสนาไว้

๕. การปกปอ้ งศาสนาท่ตี นรับวา่ ดที ี่สุด ๖. การไม่ได้ศึกษาสาระสาคัญที่แท้จริงของศาสนาที่แตกต่าง

กัน ๗. การมองไม่เห็นคุณค่าท่ีหลากหลายของศาสนาที่ต่างกันใน

สงั คมมนษุ ย์

๕๑

การวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความขัดแย้งทางความคิด-ความ เชื่อฯน้ี เป็นการวิเคราะห์ท่าทีทางความคิดของศาสนิกท่ีรู้สึกถึงความ เป็นเจ้าของศาสนา ถึงอย่างนั้น มีสาเหตุในบางลักษณะท่ีไม่ได้เกิด จากศาสนิกของแต่ละศาสนา โดยเฉพาะในสังคมออนไลน์ที่ต้องการ ยอดผู้เข้าชมเป็นตัวเช่ือมโยงถึงความนิยมและรายได้ บางสถานการณ์ จึงเกิดจากการกระตุ้นของสื่อ ส่งผลต่อความสนใจของเหล่าผู้มีศาสนา และกลายเป็นความขัดแยง้ ทางความคดิ -ความเชื่ออันเกย่ี วเน่ืองศาสนา แบบแพร่กระจายในเวลาถัดมา อยา่ งกรณี การส่ือสารถงึ ความรุนแรงที่ เกิดขึ้นจังหวัดชายแดนใต้ว่าเกิดจากท่าทีทางศาสนาและ/หรือการนา ศาสนามาเป็นเครื่องมือทางการเมือง ส่งผลต่อผู้เสพสื่อในการตั้ง กาแพงระหวา่ งผู้มีศาสนาตา่ งกนั เปน็ ต้น

สถานการณ์ความขัดแย้งทางสังคม ในประเด็น ความขัดแย้ง ทางความคิด-ความเช่ือเก่ียวเน่ืองด้วยศาสนาน้ี จะเก่ียวข้องกับความ ขัดแย้ งท างด้าน การเมือ งก็ต่อ เมื่ อมี การ น าคว ามคิ ด -ค วามเช่ือท าง ศาสนาไปใช้เพ่ือประโยชน์ทางการเมือง เช่น การอ้างว่า ความรุนแรง ในจังหวัดชายแดนใต้เกิดจากศาสนาแทนที่จะอ้างว่าเป็นการปกป้อง และแย่งชิงผลประโยชน์ทางทั้งเศรษฐกิจและการเมือง การอ้างถึง แนวคิดท่ีแตกต่างจากระบบคิดทางศาสนาแนวจารีตว่าเป็นแนวคิด แบบคอมมิวนิสต์ เพื่อจัดการคนท่ีเห็นต่างออกไปจากอิทธิผลท่ีมีผล

๕๒

ในทางการเมือง เป็นต้น ดังนั้น ผู้ศึกษาอาจสังเกตได้ว่า ความขัดแย้ง ทางความคิด-ความเช่ือเก่ียวเน่ืองด้วยศาสนาน้ี จะมีท่ีมาท้ังภายใน ศาสนาและภายนอกระบบคิดทางศาสนา

สันตวิ ิธีของการอยูร่ ว่ มกนั อยา่ งสันติในสังคมพหุวฒั นธรรม

ข้างต้น เป็นความพยายามในการวิเคราะห์เพื่อตอบคาถามว่า สังคมพหุวัฒนธรรมคืออะไร? ตลอดถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม พหุวัฒนธรรม โดยมุ่งท่ี ความขัดแย้งทางความคิด-ความเช่ืออัน เกี่ยวเน่ืองด้วยศาสนา ในหัวข้อย่อยนี้ จะมาพิจารณาว่า ถ้าบุคคลมี ค ว า ม เค ย ชิ น กั บ สั ง ค ม แ บ บ เด่ี ย ว / เอ ก นิ ย ม ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ จาเป็นต้องอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างเลี่ยงไม่ได้ บุคคลควรมีท่าที อยา่ งไรเพื่อการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ

แนวคิดที่นามาเป็นข้อเสนอเพื่อการพิจารณา ๒ ส่วนคือ (๑) แนวคิดด้านสันติวิธีทางสังคมเพื่อการอยู่อย่างสันติในสังคมพหุ วัฒนธรรม และ (๒) แนวคิดทางศาสนาเพื่อการอยู่อย่างสันติในสังคม พหุวัฒนธรรม ส่วนแรกจะเป็นการค้นหาว่า ศาสตร์ด้านสันติศึกษามี แนวทางอย่างไรที่พอจะนามาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทสังคมพหุ วัฒนธรรม ส่วนที่สองคล้ายกับสุภาษิตที่ระบุว่า “หนามยอกเอาหนาม บ่ง” เพื่อค้นหาว่า ทุกศาสนาอ้างว่าเกิดข้ึนมาเพ่ือสร้างสันติสุขให้

๕๓

เกิดขึ้นแก่สังคม จรงิ อยู่ แม้จะพบว่าภายในศาสนาและระหว่างศาสนา จะมรี ่องรอยความขัดแย้งเกิดขึ้น แต่สาระสาคัญแท้จริงของศาสนาเพื่อ สันติสุขทางสังคมคือสิ่งใด พอจะนามาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทสังคม พหวุ ัฒนธรรมได้หรอื ไม?่

แนวคิดดา้ นสันติวิธีทางสังคมเพ่ือการอยอู่ ย่างสันติในสังคม พหุวัฒนธรรม

สันติวิธี คือวิธีการท่ีจะนาไปสู่ความสงบ (สันติ) สันติวิธีจะมี กฎเหล็กอย่างหนึ่งคือ การไม่ใชค้ วามรนุ แรง/ปฏเิ สธการใช้ความรุนแรง โดยทั่วไป ความรุนแรง จะหมายถึง การละเมิดบุคคลและปัจจัย เกี่ยวเนื่องกับบุคคล มิติศาสนาจะระบุถึงความรุนแรงคือการทาให้คน อ่ืนเดือดร้อน กัลตุง (Johan Galtung) ได้กล่าวถึง ความรุนแรง ๓ แบบคอื ความรนุ แรงทางตรง เช่น การทารา้ ยต่อหน้า ความรนุ แรงเชิง โครงสร้าง เช่น การเวนคนื ท่ีดินจากบคุ คลผอู้ าศยั มาหลายชั่วอายคุ นใน บริเวณรอบนอกเพ่ือการแก้ปัญหาน้าท่วมขังในตัวเมือง และความ รุนแรงเชิงวัฒนธรรม เช่น การยอมรับว่า การชกต่อยของนักมวยเป็น สง่ิ ท่ีกระทาได้ การท่ีนักมวยคนหน่ึงสมองบวมและเสียชีวิตจากผลของ การชกต่อย เป็นส่ิงที่เป็นไปได้ หากพิจารณาแบบตรงข้าม ความไม่ รุนแรงจะคือ การไมท่ าร้าย ความเสมอภาค และยุติธรรม

