ข วท ม เคร องหมายลบค อแหล งท มาของอ เล กตรอน

สางปมโกงเครื่องบรรจุนมวัวแดง ชี้หาผลประโยชน์เช่าเครื่องจักร - ผอ.อ.ส.ค.ย้ำ โปร่งใส

เผยแพร่: 12 พ.ค. 2559 19:31 ปรับปรุง: 12 พ.ค. 2559 21:14 โดย: MGR Online

ศอตช. สางปมทุจริตติดตั้งเครื่องบรรจุนมไฮสปีด ของ อ.ส.ค. มวกเหล็ก สระบุรี ผู้ร้องเรียนชี้กำลังการผลิตปัจจุบัน สวนทางกับแนวคิดเพิ่มกำลังการผลิต และเครื่องจักรเดิมรองรับได้อีกอยู่แล้ว ชี้ชัดมุ่งหาผลประโยชน์จากการเช่า ด้าน ผอ.อ.ส.ค. แจงเครื่องจักรใกล้จะเต็มศักยภาพ น้ำนมดิบเพิ่มขึ้น 10% ย้ำไม่ได้ทุจริต รวบรัดตัดตอนผิดปกติ จ่อชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันนี้ (12 พ.ค.) ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ศอตช. ได้ตรวจสอบโครงการติดตั้งเครื่องบรรจุไฮสปีด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตนมขององค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) มวกเหล็ก จ.สระบุรี และได้เชิญ นายโรจน์ สุมงคลกุล ผู้ร้องเรียนเรื่องดังกล่าวมาให้ข้อมูล

โดย นายโรจน์ ระบุว่า อ.ส.ค. ริเริ่มโครงการเช่าเครื่องผลิตนมยูเอชที เพิ่มกำลังผลิตไม่น้อยกว่า 23,000 กล่องต่อชั่วโมง จำนวน 3 เครื่อง รวม 69,000 กล่องต่อชั่วโมง มีผลให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้น 80 เปอร์เซ็นต์ ด้วยข้ออ้างกับบอร์ด อ.ส.ค. ว่า ปี 2560 จะมีน้ำนมดิบ 320 ตันต่อวัน ซึ่งไม่เป็นความจริง เพราะนมดิบปัจจุบัน มีเพียง 250 ตันต่อวัน ปริมาณการเติบโตนมดิบเพิ่มขึ้นปีละ 6 - 9 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น

อีกทั้งเครื่องจักรที่ผลิตอยู่ในปัจจุบันมีการใช้งานเพียง 70 - 80 เปอร์เซ็นต์ ยังสามารถรองรับปริมาณนมดิบได้อีก 20 เปอร์เซนต์ จึงขัดกับข้อเท็จจริง และแสดงให้เห็นว่าโครงการนี้ มุ่งแสวงหาผลประโยชน์จากการเช่าเครื่องจักร มากกว่าความจำเป็น และไม่สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณนมดิบ และเอกชนเสนอเพิ่มกำลังผลิตเป็น 180,000 กล่องต่อชั่วโมง โดย นายนพดล ตันวิเชียร รักษาการ ผอ.อ.ส.ค. อนุมัติเห็นชอบแล้ว ต่อมามีความพยายามให้บอร์ด อ.ส.ค. กลับมาพิจารณาโครงการนี้อีกครั้ง จนกระทั่งเดือน ก.พ. ที่ผ่านมา บอร์ด อ.ส.ค. ได้อนุมัติเช่าเครื่องจักร ผูกพันเป็นระยะเวลา 7 ปี วงเงิน 420 ล้านบาท ค่ากระดาษผลิตกล่องปีละกว่า 300 ล้านบาท ทำให้โครงการนี้มีมูลค่าสูงกว่า 3,000 ล้านบาท

