ก จกรรม ผลของแสงสว างท ม ต อการมองเห น

วิทยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทที่ 5 | เสียง 185 อภปิ รายหลังท�ำ กิจกรรม ครกู บั นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายจนไดข้ อ้ สรปุ วา่ เมอ่ื แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี ง 2 แหลง่ มคี วามถ่ี เทา่ กนั จะไดย้ นิ เสยี งดงั สม�ำ่ เสมอตอ่ เนอ่ื งกนั แตเ่ มอ่ื ความถแ่ี ตกตา่ งกนั เลก็ นอ้ ยจะไดย้ นิ เสยี ง ดงั และคอ่ ย สลบั กนั เปน็ จงั หวะ เรยี กวา่ บตี ของเสยี ง เมอื่ ความถแ่ี ตกตา่ งกนั มากขนึ้ เสยี งดงั ค่อยสลับกันจะมีจำ�นวนคร้ังที่ได้ยินในหนึ่งหน่วยเวลาเรียกว่า ความถี่บีต มีค่ามากข้ึน และ เม่ือความถ่ีแตกต่างกันมากข้ึนต่อไป มนุษย์จะไม่สามารถได้ยินเสียงดังสลับค่อยเป็นจังหวะ ได้ ครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ เร่ืองการทีเ่ สียงดงั สลบั คอ่ ยดังกลา่ ว เกิดจากการรวมคล่ืน ใช้ภาพการ เกดิ บีตจากคลน่ื เสียงสองคล่นื ทม่ี ีความถต่ี า่ งกันเลก็ น้อยประกอบการอธิบายตามบทเรยี น ครชู แ้ี นะเพมิ่ เตมิ ความแตกตา่ งกจิ กรรมการรวมคลนื่ จะไดย้ นิ เสยี งดงั สลบั คอ่ ยนกั เรยี น ต้องเคล่ือนที่เปลี่ยนตำ�แหน่งการฟัง แต่กิจกรรมบีตจะได้ยินเสียงดังสลับค่อยขณะนักเรียน อยู่น่งิ 5.3.4 ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื นทอ่ี าจเกดิ ขึ้น - แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูช้แี จงจุดประสงค์การเรยี นรขู้ ้อที่ 12 หัวขอ้ 5.3 ตามหนงั สอื เรยี น ครตู งั้ ค�ำ ถามวา่ นกั เรยี นเคยสงั เกตเสยี งรถพยาบาลหรอื รถกภู้ ยั ทเี่ ปดิ ไซเรนวง่ิ ผา่ นดว้ ยความเรว็ สูงหรือไม่ ลักษณะของเสียงท่ีได้ยินเป็นอย่างไรให้ตอบอย่างอิสระ จากนั้นครูเปิดคลิปวีดิทัศน์รถ พยาบาลท่ีเปิดไซเรนว่ิงผ่านด้วยความเร็วสูงพร้อมตั้งคำ�ถามว่าความถี่เสียงที่ได้ยินจากคลิปวีดิทัศน์มี ลักษณะอย่างไรขณะรถว่งิ เขา้ หาเรา และขณะว่งิ ผ่านเราไปแลว้ เพื่อนำ�เข้าสูก่ ิจกรรม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | เสยี ง วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 186 กิจกรรม 5.6 ดอปเพลอร์ จุดประสงค์ 1. สังเกตและอธบิ ายปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เวลาท่ใี ช้ 25 นาที วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1 ชดุ 1. แหล่งกำ�เนดิ เสยี ง พร้อมถงุ ผ้า 1 เสน้ 2. เชือกยาวประมาณ 1 เมตร ข้อเสนอแนะการท�ำ กจิ กรรม ครูจดั กิจกรรมโดย จัดให้แหลง่ ก�ำ เนิดเสยี งผลติ เสียงความถเ่ี ดียวเคล่ือนที่ ให้ผฟู้ งั สงั เกตเสยี งทีไ่ ดย้ นิ ว่ามคี วามถ่เี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไร ในช่วงท่แี หลง่ กำ�เนิดเสียงเคล่ือนท่ี เข้าหา เคล่อื นทีผ่ ่าน และเคลือ่ นท่อี อกจากนักเรยี น แหลง่ ก�ำ เนิดเสยี งอาจใช้โทรศัพทม์ อื ถอื ที่มแี อปพลิเคชนั ผลิตเสยี งความถีเ่ ดียวได้ หรือลำ�โพงขนาดเลก็ ท่ีตอ่ กับแหล่งกำ�เนดิ เสียง เน่อื งจากเราคงไม่สะดวกที่จะใหแ้ หล่งก�ำ เนิดเสียงเคลอ่ื นทีแ่ นวตรงเปน็ ระยะไกลได้ จึงน�ำ มาแกวง่ ใหเ้ ปน็ วงกลมแทน จะได้ยนิ เสยี งความถีส่ งู -เสียงความถีต่ ่ำ� เปลี่ยนแปลงสลบั กนั ไปขณะแกวง่ ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ เสียงเคล่อื นที่เข้าหาผฟู้ ัง ผฟู้ งั จะได้ยินเสยี งแหลมข้นึ ขณะแหลง่ ก�ำ เนิดเสียงเคลอ่ื นทอี่ อกจากผู้ฟงั ผฟู้ งั จะได้ยนิ เสียงท้มุ ลง สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทที่ 5 | เสียง 187 แนวค�ำ ตอบค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม เม่ือแหล่งกำ�เนิดเสียงเคลื่อนท่ีเข้าหาผู้ฟังและเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟัง เสียงท่ีได้ยินใน แตล่ ะชว่ งแตกตา่ งกันอยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ขณะแหลง่ กำ�เนดิ เสยี งเคล่อื นทีเ่ ข้าหาผฟู้ ัง ผฟู้ งั จะไดย้ นิ เสยี งแหลมขึน้ ขณะแหลง่ กำ�เนดิ เสียงเคล่อื นท่ีออกจากผู้ฟงั ผฟู้ งั จะได้ยินเสยี งท้มุ ลง เมอื่ แกวง่ แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งใหม้ อี ตั ราเรว็ เพม่ิ ขน้ึ ขณะเคลอ่ื นทเี่ ขา้ หาผฟู้ งั และเคลอ่ื นท่ี ออกจากผฟู้ งั เสียงท่ีไดย้ นิ ในแตล่ ะช่วงแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หาผฟู้ งั ผฟู้ งั จะไดย้ นิ เสยี งแหลมมาก ยง่ิ ขน้ึ ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งเคลอ่ื นทอ่ี อกจากผฟู้ งั ผฟู้ งั จะไดย้ นิ เสยี งทมุ้ ลงยง่ิ ขน้ึ อภิปรายหลังทำ�กจิ กรรม ครูกับนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า เม่ือแหล่งกำ�เนิดเสียงเคลื่อนที่เป็น วงกลมโดยผฟู้ งั อยนู่ ง่ิ ผฟู้ งั จะไดย้ นิ เสยี งแหลมขน้ึ ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งเคลอื่ นทเี่ ขา้ หาผฟู้ งั และจะไดย้ นิ เสยี งทมุ้ ลง ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งเคลอื่ นทอ่ี อกจากผฟู้ งั จากกจิ กรรมเมอ่ื แหลง่ กำ�เนิดเสียงเคล่ือนท่ีทำ�ให้ผู้ฟังที่อยู่น่ิงได้ยินเสียงมีความถ่ีเปลี่ยนไปจากเดิมเรียก ปรากฏการณ์นว้ี า่ ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ จากนั้นครูให้ความรู้เพิ่มเติมถึงกรณีต่างๆของปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ได้แก่ กรณี แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งเคลอ่ื นทโ่ี ดยผฟู้ งั อยนู่ ง่ิ กรณผี ฟู้ งั เคลอ่ื นทโ่ี ดยแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งอยนู่ ง่ิ หรอื ท้ังผู้ฟังและแหล่งกำ�เนิดเสียงเคลื่อนที่ ทำ�ให้ผู้ฟังได้ยินเสียงมีความถี่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่นกัน ตามรายละเอยี ดในหนังสอื เรยี น สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 5 | เสียง วิทยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 188 กิจกรรมลองท�ำ ดู จดุ ประสงค์ 1. สงั เกตและอธบิ ายลกั ษณะของหนา้ คลน่ื เมอ่ื แหลง่ ก�ำ เนดิ คลน่ื เคลอ่ื นท่ี วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1. ถาดใสน่ �ำ้ 2. ดนิ สอปลายแหลม ตัวอยา่ งผลการท�ำ กิจกรรม 1. น�ำ ปลายดนิ สอจมุ่ น�้ำ ขยบั ขน้ึ ลงเปน็ จงั หวะสม�ำ่ เสมอท�ำ ใหเ้ กดิ คลน่ื ตอ่ เนอื่ ง ขณะแหลง่ ก�ำ เนดิ คลน่ื อยนู่ ง่ิ พบวา่ เกดิ คลน่ื วงกลมเคลอ่ื นทอี่ อกไปทกุ ดา้ น โดยมรี ะยะหา่ งสนั คลน่ื ทุกดา้ นเท่ากัน 2. ท ำ�ซำ้�โดยเคล่ือนปลายดินสอที่ทำ�ให้เกิดคล่ืนไปทางขวาช้าๆ สังเกตลักษณะของคล่ืน น้ำ�วงกลมเม่ือปลายดินสอเคลื่อนที่ไป พบว่าระยะห่างสันคล่ืนด้านหน้าของแหล่ง ก�ำ เนดิ คลน่ื จะชดิ กันมากกว่าดา้ นหลงั แหลง่ ก�ำ เนดิ แสดงวา่ เม่อื แหล่งกำ�เนิดเคล่อื นที่ ผู้สังเกตจะพบวา่ คลื่นดา้ นหนา้ แหลง่ กำ�เนิดมีความถี่มากกวา่ ด้านหลงั แหลง่ ก�ำ เนดิ 3. เม่อื เปรียบเทียบคล่นื น้�ำ กับคล่นื เสียง ทำ�นองเดยี วกนั แหล่งก�ำ เนดิ เสยี งเคลอ่ื นที่ ผู้ฟัง ดา้ นหนา้ แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งจะไดย้ นิ เสยี งมคี วามถส่ี งู ขนึ้ กวา่ ความถปี่ กติ สว่ นผฟู้ งั ดา้ น หลงั แหลง่ ก�ำ เนิดเสียงจะได้ยนิ เสียงมีความถ่ีต�่ำ ลงกวา่ ความถป่ี กติ แนวการวดั และประเมินผล 1. ความรู้เกี่ยวกับเสียงสะท้อนกลับ เสียงก้อง บีต การสั่นพ้องของเสียง และปรากฏการณ์ ดอปเพลอรจ์ ากการอภปิ รายรว่ มกัน การสรปุ แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกต และ การลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการอภปิ รายรว่ มกนั เกยี่ วกบั ผลการสงั เกต 3. ทักษะการพยากรณ์ จากการตอบคำ�ถามเกี่ยวกับการรวมคล่ืนของคล่ืนเสียงท่ีมีความถ่ีต่างกัน เลก็ น้อย 4. จ ิตวิทยาศาสตร์ด้านความอยากรู้อยากเห็นและความมีเหตุผลจากการร่วมทำ�กิจกรรม การ อภปิ รายร่วมกันและการสรุป สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 5 | เสยี ง 189 แนวค�ำ ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 5.3 1. ขณะอยใู่ นสนามกฬี าแล้วตะโกนเชยี ร์ พบว่าไดย้ ินเสยี งตวั เองอกี ครง้ั เกดิ จากปรากฏการณใ์ ดของ เสยี ง แนวคำ�ตอบ เกดิ เสียงสะท้อนกลับ 2. เมือ่ เลน่ เครอ่ื งดนตรปี ระเภทเปา่ เช่น แตร การเป่าลมเข้าไปในแตร เหตใุ ดเสยี งจึงดงั แนวคำ�ตอบ เครื่องดนตรีประเภทเป่าจะมีตัวกำ�เนิดเสียงเช่น ลิ้น ที่ทำ�ให้เกิดเสียง โดยเสยี งทเ่ี กดิ ขนึ้ จะสน่ั พอ้ งกบั ล�ำ อากาศในทอ่ ของเครอื่ งดนตรี ท�ำ ใหเ้ กดิ เสยี งความถนี่ นั้ ๆ ดงั ทส่ี ดุ 3. รถดับเพลิงที่เปิดไซเรนว่ิงผ่านเรา ขณะรถวิ่งเข้าหา และเมื่อรถวิ่งผ่านเราไปแล้วเราจะได้ยินเสียง เป็นอยา่ งไร และเรยี กวา่ ปรากฏการณใ์ ด แนวคำ�ตอบ ขณะรถว่ิงเข้าหาเราจะได้ยินเสียงแหลมข้ึน เมื่อรถว่ิงผ่านเราไปแล้วเราจะได้ยิน เสยี งทมุ้ ลงเรียกว่า ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ 4. ข ณะปรับเทียบเสียงสายกีต้าร์แล้วได้ยินเสียงดัง-ค่อยสลับกันเป็นจังหวะ เสียงแสดงพฤติกรรมใด และเรยี กวา่ ปรากฏการณ์ใด แนวค�ำ ตอบ เสียงแสดงพฤตกิ รรมการรวมคลนื่ ที่มคี วามถีต่ า่ งกนั เรียกว่า บีตของเสยี ง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 5 | เสียง วิทยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 190 5.4 ประโยชน์ของเสยี งในดา้ นต่างๆ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ยกตวั อยา่ งการนำ�ความรู้เก่ยี วกับเสียงไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำ�วัน ความเขา้ ใจคลาดเคลื่อนทอี่ าจเกิดขึน้ - สิง่ ทค่ี รูต้องเตรยี มล่วงหนา้ 1. อุปกรณ์ตรวจวัดระดบั เสยี งและความถีเ่ สียง แนวการจดั การเรยี นรู้ ครชู แ้ี จงจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ข้อที่ 13 ในหัวข้อ 5.4 ตามหนงั สอื เรียน ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนทำ�กิจกรรม เช่น เปิดเพลงท่ีมีท่วงทำ�นองและจังหวะที่แตก ตา่ งกันให้นกั เรียนฟงั แลว้ ตัง้ คำ�ถามให้นกั เรียนอภิปรายเก่ียวกบั ความรสู้ กึ ท่ไี ด้จากการฟังเพลง และ ความเหมาะสมของเพลงท่ไี ด้ยินกับการน�ำ ไปเปิดในสถานทต่ี า่ ง ๆ ต้งั คำ�ถามวา่ นอกจากเสยี งจะช่วย สร้างให้เกิดความรู้สึกต่าง ๆ แล้ว ความรู้เกี่ยวกับเสียงสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในด้านใดได้อีกบ้าง อภปิ รายรว่ มกนั ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ และสบื คน้ เกย่ี วกบั การน�ำ ความรเู้ รอ่ื งเสยี งมาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ น ต่าง ๆ ในชีวิตประจ�ำ วันเชน่ การเดนิ เรือและการประมง ดา้ นการแพทย์ การเกษตร การสนั่ พอ้ งของ เสยี งในการออกแบบเครอื่ งดนตรี ออกแบบอาคารสถานท่ี เปน็ ตน้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นน�ำ เสนอ ครแู ละ นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายจนไดข้ อ้ สรปุ เกย่ี วกบั การน�ำ ความรเู้ กย่ี วกบั เสยี งไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ การเดนิ เรอื และการประมงใช้คล่นื เสยี งความถี่สงู จากเครอ่ื งโซนารใ์ นการระบุตำ�แหนง่ วัตถุที่ อยใู่ ตน้ �ำ้ เปน็ ตน้ ครอู าจใหน้ กั เรยี นอา่ นรหู้ รอื ไม่ ในหนา้ 177 ในหนงั สอื เรยี นโดยครคู อยใหค้ �ำ แนะน�ำ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 5 | เสียง 191 แนวการวดั และประเมนิ ผล 1. ความรเู้ กยี่ วกบั การน�ำ ความรเู้ รอ่ื งเสยี งมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั จากการอภปิ รายรว่ มกนั การสรุปการตอบค�ำ ถาม แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ 2. ทกั ษะการสอื่ สาร จากการน�ำ เสนอ 3. ทักษะการท�ำ งานร่วมกัน จากการร่วมกันสบื คน้ ขอ้ มลู และนำ�เสนอ 4. จ ิตวิทยาศาสตร์ด้านความอยากรู้อยากเห็นและความร่วมมือช่วยเหลือจากข้อมูลที่ได้จากการ สืบค้น การอภิปรายรว่ มกัน 5. จ ิตวิทยาศาสตร์ด้านการเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากการอภิปรายร่วมกัน การตอบคำ�ถาม และการนำ�เสนอ แนวค�ำ ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 5.4 1. ประโยชน์ของคลืน่ เสยี งในด้านอ่นื ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั ชวี ิตประจำ�วันมอี ะไรอกี บ้าง อธบิ าย แนวค�ำ ตอบ ปัจจบุ ันคล่ืนอัลตราซาวดเ์ ป็นคล่นื เสยี งความถส่ี งู สามารถน�ำ ไปใช้ ประโยชนใ์ นการท�ำ ความสะอาด แว่นตา แหวนเพชร โดยใช้เครื่องลา้ งอัลตร้าโซนิก ท�ำ ให้ฝุ่นและสงิ่ สกปรกหลุดออกไปจากผวิ แวน่ ตาและแหวนเพชรได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | เสยี ง วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 192 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 5 1. จากรปู แสดงระดับเสยี งจากแหลง่ กำ�เนดิ เสียงต่าง ๆ ดา้ นล่าง ใหต้ อบค�ำ ถามข้อท่ี 1.1 – 1.2 1.1 ร ะดับเสยี งที่อ่านได้ ของการจราจรบนท้องถนน ส�ำ นักงาน ห้องสมดุ มีคา่ เท่าไร แนวค�ำ ตอบ การจราจรบนทอ้ งถนน 80 dB สำ�นักงาน 70 dB และ ห้องสมุด 40 dB 1.2 เสียงจากแหลง่ กำ�เนิดใดควรต้องสวมเครอื่ งป้องกนั เสียงท่อี าจเปน็ อันตรายต่อหู แนวค�ำ ตอบ เครื่องเจาะถนน และเคร่ืองบินก�ำ ลงั ทะยานขึ้นทอ้ งฟา้ 2. ยกตวั อย่างสิ่งมีชวี ิตอยา่ งนอ้ ย 2 ชนิดที่ใช้พฤติกรรมเสยี งในการด�ำ รงชีวติ และใชอ้ ยา่ งไร แนวคำ�ตอบ ค้างคาว ใช้การสะท้อนของเสียงในการหาอาหาร โลมา ใช้การสะท้อนของ เสียงในการหาอาหาร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทที่ 5 | เสยี ง 193 3. ก ารไดย้ ินเสียงของคนปกติ ข้ึนอยู่สง่ิ ใดของเสยี ง อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ความถี่ประมาณ 20-20000 Hz และระดบั เสยี งตงั้ แต่ 0 dB ข้นึ ไป โดย ตงั้ แต่ 120 dB ขึน้ ไปจะเกดิ การเจบ็ ปวด 4. เมื่อเทียบสายขิม 2 ตัว ที่เสียงตัวโน้ตเดียวกัน แล้วได้ยินเสียง ดัง-ค่อย สลับกันเป็น จงั หวะ เน่ืองมาจากสาเหตุใด แนวค�ำ ตอบ เกดิ บตี เน่ืองจากสายขิม 2 ตวั น้ี ยังปรับต้งั ความถไ่ี ดไ้ ม่เท่ากนั แตกต่าง กนั อยูเ่ ล็กน้อย 5. เมอื่ เราร้องเพลงในห้องน้ำ�แล้วได้ยนิ เสียงตัวเองก้องกังวาน มากกว่าการร้องเพลงในที่ โลง่ แจง้ เนอื่ งจากสาเหตใุ ด แนวคำ�ตอบ เนื่องจากเม่ือออกเสียงในบริเวณท่ีแคบ เสียงมีการสะท้อนเดินทางกลับ มาหลงั จากสง่ เสยี งออกไปโดยใช้เวลาน้อยกวา่ 1/10 วินาที ขณะทเี่ สยี งเดิมยงั ค้างอยู่ ในหู เราจึงไดย้ ินเสียงนานข้นึ กว่าปกติ 6. ห อประชมุ ทมี่ กี ารตดิ ตงั้ ล�ำ โพง 2 ตวั ดา้ นหนา้ เวทแี ละสง่ เสยี งเหมอื นกนั ผทู้ น่ี ง่ั แถวหนา้ ได้ยนิ เสียงดงั แตกตา่ งกนั เกดิ จากพฤตกิ รรมใดของเสียง แนวค�ำ ตอบ เสยี งจากล�ำ โพงทง้ั สองตวั สามารถเกดิ การรวมคลน่ื ได้ ท�ำ ใหบ้ างต�ำ แหนง่ ท่ีคล่ืนรวมกันแบบเสริมทำ�ให้ได้ยินเสียงดัง บางตำ�แหน่งท่ีคลื่นรวมกันแบบหักล้าง ทำ�ใหไ้ ด้ยินเสียงเบา 7. การเล่นดนตรีแก้วซ่ึงใส่น้ำ�ในระดับต่างกันเมื่อถูขอบแก้วทำ�ให้เกิดเสียงดังข้ึนเป็น ปรากฏการณ์ใดของเสียง แนวคำ�ตอบ การส่นั พ้องของเสียง 8. ก ารฝกึ สุนัขโดยใช้นกหวีดสำ�หรับฝกึ สนุ ัขเป่าใหส้ นุ ัขท�ำ ตามคำ�สัง่ เหตใุ ดสุนัขจงึ ไดย้ ิน เสียงนกหวดี ในขณะท่ีคนไมไ่ ด้ยนิ แนวคำ�ตอบ สนุ ขั สามารถไดย้ นิ เสียงในชว่ งความถ่สี งู กว่าที่มนษุ ยไ์ ดย้ นิ และนกหวดี ฝึกสุนขั สร้างเสียงความถี่สงู กวา่ ทีม่ นุษยไ์ ดย้ นิ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 5 | เสียง วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 194 9. ค นกลุ่มหน่ึงยืนรอข้ามถนน ขณะน้ันมีรถยนต์เร่งความเร็วแล่นผ่าน โดยบีบแตรเสียง ยาวเป็นการเตอื น คนที่ยืนรอข้ามถนนจะได้ยินเสียงแตรรถมีความถเี่ ปลี่ยนไปอย่างไร ในขณะรถวง่ิ เขา้ หา และออกจากคนกลุ่มน้ี แนวคำ�ตอบ เมื่อรถบีบแตรวง่ิ เข้าหา กลมุ่ คนจะได้ยนิ เสยี งแตรมคี วามถสี่ งู ข้นึ เม่ือรถ บีบแตรวิง่ ออกจากกลุ่มคนจะไดย้ นิ เสยี งแตรมีความถีต่ ำ่�ลง 10. ให้นักเรียนสืบค้น มีแหล่งกำ�เนิดเสียงใดนอกเหนือท่ีระบุในตาราง 5.1 ที่มีระดับเสียง เป็นอันตรายต่อหูมนุษย์ แนวคำ�ตอบ เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม เสียงระเบดิ ตา่ งๆ 11. ตารางท่ี 5.2 ระดบั เสียงท่ดี งั ตอ่ เน่อื งกับระยะเวลาทอี่ นญุ าตให้คนงานท�ำ งานได้ตอ่ วนั ตามกฎหมายแรงงาน ใหต้ อบค�ำ ถามข้อ 11.1-11.2 11.1 จ ะต้องลดระยะเวลาการทำ�งานลงครึ่งหน่ึงของเวลาเดิมเม่ือระดับเสียง เปลย่ี นแปลงอยา่ งไร แนวคำ�ตอบ เมื่อระดบั เสียงเพ่มิ ขึ้นจากเดมิ 3 เดซเิ บล 11.2 ในงานทมี่ กี ารเปิดเสียงเพลง 121 dB สามารถอยใู่ นงานได้นานเท่าใด แนวค�ำ ตอบ อยไู่ ดน้ านเพยี ง 7.03 วนิ าที 12. ถา้ เราจ�ำ เปน็ ตอ้ งอยใู่ นพน้ื ทที่ ม่ี รี ะดบั เสยี งมากเปน็ เวลานาน เรามวี ธิ ใี ดทจ่ี ะปอ้ งกนั เสยี ง แนวคำ�ตอบ ใช้เคร่อื งป้องกันหจู ากเสียงดงั เป็นท่ีอดุ หูหรือครอบหไู ว้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทท่ี 6 | แสงสี 195 บทท่ี 6 ipst.me/8836 แสงสี ตัวช้ีวดั 1. ส งั เกตและอธบิ ายการมองเหน็ สขี องวตั ถุ และความผดิ ปกตใิ นการมองเหน็ สี 2. สงั เกตและอธบิ ายการท�ำ งานของแผน่ กรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการน�ำ ไปใช้ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัด ตวั ชว้ี ดั 1. สงั เกตและอธบิ ายการมองเหน็ สขี องวตั ถุ และความผดิ ปกตใิ นการมองเหน็ สี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สงั เกตและอธบิ ายการมองเหน็ สขี องวตั ถุ 2. อธบิ ายตากบั การเหน็ สขี องมนษุ ย์ 3. สงั เกตและอธบิ ายการบอดสี ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การสงั เกต (สบี นวตั ถจุ ากการ 1. ก า ร คิ ด อ ย่ า ง มี วิ จ า ร ณ 1. ความมีเหตุผล(จากการใช้ ทำ�กิจกรรมการฉายแสงบาง ญาณ (จาการอภิปรายและ หลักฐานและเหตุผลในการ สีบนวัตถุสีตา่ งๆ) ลงข้อสรุปเก่ียวกับการมอง อภปิ ราย) เหน็ สขี องวตั ถ)ุ 2. การลงความเห็นจากข้อมูล ( จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร สงั เกต) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 196 ตวั ชว้ี ดั 2. ส งั เกตและอธบิ ายการท�ำ งานของแผน่ กรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการน�ำ ไปใช้ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สงั เกตและอธบิ ายการท�ำ งานของแผน่ กรองแสงสี 2. สงั เกตและอธบิ ายการผสมแสงสี 3. อธบิ ายแสงสปี ฐมภมู ิ 4. สงั เกตและอธบิ ายการผสมสารสี 5. อธบิ ายสารสปี ฐมภมู ิ 6. อธบิ ายการมองเหน็ สขี องวตั ถภุ ายใตแ้ สงสตี า่ งๆ 7. อธบิ ายการผสมแสงสแี ละการผสมสารสสี ามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การสังเกต (สีบนฉาก และสี 1. การส่ือสาร (การนำ�เสนอ) 1. ความมีเหตุผล (จากการใช้ ต่างๆ จากการผสมแสงสี 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็น หลักฐานและเหตุผลในการ และการผสมสารสี) อภปิ รายและสรุป) ทีมและภาวะผู้น�ำ (การสบื ค้น 2. การจำ�แนกประเภท (จำ�แนก และการนำ�เสนอ) 2. ค วามร่วมมือช่วยเหลือ (การ แสงสี และสารสีปฐมภมู ิ และ สืบคน้ และการนำ�เสนอ) แสงสี และสารสีทุตยิ ภูมิ 3. ก ารเห็นคุณค่าวิทยาศาสตร์ 3. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู (จากการแสดงออกถึงการรับ ( จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร รู้และยอมรับในการนำ�ความ สังเกตในกิจกรรมแผ่นกรอง รดู้ า้ นการผสมแสงสี การผสม แสงสี การผสมแสงสี และการ สารสี มาประยุกต์ใช้ในด้าน ผสมสารส)ี ตา่ งๆ) สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 บทที่ 6 | แสงสี 197 ผงั มโนทัศน์ แสงสี การเห็นแสงสี ตากับการเห็นสี การมองเหน็ สขี องวัตถุ เซลลร์ ูปกรวย 3 ชนิด ไวต่อแสงสีแดง สีเขียว สนี ้�ำ เงิน ตาบอดสี เซลลร์ ับแสงรูปกรวยบกพรอ่ ง แสงสี การเหน็ สขี องวัตถุใตแ้ สงสีตา่ งๆ แผ่นกรองแสงสี แสงสีปฐมภูมิ การผสมแสงสี สารสี สารสีปฐมภมู ิ การผสมสารสี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 198 สาระสำ�คัญ สีสันจากวัตถุและแสงสีที่เรามองเห็นได้น้ัน เกิดจากแสงสีท่ีสะท้อนจากวัตถุมาเข้าตาเราโดย สารสขี องวัตถุดดู กลนื บางแสงสีไว้ ซ่งึ จะไปกระตนุ้ การท�ำ งานของเซลลร์ ูปกรวย 3 ชนิดให้ท�ำ งานเพือ่ แปลผลการรบั รสู้ ี ส�ำ หรบั ตาทมี่ อี าการมองเหน็ สผี ดิ ไปจากความเปน็ จรงิ เนอ่ื งจากเซลลร์ ปู กรวยท�ำ งาน ผดิ ปกติเรยี กวา่ การบอดสี แผ่นกรองแสงสีเป็นแผ่นโปร่งแสงที่ยอมให้แสงสีท่ีมีสีเดียวกับแผ่นกรองแสงสีผ่านออกมาได้ แสงสอี ่ืนจะถกู กนั้ เอาไวท้ ำ�ให้เราไดแ้ สงสที ่ตี ้องการผ่านออกมา แสงสที ีเ่ ราเหน็ มมี ากมายหลากหลายซ่ึงจะไปกระตนุ้ เซลล์รปู กรวยใหท้ �ำ งานรับรู้แสงสี แสงสีปฐมภมู ิ 3 สี คอื สีแดง สีเขียว และสนี ำ้�เงนิ ซง่ึ จะไปกระตุน้ เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสนี นั้ ๆให้ ท�ำ งาน การผสมแสงสปี ฐมภมู ทิ ง้ั 3 สี ในสดั สว่ นทพี่ อเหมาะจะไดแ้ สงขาว เมอื่ น�ำ แสงสปี ฐมภมู มิ าผสม กนั จะไดแ้ สงสใี หมท่ น่ี อกเหนอื จาก 3 สนี ้ี เราสามารถมองเหน็ แสงสอี น่ื ๆไดน้ น้ั เกดิ จากการท�ำ งานรว่ ม กันของเซลลร์ ูปกรวยทง้ั 3 ชนดิ สารสปี ฐมภมู ิ คอื สแี ดงมว่ ง สนี �้ำ เงนิ เขยี ว และสเี หลอื ง การผสมสารสปี ฐมภมู ทิ งั้ 3 สี ในสดั สว่ น ทีเ่ หมาะสมจะไดส้ ดี ำ� เม่ือสารสีปฐมภูมมิ าผสมกนั จะไดส้ ารสใี หม่ การมองเห็นสีต่างๆของวัตถุน้ัน นอกจากพิจารณาถึงสารสีบนวัตถุแล้วยังต้องพิจารณาถึงแสง สีท่ีฉายลงบนวัตถุด้วย ซ่ึงแสงสีต่างๆ ท่ีฉายลงบนวัตถุอาจทำ�ให้มองเห็นสีของวัตถุที่ผิดไปจากสารสี เดิมของวตั ถุเมื่อมองภายใต้แสงขาว สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 199 เวลาทใ่ี ช้ 7 ชัว่ โมง 1 ช่ัวโมง บทนคี้ วรใชเ้ วลาสอนประมาณ 1 ชว่ั โมง 6.1 การมองเหน็ สขี องวตั ถุ 0.5 ชั่วโมง 6.2 ตากับการเหน็ สี 1 ชัว่ โมง 6.3 การบอดส ี 1 ชั่วโมง 6.4 แผน่ กรองแสงสี 1 ชว่ั โมง 6.5 การผสมแสงส ี 1 ชัว่ โมง 6.6 การผสมสารสี 6.7 การมองเห็นสีของวัตถุภายใตแ้ สงสตี ่างๆ 0.5 ชัว่ โมง 6.8 การน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ของสารสแี ละแสงส ี ความร้กู ่อนเรยี น แนวการเดินทางของแสง การมองเห็น ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง สเปกตรมั ของแสงขาว สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 200 6.1 การมองเหน็ สขี องวตั ถุ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกตและอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุ ความเข้าใจคลาดเคลื่อนทอี่ าจเกิดขึ้น - แนวการจัดการเรยี นรู้ ครชู ี้แจงจุดประสงคก์ ารเรยี นรูข้ องข้อที่ 1 จากหัวข้อ 6.1 ตามหนังสือเรียน ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตภาพประกอบในหนังสือเรียน จะเห็นภาพวิวทิวทัศน์ จากธรรมชาติ และภาพนกท่ีมีสีสันสวยงามพร้อมกับต้ังคำ�ถามว่า นักเรียนเห็นภาพแล้วมีความรู้สึก อย่างไร มีสีสันสวยงามหรือไม่ ให้นักเรียนตอบอย่างอิสระ ต่อมาครูต้ังคำ�ถามว่านักเรียนคิดว่าเรา สามารถมองเหน็ แสงสีและสีสนั ทม่ี ากมายหลากหลายได้อยา่ งไร ให้นักเรยี นตอบตามความคดิ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายทบทวนแนวการเดินทางของแสงจนได้ข้อสรุปว่าแสงเดินทาง เป็นเส้นตรงและเม่อื แสงไปตกกระทบวัตถุแล้วสะทอ้ นเขา้ ตาเราจงึ มองเหน็ วตั ถุน้นั ได้ และสเปกตรัม ของแสงขาวซง่ึ ประกอบไปดว้ ยแสงสตี ่าง ๆ ได้แก่ สมี ่วง สีน�้ำ เงิน สเี ขยี ว สีเหลือง สแี สด และสแี ดง ครถู ามนกั เรยี นวา่ สสี นั ตา่ งๆมปี ระโยชนต์ อ่ เราอยา่ งไร ครใู ชค้ �ำ ถามกบั นกั เรยี นวา่ การมองเหน็ วัตถุเป็นสตี ่างๆ เกี่ยวข้องกบั แสงสีในแสงขาวทตี่ กกระทบกบั วตั ถหุ รือไม่ เพราะเหตุใด เช่น เหน็ ดอก กุหลาบเปน็ สีแดง เหน็ ใบไมเ้ ปน็ สีเขยี ว ครู และนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายการมองเหน็ สีของวัตถจุ นได้ ขอ้ สรปุ วา่ เมอื่ แสงขาวตกกระทบวตั ถุ สารสี (pigment) ในวตั ถดุ ดู กลนื แสงสอี น่ื ๆเอาไวไ้ ดม้ ากกวา่ แสง สที เี่ ปน็ สเี ดยี วกบั วตั ถุ ท�ำ ใหแ้ สงสเี ดยี วกบั วตั ถสุ ะทอ้ นออกมาเขา้ ตาเรามากกวา่ แสงสอี น่ื ๆ จงึ เหน็ วตั ถุ เป็นสนี น้ั สำ�หรับวัตถุที่มองเห็นเป็นสีขาว แสดงว่าสารสีของวัตถุน้ันสามารถสะท้อนแสงสีทุกสีออกมา โดยไม่ดูดกลืนแสงสใี ดเลย เราจึงเหน็ วตั ถเุ ปน็ สีขาว สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 201 แนวการวดั และประเมนิ ผล 1. ความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสีของวัตถุจากการอภิปรายร่วมกันการตอบคำ�ถามการสรุป แบบ ฝึกหดั และแบบทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกต และ การลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการอภปิ รายรว่ มกนั เกยี่ วกบั ผลการสงั เกต 3. จติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมเี หตผุ ลจากการอภปิ รายร่วมกนั และการสรปุ แนวค�ำ ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 6.1 1. การที่เรามองเห็นดอกดาวเรอื งมีสเี หลอื งและใบไม้มีสเี ขยี วเกย่ี วขอ้ งกบั ส่งิ ใดบ้าง แนวคำ�ตอบ เมื่อแสงขาวตกกระทบดอกดาวเรืองที่มีสารสีเหลืองและใบไม้ท่ีมีสารสี เขียว สารสเี หลืองในดอกดาวเรอื งและสารสีเขยี วในใบไม้ จะดูดกลืนแสงสอี ่นื เอาไว้ และสะทอ้ นแสงสเี หลืองจากดอกดาวเรอื ง และแสงสเี ขยี วจากใบไมอ้ อกมาเข้าตาเรา 2. ในแสงขาวเมอื่ เหน็ วตั ถุเปน็ สดี �ำ แสดงวา่ มีแสงสใี ดสะท้อนออกมาและวตั ถุดดู กลนื แสงสีใดไว้ อธบิ าย แนวคำ�ตอบ ในแสงขาวเม่ือเห็นวัตถุเป็นสีดำ� แสดงว่าวัตถุดูดกลืนแสงสีต่างๆ ไว้ ทัง้ หมดจึงไม่มแี สงสีใดสะท้อนออกมา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 202 6.2 ตากบั การเห็นสี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายตากบั การเหน็ สีของมนุษย์ ความเข้าใจคลาดเคล่ือนที่อาจเกดิ ขึ้น - แนวการจัดการเรยี นรู้ ครชู ้แี จงจุดประสงค์การเรยี นรูข้ องข้อท่ี 2 จากหัวข้อ 6.2 ตามหนังสือเรียน ครตู ง้ั ค�ำ ถามกบั นกั เรยี นวา่ การทต่ี าของเราสามารถเหน็ สตี า่ งๆของวตั ถไุ ดน้ นั้ เมอื่ มแี สงจากวตั ถุ มาเขา้ ตาเราแลว้ ตาของเราท�ำ หนา้ ทใ่ี นการรบั รแู้ สงสตี า่ งๆไดอ้ ยา่ งไร ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย อวยั วะของดวงตามนษุ ยท์ ที่ �ำ หนา้ ทรี่ บั รแู้ สงสโี ดยอาจใชภ้ าพประกอบในหนงั สอื เรยี น จนไดข้ อ้ สรปุ วา่ เซลล์ทที่ ำ�หน้าทรี่ บั รกู้ ารเหน็ สคี ือ เซลล์รูปกรวย 3 ชนิด ได้แก่ ชนิดทีม่ คี วามไวสงู สุดตอ่ แสงสนี �ำ้ เงิน ชนดิ ทม่ี คี วามไวสงู สุดตอ่ แสงสเี ขียว และชนดิ ท่ีมีความไวสงู สดุ ตอ่ แสงสแี ดง เมอื่ มแี สงสเี หลา่ นม้ี าเข้า ดวงตา เซลลร์ ับแสงรูปกรวยทไี่ วต่อแสงสีนัน้ จะถกู กระต้นุ แนวการวดั และประเมินผล 1. ค วามรู้เก่ียวกับตากับการเห็นสีจากการอภิปรายร่วมกันการตอบคำ�ถาม แบบฝึกหัดและแบบ ทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการอภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั ผลการสงั เกต 3. จติ วิทยาศาสตรด์ ้านความมีเหตุผลจากการอภิปรายร่วมกันและการสรุป สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 203 แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเขา้ ใจ 6.2 1. เหน็ วตั ถเุ ปน็ สขี าวเพราะเหตใุ ดและเซลล์รปู กรวยชนดิ ใดทำ�งานบา้ ง แนวคำ�ตอบ การเห็นวตั ถุเป็นสขี าว เนือ่ งจากมีแสงขาวตกกระทบโดยวัตถนุ นั้ ไม่ได้ ดูดกลนื แสงสใี ดในสเปกตรมั ของแสงขาวไว้ สะทอ้ นทกุ แสงสอี อกมา จึงกระตุน้ เซลล์ รปู กรวยทั้ง 3 ชนิดให้ท�ำ งาน 2. เห็นวตั ถเุ ปน็ สีด�ำ เพราะเหตใุ ด และเซลลร์ ูปกรวยชนิดใดทำ�งานบา้ ง แนวคำ�ตอบ การเหน็ วัตถเุ ป็นสีด�ำ เนือ่ งจากเม่อื มีแสงขาวตกกระทบ โดยวัตถนุ นั้ ดดู กลนื ทกุ แสงสีไวจ้ ึงไม่สะท้อนแสงสีใดออกมา ไม่มแี สงสีใดไปกระตุน้ เซลลร์ ปู กรวยทั้ง 3 ชนิดให้ท�ำ งาน 3. เม่ือเราอยู่ในท่ีมืดหรือมีแสงสว่างน้อย เพราะเหตุใดจึงแยกแยะสีของวัตถุได้ ไมช่ ัดเจน แนวคำ�ตอบ เพราะเซลล์รปู กรวยทำ�งานได้ดใี นที่มีแสงสว่างเพียงพอ เมอื่ อยูใ่ นท่มี ดื มแี สงสว่างนอ้ ยเซลล์รูปกรวยจงึ ไมถ่ กู กระตุ้น 4. ใ นคืนเดือนเพ็ญขึ้น 15 คำ่� แสงสว่างจากดวงจันทร์ทำ�ให้เราเห็นวัตถุเป็นสีดำ� เขม้ -จาง หรอื มดื -สว่าง โดยไม่สามารถแยกแยะสีได้ เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ ในทมี่ ีแสงสวา่ งไม่เพยี งพอ เช่น แสงจากดวงจนั ทร์ขึน้ 15 คำ่� เซลล์ รปู กรวยจะไม่ถูกกระตุ้น แต่เซลลร์ ปู แท่งจะมีหนา้ ท่รี บั รูค้ วามมืดและความสว่าง เรา จึงเหน็ วตั ถเุ ปน็ สดี �ำ เข้ม-จาง 5. เมื่อขับรถตอนกลางวนั บนถนนปกติ แลว้ ต้องเปลี่ยนเสน้ ทางไปเขา้ อโุ มงค์เหตใุ ดจงั ตอ้ งเปิดไฟหน้ารถตลอดเวลา แนวคำ�ตอบ เนื่องจากดวงตาปรับไม่ทันระหว่างบริเวณสว่างกับมืด เซลล์รูปแท่งยัง ปรับไมท่ ันตอ้ งใชเ้ วลาสักพกั สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 204 6.3 การบอดสี จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ส งั เกตและอธิบายด้านการบอดสี ความเข้าใจคลาดเคลือ่ นทอ่ี าจเกิดขน้ึ - ส่ิงที่ครูตอ้ งเตรียมลว่ งหนา้ - แนวการจดั การเรยี นรู้ ครชู แ้ี จงจดุ ประสงค์การเรียนรขู้ องข้อท่ี 3 จากหวั ขอ้ 6.3 ตามหนงั สือเรยี น ครูนำ�เขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยการตั้งค�ำ ถามว่านกั เรียนทราบหรอื ไม่วา่ จะต้องได้รบั การตรวจตาบอด สีเพ่ือทำ�ใบขับขี่ หรือตรวจสุขภาพเพื่อสมัครสอบเข้าศึกษาต่อหรือเข้าทำ�งานในบางสาขาอาชีพ จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ถงึ ความส�ำ คญั ส�ำ หรบั อาชพี บางประเภททต่ี อ้ งเขา้ รบั การตรวจสอบตาบอด สี ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความบกพร่องของเซลล์รับแสงรูปกรวยจนได้ข้อสรุปว่า อาการ ตาบอดสี ท�ำ ให้การรับรู้สีผิดไปไมต่ รงกับสจี รงิ ของวัตถุ ตามรายละเอียดในบทเรียน ครูนำ�เข้าสู่กิจกรรมโดยการต้ังคำ�ถามว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่าการตรวจตาบอดสี ใช้วิธีใด ในการตรวจสอบ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 205 กอ กิจกรรม 6.1 การทดสอบการบอดสี จดุ ประสงค์ 1. สังเกตและอธบิ ายอาการการบอดสี เวลาท่ีใช้ 15 นาที วัสดุและอุปกรณ์ 1 ชดุ 1. แผ่นตรวจตาบอดส ี 1 แผ่น 2. แผน่ กระดาษสแี ดง 1 แผน่ 3. กระดาษขาวขนาด A4 ข ้อเสนอแนะการท�ำ กิจกรรม ตอนท่ี 2 1. ค รูน�ำ แผน่ ตรวจสอบตาบอดสี ยกให้นกั เรียนในหอ้ งสงั เกตตวั เลขท่ตี นเองเหน็ พรอ้ มกันแลว้ บนั ทึกตวั เลขท่สี ังเกตได้ (โดยไม่ออกเสยี งใหผ้ ้อู ่ืนได้ยนิ ) 2. ครทู �ำ ซ้ำ�จนครบจำ�นวนแผ่นตรวจสอบตาบอดสที เี่ ตรียมมา 3. ค รเู ฉลยและให้นกั เรยี นตรวจสอบค�ำ ตอบของตนเอง ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม นักเรียนบางคนอาจอา่ นตวั เลขในแผ่นตรวจสอบตาบอดสีไดถ้ กู ต้อง แสดงว่าตาไม่ บอดสใี นเบอื้ งต้น สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 206 แนวคำ�ตอบคำ�ถามท้ายกจิ กรรม การจ้องสแี ดงเป็นเวลานานจะท�ำ ใหภ้ าพวตั ถทุ มี่ องบนพื้นขาวมสี ีเปล่ียนไป สามารถ เทยี บเคียงกบั อาการตาบอดแสงสีใด แนวคำ�ตอบ เทียบเคียงได้กับอาการตาบอดสีแดง เนื่องจากการจ้องแสงสีแดงเป็น เวลานานทำ�ให้เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงอ่อนล้าลงทำ�ให้ทำ�งานผิดปกติไป และ เหน็ สีผดิ ไปจากเดมิ เมือ่ จ้องสแี ดงนานพอสมควรแล้วเปล่ียนไปมองบนฉากขาวทันที จะเห็นสใี ด แนวคำ�ตอบ มองเห็นเป็นสีนำ้�เงินเขียวเนื่องจากเซลล์รูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดง ออ่ นล้าลง ความผิดปกตกิ ารมองเห็นสีในกจิ กรรมตอนที่ 1 แตกต่างจากตาบอดสอี ย่างไร แนวค�ำ ตอบ จากกิจกรรมตอนท1ี่ เมื่อพักสายตาสกั ครหู่ นงึ่ กจ็ ะกลับมามองเหน็ สีแดง ได้ตามปกติ เรียกวา่ ตาบอดสีชั่วคราว แตกต่างจากอาการตาบอดสีซง่ึ จะมองเห็นสผี ิด ไปอยา่ งถาวร อภปิ รายหลังท�ำ กิจกรรม ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายจนได้ข้อสรุปว่า เม่ือเราจ้องดูสีใดสีหน่ึงเป็นเวลานาน เช่นสแี ดง จะท�ำ ใหเ้ ซลล์รับแสงรูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงออ่ นลา้ ลงได้ ท�ำ ให้เซลล์รับแสงรปู กรวยชนิดอ่ืนทำ�งานรับรู้แสงสีได้ดีกว่า เมื่อมองไปท่ีฉากขาวซึ่งสะท้อนทุกแสงสีออกมา จึง ไปกระตุ้นการทำ�งานของเซลล์รับแสงรูปกรวยที่ไวต่อแสงสีนำ้�เงินและแสงสีเขียวได้ดีกว่า จึงมองเห็นภาพวัตถุท่ีมองบนฉากขาวเป็นสีน้ำ�เงินเขียว แต่เมื่อพักสายตาสักครู่หน่ึงก็จะ กลบั มามองเหน็ สีได้ตามปกติ เรียกวา่ ตาบอดสีช่ัวคราว การทำ�กิจกรรมตอนท่ี 2 เป็นการตรวจสอบความบกพร่องการมองเห็นสีในเบื้องต้น โดย มีชุดแผ่นตรวจสอบความบกพร่องการมองเห็นสีมาให้อ่านตัวเลข ถ้าอ่านตัวเลขได้ถูกต้องแสดงว่า อาจไม่มีความบกพร่องการมองเห็นสีในเบื้องต้น แต่ถ้าอ่านตัวเลขผิดไปจากความจริงอาจมีความ บกพรอ่ งการมองเหน็ สไี ด้ ซ่ึงจะต้องได้รับการวินจิ ฉัยจากจกั ษแุ พทย์ จากนั้นครูให้ความรู้เพิ่มเติมถึงอาการตาบอดสีเป็นผลมาจากพันธุกรรม เป็นอาการตาบอด สีถาวรตามกรอบ “รู้หรอื ไม”่ จนได้ขอ้ สรปุ ว่าคนท่ตี าบอดสีมาแตก่ �ำ เนิดน้นั เปน็ ผลมาจากพนั ธกุ รรม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทท่ี 6 | แสงสี 207 ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู การใชแ้ ผน่ ตรวจตาบอดสเี ปน็ การตรวจคดั กรองวา่ มอี าการตาบอดสหี รอื ไม่ ซง่ึ เปน็ แผน่ ภาพท่ี มีเม็ดสีจำ�นวนมากที่อยู่คละกัน โดยคนตาปกติจะสังเกตได้เป็นตัวเลขแบบหนึ่ง สำ�หรับคนที่มีความ บกพรอ่ งจะมองเหน็ สไี ดไ้ มค่ รบทกุ สี จงึ สง่ ผลใหส้ งั เกตตวั เลขไดแ้ ตกตา่ งไปหรอื สงั เกตตวั เลขไมไ่ ดเ้ ลย แนวการวัดและประเมนิ ผล 1. ความรเู้ กยี่ วกบั ความผดิ ปกตใิ นการมองเหน็ สจี ากการอภปิ รายรว่ มกนั การตอบค�ำ ถามการสรปุ แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการอภปิ รายรว่ มกนั เกยี่ วกบั ผลการสงั เกต 3. จติ วทิ ยาศาสตร์ดา้ นความมีเหตผุ ลจากการอภิปรายร่วมกันและการสรุป แนวค�ำ ตอบตรวจสอบความเขา้ ใจ 