๕๔

หลักการทั่วไปของสันติวิธีที่ผู้ศึกษาสามารถหาคาอธิบายได้ จากหนังสือด้านความขัดแย้งและสันติศึกษามักประกอบด้วย (๑) การ ปฏิเสธการใช้ความรุนแรง (๒) ปัญหาท่ีแท้จริงของความขัดแย้ง/ความ รุนแรง/ความไม่เห็นด้วยคืออะไร (๓) ความต้องการท่ีแท้จริงคืออะไร? (๔) ทุกคนมีความเป็นมนุษย์เหมือนกัน (๕) ขับเคลื่อนสังคมด้วย สัมพันธภาพของความร่วมมือแบบสร้างสรรค์ (๖) ใช้เหตุผลในการสื่อ การและคานึงถึงความรู้สึก (๗) พร้อมเผชิญต่อทุกสถานการณ์ที่จะ เกิดข้ึน (๘) ให้ความสาคัญกับประโยชน์ของสังคมโดยรวม ส่วนวิธกี าร ที่สาคัญคือ การพูดคุย/เจรจาต่อรอง และเคร่ืองมือในเชิงลึกคือ การ รบั ฟงั ด้วยใจ/อย่างเขา้ ใจ

Listening Negotiation Peaceful ways

หลักการเหล่านี้คือหลักการท่ีสาคัญสาหรับปัญหาความ ขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนแบบชัดเจน สาหรับสังคมพหุวัฒนธรรม บาง สถานการณ์เปน็ เร่อื งความรู้สึกข้างในและจาเป็นจะต้องเก็บเอาไว้ การ

๕๕

คลี่คลายความรู้สึกขัดแย้งอาจต้องมีคาอธิบายอีกแบบหน่ึงท่ีแตกต่าง จากความขัดแย้งทั่วไป

จ า ก ก า ร ใช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร สั ม ภ าษ ณ์ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า งใน ประเด็น “หากเราต้องอยู่กับคนที่แตกต่างจากเรา เราควรทา อย่างไร?” “หากเรามีเพื่อนท่ีแตกต่างจากเรา เราจะทาอย่างไร?”๕๙ พอจะจัดเป็นกลุ่มความคิดไดด้ ังน้ี

วรา (นามสมมติ) เห็นว่า “เราควรให้เกียรติกันและกัน ไม่ คุกคามคนอ่ืนและไม่ให้คนอ่ืนมาคุกคาม” ณัฐ (นามสมมติ) เห็นว่า “ต่างคนต่างอยู่ แยกกันไปเลย” รักษ์ (นามสมมติ) เห็นว่า ปรับตัวให้ เข้ากับสถานการณ์น้ัน ๆ ให้ได้” ชัย (นามสมมติ) เห็นว่า “ทาใจ ยอมรับส่ิงท่ีเกิดขึ้น เพราะว่าเราคนเดียวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไร ได้” ดา (นามสมมติ) เห็นว่า ถ้าเราไม่เข้าใจกัน เราต้องพูดคุยกัน ส่ือสารกันเพื่อหาตกลงร่วมกัน” นิช (นามสมมติ) เห็นว่า “เราต้อง เรียนรู้ซ่ึงกันและกัน หรือการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม” กร (นามสมมติ) เห็นว่า ถ้าเราต่างกัน เราต้องเรียนรู้กันและกัน ถ้าเข้ากันได้ก็ปรับตัว เข้าหากัน ถ้าปรับตัวกันไม่ได้ ต่างกันต่างดาเนินชีวิตของตนเองโดยไม่

๕๙ สัมภาษณ์เม่อื ๑๗ กันยายน ๒๕๖๔ ผา่ นการสอ่ื สารด้วยโปรแกรม Zoom

๕๖

ก้าวก่าย” สิทธิ์ (นามสมมติ) เห็นว่า เราควรเรียนรู้ซึ่งกันและกัน อยู่ ด้วยกันก็ได้ไม่อยู่ด้วยกันก็ได้ แค่เพียงไม่ก้าวก่ายกันและกัน” วิช (นามสมมติ) เห็นว่า “จะบอกเขาว่า ช่วยทาตัวให้มีมารยาทหน่อยนะ” สันต์ (นามสมมติ) เห็นว่า “เขาอาจจะมีนสิ ัยอย่างนั้นอยู่แล้ว สิ่งสาคัญ คอื เราตอ้ งพูดคุยกับเขาว่า ในการอยู่ท่ามกลางสงั คมท่ีหลากหลาย เรา ควรปรับตัวให้เข้ากับคนอ่ืนให้ได้ ถ้าเราพูดแล้วเขาไม่ฟัง ก็อาจต้อง ปฏิบัตใิ ห้เขาดู/ทาเปน็ แบบอยา่ งให้ดู” พล (นามสมมต)ิ เห็นว่า ถ้าเรา มเี พื่อนอย่างน้ัน เราต้องกล้าที่จะสอนกล้าจะบอก ว่าสถานการณ์ที่เขา อยู่ในตอนน้ีมันไม่ถูกต้อง เขาสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น ๆ เราต้อง ปรับตัวให้เข้ากับสังคมแวดล้อมให้เข้ากับกาลเทศะ” รอน (นาม สมมต)ิ เห็นวา่ ในสถานนี้ ด้วยตวั บคุ คลอาจจะคอื ตัวตนของเขา แต่เรา กค็ วรให้เกียรติงานท่ีเขาอยู่ หากเราเตือนเขาตรง ๆ อาจจะไม่ให้เกียรติ เขา ความเป็นตัวตนอาจจะเตือนรอบหลัง เพ่ือชี้ให้เห็นว่าส่ิงท่ีเขาทา เบียดเบียนผู้อ่ืนอยา่ งไร ดว้ ยคาพูดท่ีจะไม่ทาให้เขารสู้ ึกผิด” นัน (นาม สมมติ) เห็นว่า “ถ้ามีเหตุการณ์แบบน้ันกับเพื่อนเรา เราควรเตือนเขา ในตอนน้ัน ถ้าเขาไม่โอเคเขาอาจออกไปเลย แต่ถ้าเขาโอเคก็อาจ ปรับตัว หรืออาจจะพูดด้วยสถานการณ์คือ ให้เขาคิดเองว่า ถ้าเขาโดน อย่างน้นั บ้างจะร้สู กึ อย่างไร”