นายโรจน์ กล่าวว่า กระบวนการมีการรวบรัดเริ่มจาก 19 มี.ค. ทาง อ.ส.ค. เซ็นสัญญาอนุมัติข้อกำหนดของผู้ว่าจ้าง (ทีโออาร์) และเชิญบริษัทจำหน่ายเครื่องจักร 2 ราย มารับเอกสารทีโออาร์ วันที่ 23 มี.ค. โดยกำหนดกรอบเวลา คือ วันที่ 25 มี.ค. ดูสถานที่ตั้งเครื่องจักร 10 วัน คือ วันที่ 4 เม.ย. ให้ทำการยื่นเสนอราคา พร้อมประกาศผลในวันเดียวกัน และต่อมาวันที่ 27 เม.ย. มีการลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง กำหนดส่งมอบเครื่องจักรใน 270 วัน ส่วนเอกชนคู่สัญญาเดิม ได้มีหนังสือจากหัวหน้าสำนักงาน อ.ส.ค. ภาคกลาง ให้ชะลอแผนขยายกำลังการผลิตที่ได้รับความเห็นชอบไปก่อนหน้านี้แล้ว

ด้าน นายณรงค์ฤทธิ์ วงศ์สุวรรณ ผอ. อ.ส.ค. ชี้แจงกับสื่อมวลชน ว่า ในแต่ละปีปริมาณน้ำนมดิบจากฟาร์มของ อ.ส.ค. และจากสมาชิกสหกรณ์ จะเพิ่มขึ้น 10 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่เครื่องจักรที่มีอยู่ ผลิตได้ในประมาณที่ใกล้จะเต็มศักยภาพ จึงจำเป็นต้องบริหารความเสี่ยงไม่ให้น้ำนมดิบของสมาชิกตกค้าง อีกทั้งโครงการดังกล่าวทาง บอร์ด อ.ส.ค. รับทราบมาทุกยุคทุกสมัย แต่ไม่มีชุดไหนตัดสินใจ กระทั่งตนเข้ามาดำรงตำแหน่งจึงได้ดำเนินการเรื่องนี้อย่างจริงจัง จนบอร์ดชุดปัจจุบันเห็นชอบให้ดำเนินการเช่าเครื่องจักรได้ และโครงการนี้ อ.ส.ค. ไม่ได้จ่ายเงินเพื่อการลงทุนติดตั้งเครื่องจักร 420 ล้านบาท ไม่ใช่งบลงทุน แต่เป็นการเช่าเครื่องจักร ดังนั้น จึงไม่ต้องผ่านการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งไม่ต้องผ่านคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ความเห็นชอบ

“ยุคนี้ไม่มีใครกล้าทำเรื่องทุจริต และได้ย้ำกับเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ว่า ต้องดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายอย่างโปร่งใส การจัดซื้อจัดจ้าง ไม่ได้รวบรัดขั้นตอนอย่างผิดปกติ การลงนาม และการเปิดทีโออาร์ ไม่ได้เอื้อประโยชน์ให้กับใคร มีเจตนาให้แข่งขันโดยเสรี โดยการประมูลในครั้งนี้ กว่าจะติดตั้งเครื่องแล้วเสร็จต้องใช้เวลาเป็นปี” นายณรงค์ฤทธิ์ กล่าวและว่า ตนได้เตรียมเอกสารทั้งหมดเพื่อเข้าชี้แจงต่อ ป.ป.ท. และดีเอสไอแล้ว รวมถึงจะเข้าชี้แจงต่อ พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รมว.เกษตรและสหกรณ์ ด้วย

1......................................................... ประธาน 5..........................................................

2.......................................................... เลขา 6..........................................................

3.......................................................... 7 ..........................................................

4........................................................... 8..........................................................

ไอออนแบบอะตอมเดียวและหลายอะตอม จะเขียนระบุด้วยเครื่องหมายประจุรวมทางไฟฟ้า และจำนวนอิเล็กตรอนที่สูญเสียไปหรือได้รับมา (หากมีมากกว่า 1 อะตอม) ตัวอย่างเช่น H+, SO32-

กลุ่มไอออนที่ไม่แตกตัวในน้ำหรือแม้แต่ก๊าซที่มีส่วนของอนุภาคที่มีประจุ จะเรียกว่า พลาสมา (plasma) ซึ่งถือเป็น สถานะที่ 4 ของสสาร เพราะคุณสมบัติของมันนั้น แตกต่างไปจากของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ

พลังงานที่ต้องใช้[แก้]