๕๗

ท่าทีต่อกรณีศึกษา อาจจัดเป็นกลุ่มความคิดได้คือ (๑) การ ปฏิเสธความแตกต่าง อย่างข้อความว่า “ต่างคนต่างอยู่” “การไม่ก้าว ก่ายระหว่างกัน” “ทาตัวให้มีมารยาทด้วย” อันมีลักษณะค่อนไปทาง เอกนิยมทางวัฒนธรรม (๒) การปรับเปลี่ยนตัวเอง อย่างข้อความว่า “ทาใจยอมรับส่ิงท่ีเกิดข้ึน เพราะเราคนเดียวไม่สามารถเปล่ียนแปลง อะไรได้” (๓) การทาความเข้าใจ อย่างข้อความว่า “เราต้องเรียนรู้กัน และกนั /แลกเปล่ียนวฒั นธรรม” “เขาอาจมนี ิสัยอยา่ งนั้นอย่แู ล้ว”

ท่าทีใน (๑) จะคือการพยายามทาให้ผู้แตกต่างเป็นอย่างที่ตน คิด โดยแต่ละคนมีรูปแบบบางอย่างที่คิดว่าถูกต้องอยู่แล้ว จึงต้องการ ให้ส่ิงที่แตกต่างเป็นตามรูปแบบนั้นท่ีคิดว่าถูกต้อง ส่ิงน้ีคือ “การ เปลี่ยนแปลงคนอ่ืน” (๒) จะคือการยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น แต่เป็นการ ยอมรับอย่างขัดไม่ได้ หรือการจายอมต้องอยอู่ ย่างมคี วามขัดแย้งขา้ งใน ทา่ ทีแบบน้ีอาจส่งผลเปน็ ความขัดแย้งแบบชัดเจนทแ่ี สดงออกต่อกันได้ เมอ่ื ต้องพบกับความรู้สกึ ขดั แยง้ ซ้า ๆ ส่ิงน้ีคือ “การจัดการตวั เอง” (๓) จะคือ การพยายามเพิ่มเติมตัวเองจากความไม่เข้าใจไปสู่ความเข้าใจผู้ ท่ีแตกต่างจากตน เพื่อการอยู่ให้ได้ท่ามกลางความแตกต่างทาง วัฒนธรรมอย่างเข้าใจของท้ังสองฝ่าย ส่ิงนี้คือ การเรียนรู้ร่วมกันเพ่ือ การเข้าใจกนั

๕๘

ท่าทีท่ีน่าจะอยู่บนหลักการท่ัวไปของสันติวิธีมากท่ีสุดคือท่าที ใน (๓) เพราะท่าทแี บบน้ีบง่ ชี้ถึง วัฒนธรรมสันติภาพบนฐานของความ เข้าใจ จากการปฏิเสธความรุนแรง ค้นหาความต้องการแท้จริงคือ ความต้องการความเข้าใจ ท่ีแต่ละคนมีความแตกต่างจากสาเหตุที่ แตกต่างกัน การใช้ศักยภาพแห่งตนที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาก้าว ไกลกว่าส่ิงมีชีวิตอ่ืน คือเหตุผลผ่านการพูดคุยและรับฟังที่คานึงถึง ความรู้สึกระหว่างกันเพื่อการอยู่ร่วมเชิงสร้างสรรค์ในสังคมเดียวกัน อนั มีสถานภาพความเป็นมนุษย์เหมือนกัน จะคือ การไม่ทารา้ ยท้ังด้าน ร่างกายและความรู้สึก การให้เกียรติอย่างเสมอภาคกันและยุติสิ่งที่ เกดิ ขน้ึ ด้วยความถกู ตอ้ ง (ธรรม)

แ น ว คิ ด ท า ง ศ า ส น า เพ่ื อ ก า ร อ ยู่ อ ย่ า ง สั น ติ ใน สั ง ค ม พ หุ วฒั นธรรม

ระลอกแนวคิดทางศาสนาเพื่อสังคมมี ๓ ระลอกคือ (๑) ระลอกทางศาสนาที่มองว่า ศาสนาน้ีเท่าน้ันถูกต้อง นอกจากศาสนาน้ี แล้วไม่มีศาสนาใดถูกต้อง ระลอกแบบน้ีเรียกว่า ศาสนาแบบผูกขาด (Religious Exclusivism) (๒) ระลอกทางศาสนาที่มองว่า ศาสนาท่ี แตกต่างจากตนก็มีส่วนถูกต้องอยู่ บางส่วนของบางศาสนาเท่าน้ัน ถูกต้อง ระลอกแบบน้ีขอเรียกว่า ศาสนาแบบซับเซต / ศาสนาแบบมี

๕๙

ส่วนร่วม (Religious Exclusivism) และ (๓) ระลอกทางศาสนาท่ีมอง ว่า ทุกศาสนาถูกต้อง อย่างข้อความว่า “ทุกศาสนาสอนให้เป็นคนดี เหมือนกัน” และ/หรือ ความหลากหลายทางศาสนา/ความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมศาสนา เรียกว่า พหุ นิยมทางศาสนา (Religious Pluralism)

ศ.๑ ศ.๒ ศ.๓ ศ.ฯลฯ

ศ.๑ ศ.ฯลฯ ศ.๓ ศ.๒

ศ.๑ ศ.๒ ศ.๓ ศ.ฯลฯ

ปจั จบุ ัน ระลอกศาสนาที่ค่อยๆขยายพื้นทีค่ วามคิดทางศาสนา คือ “พหุนิยมทางศาสนา” หากศาสนาคือบุคคล จะคือการยอมรับ ความอยู่ของบุคคลในฐานะท่ีเป็นส่วนหนึ่งขอสังคมอย่างเท่าเทียมกัน

๖๐

ในสังคมวิทยาศาสนา ศาสนาต่าง ๆ คือความมีอยู่ของศาสนา ท่ีควร ได้รบั การยอมรบั อยา่ งเทา่ เทียมกนั ถงึ ความมีอยู่ของศาสนาในสงั คม

การนาแนวคิดทางศาสนามาพิจารณาเพื่อการอยู่อย่างสันติใน สงั คมพหุนิยม อาจพิจารณาได้ใน ๒ ลักษณะหลักๆคอื ศาสนากับสันติ วิธีเพื่อสันติภาพทางสังคม และ สันติภาพภายในจากแนวคิดทาง ศาสนา

๑. ศาสนากับสนั ตวิ ธิ ีเพื่อสันตภิ าพทางสังคม

ศาสนากับสันติวิธีเพ่ือสันติภาพทางสังคม จะคือ การยอมรับ ว่ าศ าส น าคื อวิ ธี ก าร ห น่ึ งใน สั น ติ วิ ธี ที่ ห ล าก ห ล าย อั น ส าม ารถ ส ร้ าง สันติภาพให้เกิดข้ึนได้ในสังคม หากพิจารณานักขับเคลื่อนสันติภาพ ด้วยสันติวิธีท่ีได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย จะพบว่า บุคคล เหล่าน้ันได้นาแนวคิดทางศาสนามาใช้เพ่ือให้เกิดสันติภาพ อย่าง มหาตมะ คานธี ใช้แนวคิดเร่ือง “อหิงสา” อันเป็นแนวคิดท่ีสาคัญ อย่างหน่ึงในศาสนาฮินดู มาใช้เพื่อปลดแอกอังกฤษออกจากอินเดีย คุณแม่เทเรซา ผู้ใช้แนวคิดเร่ือง “ความรัก” ช่วยเหลือเยาวชนและคน ยากไร้ พุทธทาส ภิกขุ ผู้เป็นนักบวชในพุทธศาสนา ได้เสนอแนวคิด การมีส่วนร่วมทางศาสนาเพ่ือดึงคนออกจากวัตถุนิยมจากการทาความ เขา้ ใจศาสนาตนและระหวา่ งศาสนา ในท่ีนจ่ี ะใชบ้ างแนวคิดทางศาสนา

๖๑

แบบบูรณาการมาพิจารณาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุ วัฒนธรรม

๑.๑ พระเจ้าและการอยู่ร่วมกัน หากพิจารณาแนวคิดเรื่อง “การสร้าง” ในประวัติศาสตร์การสร้างโลกของพระเจ้า จะพบว่า มนุษย์ทุกคนมาจากต้นกาเนิดเดียวกัน หากเทียบพระเจ้าคือพ่อ มนุษย์ ทุกคนจะมีพ่อคนเดียวกัน และในความเป็นจริงทางสังคม บางคน เท่าน้ันทีด่ ูแลเอาใจใส่พอ่ เปน็ อยา่ งดี มีบางคนท่ีถือปฏบิ ัตติ ามคาส่ังของ พอ่ แต่บางคนก็ไม่เคยใส่ใจพ่อเลย แต่ทัง้ หมดมีพ่อคนเดียวกัน พระเจ้า และการอยู่ร่วมกันน้ี เพื่อจะชี้ว่า ความแตกต่างเป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ สาเหตุท่ีสาคัญของความแตกต่างจะคือ เคมีการเรียนรู้ของบุคคลและ บริบทแวดล้อมที่ทาให้บุคคลปรับตัว บุคคลผู้เข้าใจที่มาของความ แตกต่างและจริงจังกับคาสั่งของพ่อ ไม่ได้อยู่ในฐานะผู้ตัดสินว่าใครคือ ผู้ท่ีพ่อไม่ปล้ืม สิ่งท่ีพอจะทาได้คือ การใช้ชีวิตอย่างเข้าใจในฐานะต้น ทางเดยี วกนั

๑.๒ พระเจ้าและธรรมชาติ ในงานทางปรัชญาศาสนา ได้ ตีความพระเจ้าใน ๒ แบบคือ แบบบุคคล และแบบไม่ใช่บุคคล พระ เจ้าและธรรมชาติจะคือพระเจ้าในแบบไม่ใช่บุคคล สาหรับศาสนาท่ี ไม่ได้ให้ความสาคัญว่าตนเกิดมาจากพระเจ้าแบบบุคคล อาจพิจารณา ในแง่ของธรรมชาติคือสิ่งย่ิงใหญ่ เช่น เต๋าย่ิงใหญ่ ปรมาตมันยิ่งใหญ่

๖๒

เป็นต้น การทีบ่ ุคคลมีลักษณะที่แตกต่าง เพราะธรรมชาติของคนแต่ละ คนเป็นอย่างท่ีเขาเป็น/เป็นอย่างท่ีธรรมชาติจัดสรรให้เป็น เช่น หาก นาย ก. มีนิสัย A นาย ข. มีนิสัย B ถ้า นาย ก. เป็นนาย ข. นาย ก.ก็ ต้องมีนิสัย B เพราะ นาย ก. เลือกที่จะเป็นแบบนาย ข. และ นาย ข. ก็ต้องเป็นอย่างที่นาย ข. เป็น เพราะนาย ข. ตัดสินใจเลือกที่จะเรียนรู้ และปรับตัวแบบท่ีนาย ข. เลือก ในสังคมพหุวัฒนธรรม จะพบว่า วัฒนธรรมคือตัวกาหนดลักษณะบุคคลด้วย ผู้ที่รับไม่ได้กับวัฒนธรรม แบบใด เขาจะออกไปจากวัฒนธรรมแบบน้ัน และอยู่ในวัฒนธรรมที่ เขายอมรับ แต่ท้ังหมดคือการเรียนรู้และการปรับตัว ที่หมายถึง ธรรมชาติให้เขาเป็นอย่างท่ีเขาเลือก แต่ละคนจึงมีธรรมชาติแตกต่าง ธรรมชาติ/การเกิดโดยความเป็นธรรมดาของสิ่งน้ัน ๆ และเป็นส่ิงท่ี ปฏิเสธไม่ได้ การอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรม จึงจาตอ้ งยอมรบั ความมีอยู่ ของความเป็นธรรมดาของสง่ิ น้นั ๆ

๑.๓ เพื่อนร่วมทาง จากแนวคิดท่ีว่า เราทุกคนเป็นเพื่อนร่วม เกิด แก่ เจบ็ ตาย นั่นหมายถึง ทุกคนที่รับศาสนาต่างกัน ความต่างกัน เป็นเร่ืองรสนิยมในการรับศาสนา แม้บางคนจะระบุว่าไม่มีศาสนา แต่ เขาจะเชอ่ื ในระบบคิดใดระบบคิดหนึ่ง มีสงิ่ ท่ีทุกคนตอ้ งพบคือ เกิด แก่ เจ็บ และตาย ทุกคนจึงเป็นเพ่ือนร่วมทางที่ต้องตกอยู่ภายใต้ สถานการณ์น้นั อย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้

๖๓

๑.๔ แนวคิดจิตนิยมทางศาสนา (Idealism of religions) ศาสนาหลักของโลกมีความเชื่อเหมือนกันว่า เบื้องหลังกายท่ปี รากฏให้ สัมผัสด้วยสายตาจะมีเจตภูต/ชีวะ/อาตมัน ซ่อนทาบอยู่ เม่ือร่างกาย ตาย เจตภูตไม่ได้ตายไปด้วย ฮินดูมองว่า เจตภูตจะไปเกิดในร่างใหม่ คริสต์และอสิ ลามมองว่า เจตภูตจะไปรอวันพิพากษา ศาสนาเหล่านี้จะ ให้ความสาคัญกับ “เจตภูตบริสุทธ์ิ” จึงต้องขัดเกลาให้สะอาดด้วยการ ทาความดีละเว้นความช่ัว เหมือนกัน ตามแนวทางที่แต่ละศาสนา กาหนด