พลังงานที่ต้องการใช้เพื่อดึงอิเล็กตรอนในสถานะพลังงานต่ำสุด จากอะตอม หรือโมเลกุลสารใด ๆ ในสถานะก๊าซ ที่มีประจุสุทธิทางไฟฟ้าน้อยกว่า เรียกว่า ความสามารถในการทำให้เกิดไอออน (ionization potential หรือ ionization energy) พลังงานในการทำให้เกิดไอออนลำดับที่ n ของอะตอม ถือพลังงานที่ต้องใช้เพื่อดึงอิเล็กตรอนตัวที่ n หลังจากอิเล็กตรอนตัวที่ n-1 ถูกดึงออกไปแล้ว

ตัวอย่างเช่น โซเดียม มีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ตัว ในชั้นอิเล็กตรอนนอกสุด ดังนั้น ในรูปที่เป็นไอออน จึงมักจะพบในรูปที่สูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว นั่นคือ Na+ ส่วนอีกฝากหนึ่งของตารางธาตุ คลอรีนนั้นมีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 7 ตัว ดังนั้น รูปไอออนของมันที่พบทั่วไป จึงรับอิเล็กตรอนไว้ 1 ตัว นั่นคือ Cl- สำหรับธาตุแฟรนเซียมนั้นมีพลังงานในการสร้างไอออนต่ำที่สุดในบรรดาธาตุทั้งหมด ส่วนฟลูออรีนนั้นมีพลังงานมากที่สุด

ไอออนอื่น ๆ[แก้]

ไดแอนไออน (dianion) คือ ไอออนที่มีประจุลบ 2 ตัว ตัวอย่างเช่น ไดแอนไออนของเพนทาลีน (pentalene) คือ aromatic ส่วนซวิตเตอไรออน (zwitterion) เป็นไอออนที่มีประจุสุทธิเป็นศูนย์ แต่ประกอบด้วยประจุทั้งบวกและลบในตัวเอง

ประวัติ[แก้]

ไมเคิล ฟาราเดย์ ได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับไอออนขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2373 เพื่อบรรยายถึงส่วนของโมเลกุลที่เดินทางไปยังแอโนดหรือแคโทด อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการอธิบายถึงกลไกที่ทำให้เกิดกระบวนการดังกล่าว กระทั่งปี พ.ศ. 2427 สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius) ได้ทำการวิจัยขณะเขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของเขา ในเบื้องต้นนั้นทฤษฎีของเขายังไม่เป็นที่ยอมรับ แต่ในที่สุดวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขาก็สามารถทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ประจำปี พ.ศ. 2446 ได้

การใช้งาน[แก้]

ไอออนนั้นมีความจำเป็นสำหรับชีวิต ไอออนของโซเดียม โพแทสเซียม และแคลเซียม และไอออนอื่น ๆ มีบทบาทสำคัญในเซลของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะในเซลเมมเบรน ไอออนเหล่านี้มีการใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมาก เช่น ตัวตรวจจับควัน และยังพบในการใช้เทคโนโลยีแบบใหม่ เช่น เครื่องยนต์ไอออน (ion engine) และปืนใหญ่แบบใช้ไอออน (ion cannon)

ประวัติคำ[แก้]

คำว่า "ไอออน" เป็นชื่อที่ไมเคิล ฟาราเดย์ได้ตั้งขึ้น เป็นคำยืมมาจากภาษากรีก : ἰόν (หมายถึง อนุภาคที่ปรากฏความเป็นกลาง จากคำว่า ἰέναι หมายถึง ไป, คำว่า "ไอออน" จึงหมายถึง ผู้ไป ส่วน "แอนไอออน" (ἀνιόν) และ "แคทไอออน" (κατιόν) หมายถึง สิ่งที่กำลังขึ้น และสิ่งที่กำลังลง ตามลำดับ ขณะที่ "แอโนด" มาจาก อานอดอส (ἄνοδος) และ "คาโถด" มาจาก คาธอดอส (κάθοδος) หมายถึง การเคลื่อนขึ้น และการเคลื่อนลง ตามลำดับ จากศัพท์ อาดอส (ὁδός) หมายถึง ทาง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้