๑.๕ การเอาใจใส่ต่อแก่นศาสนาอย่างจริงจัง อย่างพุทธ ศาสนาสอนเร่ืองทุกข์และการไม่มีแห่งทุกข์ ชาวพุทธจึงต้องหาวิธีการ อย่างใดอย่างหนึ่งในการกาหนดรทู้ ุกข์และหาทางในการไม่ต้องทกุ ข์อีก ศาสนาคริสต์สอนให้ถอนตนออกจากสิ่งเลวร้ายและมอบความกรุณา ต่อผูอ้ ื่นโดยไมไ่ ด้ระบกุ รอบของความกรุณา อิสลามคือศาสนาแห่งสันติ อันหมายถึงการไม่เบียดเบียดกันและความสงบภายในจิตใจ ขณะที่ ฮินดูเสนอหลักโยคะในการมุ่งมั่นฝึกฝนจิตให้บริสุทธ์ิ โดยรวมคือ จิต บริสุทธ์ิจากการฝึกฝนของตนเพื่อขยายพื้นที่การไม่เบียดเบียน ทาง สังคม

๑.๖ การสงเคราะห์สังคม อย่างการสอนให้ช่วยเหลือสังคม ด้วยการบริจาคทรัพย์ที่ดีอันเกิดจากความอุตสาหะและเว้นขาดจาก

๖๔

การบริจาคสิ่งท่ีได้มาโดยมิชอบ๖๐การยินดีช่วยเหลือแก่ผู้ขอความ ช่วยเหลือ อย่างข้อความว่า “ถ้าผู้ใดจะขอสิ่งใดจากท่านก็จงให้ อย่า เมินหน้าจากผุ้ท่ีอยากขอยืมจากท่าน๖๑การประสานความเป็นสังคมไว้ อย่างข้อความว่า “ผู้เห็นภัยในสังสารวัฏท้ังหลาย การให้ (ทาน) การ พดู คุยที่ทาให้เกิดความรสู้ ึกดี ๆ (เปยยวชั ชะ) การบาเพ็ญประโยชน์ต่อ สังคม (อัตถจริยา) และ การวางตนแบบเสมอต้นเสมอปลาย (สมานัตต ตา) คือธรรมสาหรับสงเคราะห์สังคม (โลก) เหมือนสลักเพลาควบคุม รถท่ีแล่นไปอยู่ไว้ได้...”๖๒ นอกจากน้ันมีคาสอนอ่ืนอีกท่ีหาได้ในเนื้อหา ทางศาสนา

๑.๗ การศึกษาเรียนรู้ความแตกต่างทางศาสนาเพื่อความ เข้าใจศาสนาท่ีแตกต่าง ข้อเสนอน้ีเป็นข้อเสนอในมุมมองของพหุนิยม ทางศาสนาอย่างแนวคิดของพทุ ธทาสผเู้ ปิดโลกทัศนท์ างศาสนาให้กวา้ ง ขึ้นด้วยการศึกษาคัมภีร์ท่ีแตกต่างและการพูดคุยระหว่างผู้มีศาสนา ต่างกัน แท้จริงแนวคิดน้ีจะคือ การสานเสวนาระหว่างศาสนา

๖๐ ดูรายละเอียดใน มัรวาน สะมะอุน. อัลกุรอานฉบับภาษาไทย ซู เราะฮฺที่ ๒ ข้อ ๒๖๗. กรงุ เทพฯ: มปส. หน้า ๘๓-๘๔.

๖๑ องคก์ ารกเี ดย้ี นส์ อเิ ตอร์เนชนั่ แนล. มปป. พระครสิ ตธรรมใหม่. มปพ. หน้า ๑๘.

๖๒ องั .จตกุ . ๒๑/๓๒/๕๐-๕๑.

๖๕

(Interreligious Dialogue) ที่ ปาริชาติ สุวรรณบบุ ผา ได้ขับเคลอ่ื นเชิง รูปธรรมเพื่อการยอมรับความแตกต่างทางศาสนาอย่างเข้าใจ เร่ิมต้น จาก การที่แต่ละคนศึกษาเรียนรู้ศาสนาของตนให้เข้าใจอย่างลึกซ้ึง การจับคู่สนทนา/กลุ่มสนทนา การเสนอความคิด ความเช่ือ และการ ปฏิบัติของตนใหค้ ู่สนทนาฟัง ขณะท่ีคู่สนทนาผู้มีหน้าท่ีฟังต้องฟังอย่าง เอาใจเขามาใส่ใจเรา ไม่ด่วนตัดสินก่อน การเสวนาระหวา่ งศาสนาอาจ จบลงด้วยความเห็นท่ีแตกต่างกันก็ได้ อย่างน้อยๆ แต่ละคนผู้ร่วมสาน เสวนาจะมีความเข้าใจเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ต้องการของการสานเสวนา ทางศาสนาคือ ทัศนคติท่ีเปลี่ยนไปจากความไม่เข้าใจสู่ความเข้าใจ ระหว่างกัน๖๓ แนวคิดนี้น่าจะสอดคล้องกับการเจรจา/การเจรจา ต่อรอง หากแต่จุดเริ่มต้นต่างกัน การเจรจาต่อรองจะมีคนกลางในการ เจรจาและเกิดข้ึนจากความขัดแย้งแบบชัดเจน ขณะที่การสานเสวนา ทางศาสนาอาจเกิดจากการยอมรับไม่ได้ของผู้มีศาสนาต่างกัน อันเป็น ความไม่ราบรื่นทางความรูสึก และมีการพูดคุยแลกเปล่ียนกันเพื่อให้ เกดิ ทัศนคติท่ีดีตอ่ กันโดยไมม่ คี นกลาง

๖๓ ดรู ายละเอียดใน ปารชิ าติ สวุ รรณบุบผา. (๒๕๕๒). สานเสวนา สาน ใจสู่ใจ. กรุเทพฯ: หจก.คลอลติ ี้ อาร์ท. หนา้ คานา-๙๔.

๖๖

๒. สนั ตภิ าพภายในจากแนวคดิ ทางศาสนา หากแบ่งประสบการณ์ออกเป็น ๒ ส่วน ทั้ง ๒ ส่วนจะมี ลักษณะที่แตกต่างกันคือ (๑) ประสบการณ์ภายนอก ใช้เคร่ืองมือคือ ประสาทสัมผัสท้ัง ๕ เปน็ ตวั รบั สารท่สี ง่ มา และ (๒) ประสบการภายใน จะใช้จิตเป็นตัวรับ โดยเนื้อแท้ของแต่ละศาสนาจะให้ความสาคัญกับ จิตเป็นเรื่องหลัก ส่วนร่างกายเป็นเรื่องรองและ/หรือเป็นเคร่ืองมือใน การใหจ้ ิตเรียนรู้เพื่อความบริสุทธิ์แหง่ จิต สันติภาพภายในจะหมายถึง การทาให้จิตสงบ/จิตบริสุทธ์ิ แม้ ในขณะที่ส่ิงต่าง ๆ เคล่ือนไหว ตื่นตระหนก วุ่นวายฯลฯ จากแง่น้ี เรา อาจเหน็ จติ ใน ๒ ฝง่ั คือ

S P ความด้นิ รน ความสงบนิ่ง ความเครียด ความโปร่งโลง่ ความแคน้ /อาฆาต ความรัก/ความเหน็ ใจ ความอยากได้ เมนิ เฉย ความพล้ังเผลอ ความฉลาด ฯลฯ ฯลฯ

๖๗

สันติภาพภายในจะหมายถึง “P” และเป็นความรสู้ ึกที่ตรงกัน ข้ามกับ “S” ในตัวอย่างน้ัน เอกสารบางฉบับจะเทียบเคียง “S” คือ “ไฟ” และ “P” คือ “น้า” ในพ้ืนที่เดียวกันหากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงมีพลัง ขับเคล่ือนมากกว่าจะคือการลดขนาดอีกฝ่ายลง แนวคิดทางศาสนา มองว่า การท่ีจะให้เกิดสันติภาพภายในจะต้องลดขนาดของ “S” ลง และพัฒนาพ้ืนที่ “P” ให้ขยายตัวเพ่ิมขนึ้ ส่วนวธิ ีการได้คุณสมบัตคิ ือ P มานัน้ อาจพจิ ารณาดว้ ยข้อเสนอดังต่อไปนี้

๒.๑ การกาหนดกติกาเพื่อดูแลตน ผู้มีศาสนาต่างกันอาจ เร่ิมต้นจากการศึกษาเรียนรู้กฎ กติกา ข้อบัญญัติ ต่าง ๆ ท่ีแต่ละ ศาสนาระบุไว้และถือปฏิบัติโดยไม่บกพร่อง ผู้ไม่มีศาสนาอาจเริ่มต้น จากการตั้งกติกาสาหรับตนเองในการเตรียมความพร้อมเพ่ือการฝึกฝน เรียนรู้ เช่น ฉันจะไม่ปฏิเสธคนที่มาขอความช่วยเหลือ ฉันจะพยายาม ไม่คิดร้ายต่อใคร เป็นต้น โดยมองถึงพฤติกรรมท่ีจะทาให้ภาวะจิตใจดี ข้ึน/อ่อนโยน/ปรารถนาดี/ปลอดจาก “S”ฯลฯ ด้วยการควบคุม พฤติกรรมทีด่ ีทางกายวาจาและจติ ใจอย่างมสี ัตย์เพื่ออหิงสา

๒.๒ ขัดเกลาจิตในหลากวิธีโดยไม่บกพร่อง เร่ิมจากการสังเกต ตัวเองว่ามีนิสัยใจคอแบบใดมากท่ีสุดระหว่าง ชอบของสวยๆ งาม ๆ / โกรธง่ายแค้นไมห่ าย / ซมึ ๆ เศร้าๆเอาแน่นอนไม่ได้ / ฟ้งุ ซ่าน คิดเยอะ / เชอื่ ง่าย / เชือ่ ในเหตุผล จากน้ันจงึ หาวิธกี ารท่ีเหมาะสมกับความเป็น

๖๘

ตน (๑) ตรึงจิตกับอุปกรณ์ทั่วไป โดยการเช่ือมโยงจิตกับอุปกรณ์ท่ี พอจะหาได้ เช่น หน้ากระดาษ A4 สีขาว ฝาผนังสีครีม เป็นต้น เริ่ม จากการปลดวางความคิดท้ังหลายลง สายตาจ้องไปที่อุปกรณ์นั้นพรอ้ ม กับคิดในใจตามจริงท่ีมองเห็น เพื่อให้จิตมีความรู้สึกเดียว จะคือการ ปลดภาระการคิดทั้งหมดลง วิธีน้ีเหมาะกับทุกนิสัยใจคอ (๒) ตรึงจิต กับร่างกายที่เคลื่อนไหว โดยใช้เครื่องมือคือ “สติและความรู้สึกตัว” โดยปกติคนทั่วไปจะคิดโดยไม่รู้สึกตัวว่ากาลังคิด เดินโดยไม่รู้สึกตัวว่า กาลังเดิน เพราะสมองคิดวุ่นต่อภารกิจท่ีจาเป็นของการมีชีวิต สติคือ ตัวหวนกลับมารบั รู้พฤติกรรมที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด ส่วนความรสู้ ึกตัว คือการรับรู้ถึงพฤติกรรม/ส่ิงที่เป็นปัจจุบัน สติและความรู้สึกตัวจะ ทางานด้วยกัน สติทาหน้าที่ดึงความรู้สึกกลับมา ส่วนความรู้สึกตัวทา หน้าท่ีตรึงการรับรู้กับปัจจุบัน เชน่ ขณะที่กาลังนั่งกินข้าว แต่เราคดิ ไป ถึงเรื่องที่ทางาน สติและความรู้สึกตัวอยู่ในพื้นท่ีเดียวกับความคิด ความคิดจะทาหน้าที่เหมือนเฟืองท่ีหมุน แต่สติและความรู้สึกตัวจะทา หน้าที่ดูเฟืองท่ีหมุน สติจะเตือนให้เราคิดถึงการนั่งกินข้าวและความ รู้สึกตัวจะตรึงการรับรู้กับการกินข้าวท้ังขณะตักข้าว ยกข้าวใส่ปาก ขาวแตะลิ้น การกล่ืนข้าว ฯลฯ เป็นต้น เคล็ดลับของการตรึงจิตกับ ร่างกายทีเ่ คล่ือนไหวคอื การรบั รู้การเคลื่อนไหวทกุ ๆการเคล่ือนไหวของ อวัยวะที่เราจับการเคลื่อนไหวได้ที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด (๓) การตรึง

๖๙

จิตกับความดี/ความดีสูงสุด/ความบริสุทธ์ิ เช่น พระเจ้าท่ีไม่ได้อยู่ใน ฐานะรูปร่าง/การไม่สร้างรูปเคารพแม้แต่ในความคิด ความดีของตนท่ี เคยทาแล้วรู้สึกดีมาก ความดขี องศาสดา ความดีของบุคคลสาคัญที่เรา รู้สึกปลม้ื เป็นตน้ วธิ ีการแบบนเี้ หมาะกับคนท่ีมีนิสยั ใจคอแบบเช่ือง่าย (๔) ใคร่ครวญความเป็นจริงของร่างกาย เร่ิมตั้งแต่พัฒนาการที่อยู่ใน ครรภ์ ออกจากครรภ์ต้องพบทั้งสุขและทุกข์ และวันหนึ่งชีวิตนี้ก็ยุติลง ชีวิตนี้ไม่ใช่ของเรา แต่การที่เรามีชีวิตก็เพ่ือหยิบฉวยโอกาสในการ สร้างส รรค์ส่ิ งดีงามในความหมาย ว่าไม่เบีย ดเบี ยด ตน แล ะคน อื่น ให้ เดือดร้อน และทาจิตให้บริสุทธ์ิ เม่ือร่างกายตายก็เปื่อยเน่าในหลุมฝัง ศพ มองท่ีกุโบร์จะพบสัญลักษณ์ความส้ินสุดชีวิตจากโลกนี้ ทุกคนไม่ พ้นจากความตายได้ วิธีการแบบน้ีเหมาะกบั คนท่ีมีนิสัยใจคอแบบชอบ ของสวย ๆ งาม ๆ (๕) การตรึงจิตกับลมหายใจ โดยปกติเราหายใจ เข้า-ออกสลับกันตลอดเวลา ช่วงท่ีเหมาะกับวิธีการแบบน้ีคือช่วงน่ัง นิ่งๆ หรือการนอนพัก การรับรู้ลมหายใจเข้า-ออก สังเกตได้จากความ อุณหภูมิที่สัมผัสขอบช่องจมูก วิธีการนี้อาจหาข้อความบางอย่างมา ควบคุมใจอีกทีหน่ึงก็ได้เพ่ือไม่ละท้ิงความดีทางศาสนา เช่น ทุกการ หายใจเข้า-ออก จะกาหนดในใจถึงพระผู้เป็นเจ้า (God) ก็ได้ (๖) การ ฝกึ ฝนจิตเชงิ บวก โดยการมองหาส่ิงทด่ี ีและปรารถนาดีตอ่ ทกุ คนแมเ้ ขา จะแตกต่างจากเราก็ได้ตาม มองเห็นคนที่เจ็บปวด ทุกข์ใจ หนกั ใจฯลฯ

๗๐

ด้วยความเห็นอกเห็นใจ ฝึกความชื่นชมยินดีเมื่อแต่ละคนประสบสิ่งดี งาม และ มีความพยายามในการช่วยเหลือคนที่เดือดร้อน แต่ถ้าช่วย อะไรไม่จริง ๆ เพราะเกินความสามารถ ควรปล่อยให้ทุกอย่างเป็น อยา่ งทค่ี วรจะเป็น/ตามประสงค์ของพระผเู้ ป็นเจา้ โดยไม่เก็บมาให้เป็น ทกุ ข์ไปด้วย

๒.๓ แสวงหาแนวทางอื่น ๆ / แนวทางสนับสนุน ในการทาให้ การขัดเกลาจิตสัมฤทธิ์ผล (๑)การจากัดการรับรู้ เหมาะกับคนที่รู้ความ ทุกข์ของคนอื่นแล้วมักเศร้าใจไปด้วยและคนอารมณ์ฉุนเฉียวง่าย โดย ปกติเมื่อเราเห็นกล้วย เราจะตีความทันทีว่ากล้วย เพราะการถูกสอน มาให้รู้จักว่าส่ิงท่ีมีลักษณะแบบนั้นคือกล้วย เม่ือเราได้ยินเสียงเพลง เราจะตีความได้ทันทีว่าเพลงนี้เป็นเพลงของวง BTS การจากัดการรับรู้ คือการตัดความหมายออกให้เหลือแต่เพียงส่ิงที่รับรู้ เช่น เห็นวัตถุช้ิน หน่ึงสีเหลือง ยาวประมาณ ๑ คืบ รบั รแู้ ต่เพยี ง “วัตถุชนิ้ หน่ึง” เท่านั้น หรือ “สิ่งท่ีเห็น” เท่าน้ัน อ่านข้อความที่เพ่ือนส่งมาทางไลน์ว่า“คนใจ ง่าย” รับรู้แต่เพียง “ข้อความท่ีเห็น” เท่านั้น โดยไม่ต้องแปล ความหมายจากข้อความนั้น เคล็ดลับโดยรวมคือ “เห็นคือเห็น” และ “ได้ยินคือได้ยิน” ในกรอบความคิดท่ีว่า ถ้ารับรู้แล้วไม่ได้ทาให้จิต บริสุทธิ์/ชีวิตดีขึ้น ไม่มีประโยชน์ใด ๆ จากการรับรู้น้ัน (๒) การ แสวงหาบุคคลทางศาสนาที่พอจะช้ีแนะแนวทางในการพัฒนาจิต/

๗๑

บุคคลไม่มีศาสนาท่ีมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาจิต มาเป็น เพ่ือนร่วมพัฒนา บุคคลในความหมายนี้ไม่ใช่คนที่อาจสวดมนต์ได้เก่ง แต่ไม่เคยเข้าถึงภาวะความสงบจากการสวดมนต์หรือสาระสาคัญที่บท สวดมนต์ระบุถึง สวดสรรเสริญพระเจ้าได้อย่างคล่องแคล่วแต่ไม่เคย รับรู้ถึงวิญญาณแห่งพระองค์ท่ีเป่ียมด้วยความรัก ระลึกถึงพระเจ้าทุก คร้ังท่ีประกอบพิธีกรรมแต่ไม่เคยสัมผัสธรรมชาติแห่งพระเจ้า หากแต่ ใครก็ได้ที่สามารถถอดรหัสระหว่างสาระที่แท้จริง/ความหมายของ ข้อความน้ันและการสัมผัสความหมายนั้น การแสวงหาบุคคลแบบนี้ เพื่อให้เขาเป็นกระจกสะท้อนแนวทางท่ีเราได้ฝึกฝนและเปิดเผยเคล็ด ลับในการฝกึ จติ (๓) การใช้สมอง/ปัญญาในการตรวจสอบผลที่เกดิ จาก การฝึกจิต หากเกิดโทษให้พิจารณาและละ แต่หากเกิดประโยชน์ต่อ การทาใหใ้ จบริสุทธิ์ ควรรักษาและพัฒนาตอ่ ยอด

สันติภาพภายในจากแนวคิดทางศาสนาคือการที่จิตบริสุทธิ์ จากความเลวร้ายท่ีแต่ละศาสนาระบุถึง ด้วยความพากเพียรของมนุษย์ ในการฝึกฝนขัดเกลาจิตใจ การพิพากษาในวันส้ินโลกคือการที่ผลแห่ง ความดีงามที่บุคคลได้สะสมด้วยการฝึกฝนส่งผลให้บุคคลมีจิตสงบได้ ท่ามกลางสิง่ ต่าง ๆ

๗๒

จากเน้ือหาท่ีนาเสนอมาทั้งหมดพอท่ีจะสรุปได้ว่า สังคมพหุ วัฒนธรรมคือการท่ีสังคมมีวิถีการดาเนินชีวิตที่มากกว่า ๑ รูปแบบ หรือ “สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม” ที่สังเกตได้คือ ความคิด-ความเช่ือและวิถีปฏิบัติทีแ่ ตกตา่ งกัน ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในสังคม พหุวัฒนธรรมคือการที่บุคคลยอมรับไม่ได้ถึงความแตกต่างหลากหลาย ทางวฒั นธรรม อาจส่งผลเปน็ ความขัดแยง้ ใน ๒ แบบหลกั ๆท่พี อสงั เกต ได้การสถานการณ์ปัจจุบันคือ ความขัดแย้งทางด้านการเมือง และ ความขดั แย้งทางดา้ นสังคม กรณีที่ความขัดแย้งบานปลายจะส่งผลเป็น ความรุนแรง และความรุนแรงที่บานปลายคือหายนะในประวัติศาสตร์ โลก เฉพาะกรณีความขัดแย้งทางวัฒนธรรมทางศาสนา จะพบท้ังการ ปฏิเสธศาสนา ความขัดแย้งระหว่างศาสนา และความขัดแย้งภายใน ศาสนา สาเหตลุ กึ ๆคือ การไม่เข้าใจ/ไม่เขา้ ถงึ สาระท่แี ท้จริงของศาสนา ข้ อ เส น อ ด้ า น สั น ติ วิ ธี ข อ ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง สั น ติ ใ น สั ง ค ม พ หุ วัฒนธรรม เราอาจจาเป็นต้องปลดปล่อยความหลายหลากทาง วัฒนธรรมให้เป็นไปอย่างท่ีควรจะเป็น เพื่อรักษาเสถียรภาพของการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติของศาสนาที่พบว่ามีอยู่มากกว่า ๑ ศาสนา ขณะเดียวกัน ต่างฝา่ ยต่างควรเรยี นรู้เพ่ือการเข้าใจระหว่างกนั ในกรณี ข้อเสนอทางศาสนา หากเช่ือความมีอยู่ของพระเจ้า มนุษย์ทุกคนคือ ผลิตผลของพระองค์ หากเชื่อในธรรมชาติคัดสรร สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน

๗๓

คือการคัดสรรโดยธรรมชาติ และมีความเป็นไปได้ที่พระเจ้าและ ธรรมชาติที่ระบุถึงจะคือส่ิงเดียวกัน มนุษย์จึงมีสถานภาพแห่งเพื่อนผู้ ร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตาย สิ่งสาคัญของความเป็นมนุษย์ในวัฒนธรรมทาง ศาสนาคือ เจตภูต/จิต ท่ีมนุษย์ทุกชื่อทางศาสนาจะต้องให้ความสาคัญ ในการขัดเกลาให้บริสุทธ์ิ ด้วยวิธีการท่ีสอดคล้องกับลักษณะแห่งตน ทั้งน้ีเพอื่ สันติภาพภายในและการเข้าถงึ ธรรมชาติแหง่ พระเจ้า

๗๔

บรรณานกุ รม

สุชาติ ประสิทธ์ิรัฐสินธุ์, ศ.ดร.. (๒๕๕๓). ปรัชญาของศาสตร์สังคม. กรงุ เทพฯ: ห้างห้นุ สว่ นจากดั สามลดา.

ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล. (๒๕๖๔). มนุษย์กับสันติภาพ. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย.

ปาริชาด สุวรรณบุบผา, ผศ.ดร..(๒๕๕๒). สานเสวนา...สานใจสู่ใจ. กรุงเทพฯ: หจก.ควอลิต้ี อาร์ท.

ติช นัท ฮันท์. (๒๕๓๗). ศานติในเรือนใจ. แปลโดย ธีรเดช อุทัยวิทยา รัตน์. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์มูลนิธิโกมลคมี ทอง.

กรุณ า-เรืองอุไร กุศลาสัย. (๒๕๔๕). วาทะคานธี. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพศ์ ยาม.

เดวิด โบห์ม. (๒๕๖๒). ว่าด้วยสุนทรียสนทนา. แปลโดย เพชรรัตน์ พงษเ์ จรญิ สขุ . กรุงเทพฯ: บริษทั ภาพพิมพ์ จากดั .

พุทธทาสภกิ ข.ุ (๒๕๔๙). สันตภิ าพ. กรุงเทพฯ: มิตรสัมพันธ์. ชลธิรา สัตยาวัฒนา, ศ.ดร. และคณะ. (๒๕๕๒). วิถีสู่สันติ. กรุงเทพฯ:

สนั ตศิ ริ กิ ารพมิ พ.์ อฌิ ิอิ โยเนะโอะ, ศ.. (๒๕๕๖). ประวัติศาสตร์ ศาสนา วฒั นธรรม และ

การศกึ ษา. บรรณาธิการโดย ฉตั รทิพย์ นาถสุภาและฉลอง สุ

๗๕

นทราวาณิชย์. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์สร้างสรรค์ จากดั . แคทเธอรีน อิงแกรม. (๒๕๕๒). ตามรอยคานธี. แปลโดย ไกรวรรณ สี ดาฟองและอัฐพงศ์ เพลินพฤกษา. บรรณาธิการโดย อนิตรา พวงสุวรรณ. กรงุ เทพฯ: มูลนิธโิ กมลคีมทอง. ปีเตอร์ แอ็คเคอร์แมน และ แจ๊ค ดูวาลล์. (๒๕๕๓). พลังแห่งสันติวิธี: การยุติความขัดแย้งในรอบศตวรรษ. แปลโดย ดรุณี แซ่ลิ่ว และเนาวนิจ สิริผาติวิรัตน์. บรรณาธิการโดย สดใส ขันติว รพงศ.์ กรุงเทพฯ: บรษิ ัท แปลนพรน้ิ ท์ติ้ง จากดั . สมภาร พรมทา, ศ.ดร.. (๒๕๕๙). ชีวติ ท่ดี ี. กรงุ เทพฯ: บีพีเค พรนิ้ ติ้ง.

จากหนงึ่ เดียวขยายสหู่ ลายหลาก จากมวลมากเชื่อมหนง่ึ พงึ่ อาศัย จากโดดเดย่ี วอ้างว้างทา่ มกลางภัย คืนอบอนุ่ กลางนยั หลากใจรวม

เพราะหลากหลายจ่ึงงามตามวถิ ี เพราะมากมีแตกตา่ งทา่ มกลางร่วม เพราะย่ืนใจต่อใจสายใยรวม จึ่งไหลท่วมเปรมใจย้ิมให้กัน ธรรมชาตหิ ลากสีมหี ลากหลาย ไม่ซ้าซากมากมายใหส้ บสันต์ เพราะหลากสพี ันทางแตป่ างบรรพ์ จ่งึ หลากล้อมแตกพนั ธุ์หลายเหลา่ กอ่ จากหน่งึ หยดหยาดยอ้ ยสรู่ อ้ ยพนั จากร้อยพันคอื หมนื่ ดาษดน่ื พ่อ จากจดุ เดียวขยายมากมายตอ่ คือเหล่ากอ่ แตกกิ่งจากสิง่ เดียวฯ

มหามนต์ ชยามนต์ ๒๕๖๕

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้