6.3 1. คนตาบอดสแี ดง จะมองเหน็ สแี ดงเปน็ สอี ะไร แนวคำ�ตอบ จะเห็นสีแดงเปน็ สเี ทา 2. ค นทเ่ี ซลลร์ บั แสงรปู กรวยสเี ขียวทำ�งานผดิ ปกติ จะมอี าการตาบอดสใี ด แนวค�ำ ตอบ ตาบอดสเี ขยี ว สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 208 6.4 แผ่นกรองแสงสี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สังเกตและอธิบายการทำ�งานของแผ่นกรองแสงสี ความเข้าใจคลาดเคลื่อนทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ความเข้าใจคลาดเคลื่อน 1. แผ่นกรองแสงสีแดง เป็นแผ่นก้ันแสงสี 1. แผ่นกรองแสงสีแดงจะก้ันแสงสอี ่ืนไว้ แดงเอาไว้ แนวการจดั การเรียนรู้ ครชู แ้ี จงจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ข้อท่ี 4 จากหวั ข้อ 6.4 ตามหนังสอื เรียน ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยตั้งคำ�ถามว่านักเรียนเคยนำ�แผ่นพลาสติกหรือกระจกที่มีลักษณะ โปร่งแสงสีท่ีมีต่างๆมารับแสงขาว เพื่อทำ�ให้ได้เป็นแสงสีต่างๆหรือมองผ่านแล้วเห็นเป็นสีน้ันหรือไม่ และถามตอ่ ไปวา่ จากทรี่ มู้ าแลว้ วา่ แสงขาวประกอบดว้ ยแสงสตี า่ งๆ เหตใุ ดแสงขาวทผี่ า่ นแผน่ พลาสตกิ หรอื กระจกทม่ี สี ตี า่ งๆจงึ เหลอื สที ค่ี ลา้ ยกบั สขี องแผน่ วสั ดเุ หลา่ นไี้ ด้ ใหน้ กั เรยี นตอบอยา่ งอสิ ระ จากนน้ั ครูให้ความรู้ว่าแผ่นวัสดุโปร่งแสงที่มีสีต่างๆเหล่านี้เรียกว่า แผ่นกรองแสงสี และแผ่นวัสดุนี้ทำ�งาน อยา่ งไรในการกรองแสงสี จะศกึ ษาไดจ้ ากกิจกรรมตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทที่ 6 | แสงสี 209 กจิ กรรม 6.2 แผ่นกรองแสงสี จุดประสงค์ 1. สงั เกตและอธบิ ายการท�ำ งานของแผน่ กรองแสงสี เวลาท่ใี ช้ 25 นาที วัสดุและอุปกรณ์ 1 ชุด 1. แผน่ กรองแสงสี สแี ดง สีนำ้�เงนิ สเี ขยี ว 1 ชุด 2. ฉากขาว 3. แหลง่ กำ�เนดิ แสงขาว หรือแสงดวงอาทิตย ์ ขอ้ เสนอแนะการทำ�กิจกรรม แหล่งก�ำ เนดิ แสงขาวอาจจะใช้จากไฟฉายแสงขาวหรือไฟฉายจากโทรศัพท์มอื ถอื ตวั อยา่ งผลการทำ�กิจกรรม แผน่ กรองแสงสี ตัวอย่างผลแสงสีทีไ่ ด้ แสงสีทีเ่ กิดขึ้น 1. แผ่นกรองแสงสีแดง แสงสีแดง 2. แผน่ กรองแสงสนี �ำ้ เงิน แสงสนี �ำ้ เงนิ 3. แผ่นกรองแสงสีเขียว แสงสเี ขยี ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วิทยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 210 แนวคำ�ตอบคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม แสงสที ี่ผา่ นออกมามคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั สขี องแผน่ กรองแสงสีอยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ แสงสที ผ่ี ่านออกมาจะมีสคี ล้ายกบั สีของแผ่นกรองแสงสี จากกจิ กรรมแผน่ กรองแสงสีมกี ารทำ�งานอย่างไร แนวค�ำ ตอบ จากกจิ กรรมพบวา่ แผน่ กรองแสงสจี ะยอมใหแ้ สงสเี ดยี วกบั แผน่ กรองแสง สผี า่ นไดแ้ ละกน้ั แสงสอี น่ื ไว้ อภปิ รายหลังทำ�กจิ กรรม ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า แผ่นกรองแสงสีจะยอมให้แสงสีเดียว กับแผ่นกรองแสงสีผ่านออกมาได้ โดยก้ันแสงสีอ่ืนเอาไว้ และครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า แผ่นกรองแสงสีมาตรฐานท่ีใช้ในงานต่าง ๆ ที่ต้องการความถูกต้องสูง เช่น งานวิจัยทาง วทิ ยาศาสตร์ งานถา่ ยภาพ เปน็ ตน้ จะมีสมบัตดิ งั กลา่ ว ส�ำ หรับวสั ดุโปรง่ แสงสีทวั่ ไปอาจไม่ สามารถก้ันแสงสีอื่นไว้ได้ทั้งหมด โดยยังมีบางส่วนผ่านมาได้แต่มีปริมาณน้อย จากน้ันครู แบ่งกลุ่มให้นักเรียนสืบค้นการนำ�แผ่นกรองแสงสีไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ด้านอื่นเพิ่มเติม แลว้ น�ำ เสนอและอภปิ รายรว่ มกัน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทที่ 6 | แสงสี 211 แนวการวัดและประเมินผล 1. ความรู้เก่ียวกับแผ่นกรองแสงสีจากการอภิปรายร่วมกันการตอบคำ�ถาม แบบฝึกหัดและแบบ ทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกต และ การลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการอภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั ผลการสงั เกต 3. จติ วิทยาศาสตรด์ ้านความมีเหตุผลจากการอภปิ รายรว่ มกนั และการสรุป แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 6.4 1. ถา้ นำ�แผน่ กรองแสงสเี หลือง และสมี ว่ งไปรับแสงขาว ครง้ั ละแผ่น แสงที่ผา่ นออกมา จะมสี ใี ดตามล�ำ ดับ เพราะเหตใุ ด แนวคำ�ตอบ ไดแ้ สงสเี หลืองและแสงสมี ว่ งตามล�ำ ดับ เพราะแผน่ กรองแสงสจี ะยอม ใหแ้ สงสเี ดียวกับแผน่ กรองแสงสีนน้ั ผ่านได้ โดยก้นั แสงสีอื่นๆไว 2. ถ้านำ�แผ่นกรองแสงสีแดงกับแผ่นกรองแสงสีน้ำ�เงินมาซ้อนทับกันสนิทและนำ�ไปรับ แสงขาว แสงสีใดจะผา่ นแผ่นกรองแสงสีท้งั สองมาตกบนฉากขาว เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ จะไม่มีแสงสีใดผ่านออกมาตกบนฉากขาว เน่ืองจากแผ่นกรองแสงสี แดงจะยอมให้แสงสีแดงผา่ นออกมาและก้ันแสงสอี ื่นทไ่ี มใ่ ชแ่ สงสแี ดงไว้ เม่อื แสงสี แดงมาตกบนแผ่นกรองแสงสีน้ำ�เงินซึ่งจะยอมให้แสงสีน้ำ�เงินผ่านและกั้นแสงสีอื่นท่ี ไมใ่ ชแ่ สงสนี ้�ำ เงนิ ไว้ แสงสีแดงจึงไม่สามารถผา่ นแผ่นสีนำ�้ เงินออกมาได้ ดังนนั้ จึงไม่มี แสงสีใดผ่านออกมาตกบนฉากขาว 3. จากความรเู้ รื่องแผน่ กรองแสงสี สามารถนำ�ไปประยุกตใ์ ชใ้ นด้านใดไดบ้ า้ ง แนวคำ�ตอบ การตกแต่งอาคารสถานทด่ี ้วยกระจกสตี ่าง ๆ เพ่ือความสวยงามและลด ความสว่างของแสงท่ีเขา้ มาในอาคาร การถา่ ยภาพเปน็ โทนสีตา่ ง ๆ ซึ่งใช้เปน็ ฟลิ เตอร์ กรองแสงสีท่ีต้องการนำ�ไปติดหน้าเลนส์กล้อง และขวดหรือซองพลาสติกสีชาใส่ยา เพื่อป้องกนั ยาเสื่อมคณุ ภาพจากแสง ดังนน้ั ยาท่ีบรรจุในภาชนะสีชาควรเกบ็ ในทม่ี ี แสงนอ้ ย เป็นต้น สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 212 6.5 การผสมแสงสี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สังเกตและอธิบายการผสมแสงสี 2. อธบิ ายแสงสีปฐมภมู ิ ความเขา้ ใจคลาดเคลื่อนท่ีอาจเกดิ ขน้ึ - สิง่ ทค่ี รตู ้องเตรยี มล่วงหนา้ คลิปวดี ทิ ศั น์การแสดงแสงสตี ่างๆ แนวการจัดการเรียนรู้ ครชู แี้ จงจดุ ประสงค์การเรียนร้ขู ้อที่ 5 และ 6 จากหัวข้อ 6.5 ตามหนังสือเรียน ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยตง้ั ค�ำ ถามวา่ นกั เรยี นเคยสงั เกตแสงสตี า่ งๆทสี่ อ่ งมาบนเวทกี ารแสดงวา่ แสงทตี่ กบนเวทเี ปลยี่ นสไี ปจากสเี ดมิ ไดห้ รอื ไม่ จากนน้ั ครเู ปดิ คลปิ วดี ทิ ศั นก์ ารแสดงบนเวทที ใ่ี ชแ้ สงสี ต่างๆ ใหน้ ักเรียนสังเกตและตอบอยา่ งอิสระ เพ่ือน�ำ เข้าสกู่ ิจกรรม กจิ กรรม 6.3 การผสมแสงสี 1 ชุด 1 แผ่น จุดประสงค์ 1. สังเกตและอธิบายการผสมแสงสี เวลาที่ใช้ 25 นาที วัสดุและอปุ กรณ์ 1. ชดุ กลอ่ งผสมแสงสี หรือแหล่งกำ�เนิดแสงอ่นื ที่ใหส้ ีเขยี ว สีนำ�้ เงนิ สแี ดง 2. ฉากขาว สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทที่ 6 | แสงสี 213 ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม ผสมแสงสี ตัวอย่างผลกจิ กรรมจาก แสงสีทีไ่ ด้ กลอ่ งผสมแสงสี แสงสีเหลอื ง 1. แสงสแี ดง+แสงสีเขียว 2. แสงสนี ำ้�เงิน+แสงสีเขยี ว แสงสีนำ้�เงนิ เขยี ว 3. แสงสนี ้ำ�เงนิ +แสงสีแดง แสงสแี ดงมว่ ง 4. แสงสแี ดง+แสงสีเขยี ว แสงสขี าว +แสงสนี ้ำ�เงิน แนวคำ�ตอบคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม เมอื่ ฉายแสงสแี ดงกบั สเี ขยี ว แสงสแี ดงผสมกบั สนี �ำ้ เงนิ และแสงสนี �้ำ เงนิ ผสมกบั สเี ขยี ว ไปผสมกนั บนฉากขาวจะเห็นเป็นแสงสีใด ตามลำ�ดบั แนวค�ำ ตอบ แสงสเี หลอื ง แสงสีแดงมว่ ง และแสงสนี �้ำ เงนิ เขียว ตามลำ�ดบั เมอ่ื ฉายแสงสีเขียว สแี ดง และสนี ำ�้ เงิน ไปผสมกนั บนฉากขาวจะเหน็ แสงสใี ด แนวค�ำ ตอบ แสงสขี าว สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 214 อภปิ รายหลงั ท�ำ กจิ กรรม ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า แสงสีปฐมภูมิ คือ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีนำ้�เงิน ซึ่งจะกระตุ้นการทำ�งานของเซลล์รับแสงรูปกรวยที่ไวต่อแสงสี ชนดิ นัน้ เมื่อน�ำ แสงสปี ฐมภูมิมาผสมกนั จะได้แสงสใี หม่ การน�ำ แสงสปี ฐมภมู ทิ ง้ั 3 สมี าผสม กันในสัดส่วนที่พอเหมาะจะได้แสงขาว ตามรายละเอียดในบทเรียนโดยใช้ภาพการผสมแสงสี ปฐมภูมปิ ระกอบการอภปิ ราย ครูอธบิ ายเพม่ิ เติม การเหน็ แสงสีอ่นื ๆท่ไี ม่ใชแ่ สงสปี ฐมภมู เิ ปน็ การทำ�งานร่วมกนั ของ เซลล์รูปกรวยชนิดต่าง ๆ เช่นเมื่อผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียว ตาเห็นเป็นแสงสีเหลืองเพราะ เซลล์รูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงและแสงสีเขียวจะถูกกระตุ้นให้ทำ�งานร่วมกันแล้วส่งให้สมอง แปลการรับรู้แสงสี ตอ่ มาครูอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ถงึ แสงสคี ู่ใดท่ีผสมกันแลว้ ได้แสงขาว เรียกวา่ แสง สีเติมเต็ม แบ่งกล่มุ ให้นกั เรียนไปสบื คน้ ความร้เู ร่ืองการผสมแสงสีไปใชป้ ระโยชน์ แลว้ นำ�เสนอ และอภปิ รายรว่ มกนั แนวการวัดและประเมนิ ผล 1. ค วามรูเ้ กี่ยวกับการผสมแสงสี จากการอภปิ รายรว่ มกัน การสรุป แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ 2. ความรเู้ กย่ี วกบั การน�ำ หลกั การผสมแสงสไี ปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ จากการน�ำ เสนอ อภปิ ราย รว่ มกัน แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ 3. ทักษะการสังเกตและการลงความเห็นจากข้อมลู จากการอภิปรายร่วมกนั และการสรุป 4. ทักษะการจ�ำ แนกประเภทจากการตอบคำ�ถาม แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ 5. ทกั ษะการทำ�งานร่วมกันและการสอื่ สาร จากการรว่ มกนั สืบคน้ ขอ้ มลู และการน�ำ เสนอ 6. จ ติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมเี หตผุ ลและการเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์ จากการอภปิ รายรว่ มกนั การสรุป และการตอบคำ�ถาม 7. จติ วทิ ยาศาสตร์ด้านความรว่ มมอื ช่วยเหลือ จากการรว่ มกนั สบื คน้ ข้อมลู และการนำ�เสนอ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทที่ 6 | แสงสี 215 แนวค�ำ ตอบตรวจสอบความเขา้ ใจ 6.5  1. เมื่อฉายแสงสีเขียว สแี ดง และสีนำ�้ เงนิ ไปผสมกนั บนฉากขาวจะเหน็ เปน็ แสงสีใด แนวคำ�ตอบ แสงขาว  2. เม่ือฉายแสงสแี ดงกบั สีเขยี ว แสงสแี ดงกับสนี ้ำ�เงนิ และแสงสีน�ำ้ เงนิ กบั สเี ขยี ว ไปผสม  กันบนฉากขาว จะเห็นเป็นแสงสใี ด ตามลำ�ดบั แนวคำ�ตอบ แสงสเี หลือง แสงสีแดงมว่ ง และแสงสนี �้ำ เงนิ เขียว  3. แ สงสแี ดงกบั แสงสีน�ำ้ เงินเขียวผสมกันเหน็ เปน็ แสงสใี ด และเรยี กแสงสคี ่นู ้วี ่าอยา่ งไร นอกจากนั้นยังมีแสงสีคู่ใดอีกที่ผสมกันแล้วได้แสงสีเดียวกับแสงสีแดงผสมกับแสง สีนำ้�เงินเขยี ว แนวคำ�ตอบ แสงขาว เรียกแสงสีคู่นี้ว่าแสงสีเติมเต็ม นอกจากนี้ยังมี แสงสีเหลือง กับแสงสีนำ้�เงนิ และ แสงสแี ดงมว่ งกบั แสงสเี ขียวผสมกนั ได้เปน็ แสงขาว 4. ก. แสงสแี ดงผสมกบั แสงสนี �ำ้ เงนิ จะเหน็ เปน็ แสงสใี ด จะอธบิ ายการเหน็ แสงสนี นั้ อยา่ งไร ข. แ สงสีน้ำ�เงินผสมกับแสงสีเขียวจะเห็นเป็นแสงสีใด จะอธิบายการเห็นแสงสีน้ัน อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ก. แสงสแี ดงมว่ ง เมอ่ื แสงผสมตกลงบนจอตา แสงสแี ดงจะไปกระตนุ้ เซลล์ รูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงและแสงสีน้ำ�เงินจะไปกระตุ้นเซลล์รูปกรวยท่ีไวต่อแสง สนี �ำ้ เงนิ ใหท้ �ำ งานรว่ มกนั แลว้ สญั ญาณการกระตนุ้ จะถกู สง่ ไปสสู่ มองใหแ้ ปลผลเปน็ การ เห็นแสงสีแดงมว่ ง ข. แสงสีน้ำ�เงินเขียว เมื่อแสงผสมตกลงบนจอตา แสงสีน้ำ�เงินจะไปกระตุ้นเซลล์รูป กรวยทไี่ วตอ่ แสงสนี �ำ้ เงนิ และแสงสเี ขยี ว จะไปกระตนุ้ เซลลร์ ปู กรวยทไ่ี วตอ่ แสงสเี ขยี ว ให้ทำ�งานร่วมกันแล้วสัญญาณการกระตุ้นจะถูกส่งไปสู่สมองให้แปลผลเป็นการเห็น แสงสนี ำ�้ เงินเขยี ว สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 216 6.6 การผสมสารสี จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สงั เกตและอธิบายการผสมสารสี 2. อธบิ ายสารสีปฐมภมู ิ ความเข้าใจคลาดเคลอื่ นที่อาจเกิดข้ึน - แนวการจดั การเรียนรู้ ครชู ้แี จงจดุ ประสงค์การเรียนรู้ขอ้ ท่ี 7 และ 8 จากหวั ขอ้ 6.6 ตามหนังสอื เรียน ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยตงั้ ค�ำ ถามวา่ ในวชิ าศลิ ปะในการระบายสนี �้ำ ถา้ นกั เรยี นไมม่ สี ที ต่ี อ้ งการ สามารถน�ำ สีน�ำ้ มาผสมสีกันทำ�ใหเ้ กิดสีใหมไ่ ด้หรือไม่ เพ่อื นำ�เข้าสกู่ ิจกรรม กจิ กรรม 6.4 การผสมแสงสี จดุ ประสงค์ 1. สังเกตและอธบิ ายการผสมสารสี เวลาที่ใช้ 25 นาที วัสดุและอปุ กรณ์ 1. ส ีโปสเตอรห์ รือสนี �ำ้ ทม่ี สี ใี กลเ้ คยี งกับ สหี มึกพิมพ์ สีแดงม่วง (magenta) สีน้ำ�เงิน เขียว (cyan) และสเี หลือง (yellow) 3 ขวด 2. กระดาษขาว 1 แผน่ 3. จานผสมส ี 1 อัน 4. พูก่ ัน 1 ดา้ ม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 217 ข้อเสนอแนะการท�ำ กิจกรรม เมือ่ เปลีย่ นสีต้องทำ�ความสะอาดพูก่ นั และเชด็ ให้สะอาดเพอ่ื ไมใ่ หส้ ปี นเปื้อน แนวคำ�ตอบคำ�ถามท้ายกจิ กรรม เมื่อผสมสารสีเหลืองกับสีนำ้�เงินเขียว สีเหลืองกับสีแดงม่วง สีแดงม่วงกับสีน้ำ�เงิน เขยี ว ไดผ้ ลเปน็ สใี ดตามล�ำ ดับ แนวคำ�ตอบ ในการทำ�กิจกรรมจะได้สีที่ใกล้เคียงสีเขียว สีแดง และสีน้ำ�เงิน ตามล�ำ ดับ ทั้งนี้ครตู อ้ งอธิบายวา่ โดยทฤษฎจี ะตอ้ งได้เปน็ สีเขียว สแี ดง และสนี ้ำ�เงิน ตามล�ำ ดบั เม่ือผสมสารสที ง้ั 3 ส ี ไดผ้ ลเป็นสใี ด แนวคำ�ตอบ ในการทำ�กิจกรรมอาจได้สีท่ใี กล้เคียงสีดำ� ครูต้องอธิบายว่าโดยทฤษฎี จะตอ้ งไดเ้ ปน็ สดี �ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 218 อภปิ รายหลังท�ำ กิจกรรม ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายจนได้ข้อสรปุ วา่ สารสีปฐมภูมิ ประกอบด้วย สารสีแดงมว่ ง สารสีนำ�้ เงินเขยี ว และสารสเี หลือง การน�ำ สารสมี าผสมกันจะได้สารสใี หม่ และเมือ่ นำ�สารสีปฐมภมู ิ ทง้ั 3 สี มาผสมกันดว้ ยสดั ส่วนท่ีเหมาะสมจะได้สารสีดำ�โดยใชภ้ าพการผสมสารสปี ฐมภูมิประกอบ การอภิปราย ตามรายละเอยี ดในบทเรยี น ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายความรกู้ ารเหน็ สขี องวัตถทุ ี่มสี ารสตี ่างๆจนได้ขอ้ สรปุ วา่ เมือ่ แสงขาวตกกระทบวัตถุ วัตถุจะดูดกลืนแสงสีบางแสงสีไว้และสะท้อนบางแสงสีมาเข้าตาเราจึงทำ�ให้ เราเหน็ วตั ถมุ สี ีนั้น เช่น วตั ถุสเี หลอื ง เม่อื มีแสงขาวมากระทบวตั ถุที่มสี ารสเี หลือง สารสีเหลืองจะดดู กลนื แสงสอี ่นื ไวแ้ ล้วสะท้อนแสงสแี ดงและแสงสเี ขียวออกมาเมอ่ื แสงทง้ั สองสีกระทบจอตา เซลล์รูป กรวยท่ีไวต่อแสงสีเขียวและแสงสีแดงจะถูกกระตุ้นให้ทำ�งานร่วมกัน แล้วส่งสัญญาณกระตุ้นไปยัง สมองใหแ้ ปลการรับรู้การมองเหน็ เปน็ สเี หลอื ง และให้ความรู้เพิ่มเติมตามรายละเอียดในบทเรยี น ร่วมกันอภิปรายความรู้เกี่ยวกับการผสมสารสีว่ามีความแตกต่างกับการผสมแสงสี จนได้ ข้อสรปุ ว่า การผสมสารสนี ั้น สีใหมท่ ี่ไดจ้ ะดดู กลืนแสงสไี ด้มากขึน้ ทำ�ใหเ้ หน็ สารสีผสมมีสใี หม่ เช่น การผสมสารสีน้ำ�เงินเขียวกับสารสีเหลืองจะได้สารสีเขียวออกมาเพราะสารสีน้ำ�เงินเขียวจะสะท้อน แสงสีน�ำ้ เงนิ กับแสงสเี ขยี วออกมาแตด่ ูดกลนื แสงสอี ืน่ ส่วนสารสีเหลอื งจะสะท้อนแสงสแี ดงกบั แสง สีเขียวออกมาและดูดกลืนแสงสอี ่นื ดงั น้ันเม่อื ผสมสารสนี ้ำ�เงินเขยี วกบั สารสีเหลอื ง จึงเหลือเพียง แสงสีเขยี วที่สะทอ้ นออกมาได้ จึงทำ�ใหต้ าเหน็ เป็นสีเขยี ว และให้ความร้เู พิม่ เตมิ ตามรายละเอียดใน บทเรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทท่ี 6 | แสงสี 219 แนวการวัดและประเมนิ ผล 1. ค วามรเู้ ก่ยี วกบั การผสมสารสี จากการอภิปรายร่วมกนั การสรุป แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ 2. ค วามรเู้ กย่ี วกบั การน�ำ หลกั การผสมสารสไี ปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ จากการน�ำ เสนอ อภปิ ราย ร่วมกนั แบบฝึกหัด และแบบทดสอบ 3. ทักษะการสงั เกตและการลงความเหน็ จากข้อมูล จากการอภิปรายรว่ มกนั และการสรปุ 4. ทักษะการจำ�แนกประเภทจากการตอบค�ำ ถาม แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ 5. ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกนั และการสอื่ สาร จากการรว่ มกนั สบื ค้นข้อมูลและการน�ำ เสนอ 6. จ ติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมเี หตผุ ลและการเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์ จากการอภปิ รายรว่ มกนั การสรปุ และการตอบค�ำ ถาม 7. จติ วทิ ยาศาสตร์ดา้ นความร่วมมือช่วยเหลอื จากการร่วมกันสบื ค้นข้อมลู และการน�ำ เสนอ แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเขา้ ใจ 6.6 1. การน�ำ สารสปี ฐมภูมทิ งั้ หมดมาผสมกนั จะได้สารสีใด แนวคำ�ตอบ สีดำ� 2. เมอื่ นำ�สารสแี ดงและสารสนี ำ�้ เงินเขียวมาผสมกนั จะไดส้ ารสีใด และเรียกสารสคี ู่นว้ี ่า อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ สีดำ� สารสคี ู่น้ี เรียกวา่ สารสเี ติมเต็ม 3. เมอื่ ฉายแสงขาวกระทบวัตถสุ แี ดงมว่ งจะเหน็ เปน็ สีใด เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ สีแดงมว่ ง เนือ่ งจากวัตถุสแี ดงมว่ งจะสะทอ้ นแสงสแี ดงและแสงสนี ้�ำ เงนิ ออกมาเข้าตาเรา 4. เม่อื ผสมสารสีแดงมว่ งกบั สารสเี หลอื งจะเห็นเป็นสารสีใด เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ สแี ดง เน่อื งจากสเี หลอื งจะสะท้อนแสงสแี ดงและแสงสเี ขยี วออกมาและ ดูดกลืนแสงสีอื่นเอาไว้ ส�ำ หรับสมี ่วงจะสะทอ้ นแสงสแี ดงและแสงสีน�ำ้ เงินออกมา เม่อื นำ�มาผสมกันจึงสะท้อนเฉพาะแสงสแี ดงออกมา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 220 6.7 การมองเหน็ สขี องวัตถภุ ายใตแ้ สงสีต่างๆ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายการมองเหน็ สขี องวัตถภุ ายใต้แสงสตี ่างๆ ความเข้าใจคลาดเคลื่อนท่ีอาจเกิดขนึ้ - แนวการจดั การเรยี นรู้ ครชู ึ้จุดประสงค์การเรยี นรู้ขอ้ ท ี่ 9 จากหวั ขอ้ 6.7 ตามหนังสือเรียน ครตู ง้ั ค�ำ ถามวา่ นกั เรยี นสงั เกตหรอื ไมเ่ วลาทเี่ ลอื กซอ้ื เสอื้ ผา้ จากรา้ นทตี่ กแตง่ รา้ นดว้ ยไฟสตี า่ งๆ แตเ่ มอ่ื ซอ้ื กลบั มาแลว้ ดดู ว้ ยแสงขาว กลบั พบวา่ สเี สอ้ื ผา้ แตกตา่ งจากดทู ร่ี า้ น ใหน้ กั เรยี นตอบอยา่ งอสิ ระ ครูนำ�ภาพวัตถุหรือคลิปวีดิทัศน์ท่ีสีวัตถุเปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อแสงสีท่ีกระทบเปล่ียนไป อาจใช้ภาพ ประกอบในบทเรียนแล้วตั้งคำ�ถามว่า การเห็นสีของวัตถุนั้นนอกจากขึ้นกับสารสีของวัตถุแล้ว ยังขึ้น กับอะไรอกี บา้ งเพือ่ น�ำ เขา้ สูก่ จิ กรรม กจิ กรรม 6.5 การเหน็ สขี องวตั ถภุ ายใต้แสงสตี ่าง ๆ จดุ ประสงค์ 1. สังเกตและอธบิ ายการมองเหน็ สขี องวตั ถุภายใต้แสงสตี ่างๆ เวลาท่ีใช้ 25 นาที วัสดุและอปุ กรณ์ 1 ชดุ 1. แ ผน่ กรองแสงสี สีแดง สนี ้�ำ เงิน และสเี ขียว 1 ชุด 2. แหลง่ กำ�เนดิ แสงขาว 1 ชดุ 3. วัตถุหรือแผ่นกระดาษสี สนี ำ�้ เงิน สีแดง สีเขียว สเี หลอื ง สีขาว สดี �ำ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทที่ 6 | แสงสี 221 ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม แสงสที ี่ฉายลงวตั ถุ สขี องวตั ถุทเี่ ห็นเม่ือฉาย สีของวตั ถุเดมิ แสงสี สีนำ้�เงนิ สแี ดง สีด�ำ สีแดง สีแดง สแี ดง สเี ขียว สแี ดง สีดำ� สีเหลือง สีแดง สแี ดง สขี าว สีแดง สีแดง สีนำ้�เงิน สนี ้ำ�เงิน สนี ้ำ�เงนิ สแี ดง สนี ำ�้ เงนิ สีดำ� สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 222 สีเขียว สนี �ำ้ เงิน สดี �ำ สีเหลือง สนี ำ้�เงิน สดี �ำ สีนำ�้ เงนิ สขี าว สนี �ำ้ เงนิ สีด�ำ สีดำ� สีดำ� สนี ้ำ�เงิน สดี ำ� สเี ขยี ว สนี �ำ้ เงิน สเี ขียว สเี ขยี ว สแี ดง สีเขียว สีเขียว สีเขยี ว สีเหลือง สีเขียว สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 2 บทท่ี 6 | แสงสี 223 สขี าว สเี ขยี ว สเี ขียว สีดำ� สเี ขียว สีดำ� แนวคำ�ตอบค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม เมอื่ ฉายแสงจากแหลง่ ก�ำ เนดิ แสงสแี ดงไปบนวตั ถสุ ขี าว เรามองเหน็ เปน็ สอี ะไร เพราะ เหตุใด แนวค�ำ ตอบ เหน็ วตั ถเุ ปน็ สแี ดง เนอ่ื งจากวตั ถสุ ขี าวไมไ่ ดด้ ดู กลนื แสงสใี ดไว้ เมอ่ื ฉายแสง สแี ดงลงไปจงึ สะทอ้ นสแี ดงออกมา เม่ือฉายแสงจากแหล่งก�ำ เนิดแสงสเี ขยี วไปบนวตั ถุสดี �ำ เรามองเหน็ เป็นสอี ะไร เพราะ เหตใุ ด แนวคำ�ตอบ เห็นวัตถุเป็นสีดำ� เน่ืองจากวัตถุสีดำ�ดูดกลืนทุกแสงสี จึงไม่มีแสงสีใด สะทอ้ นออกมา เม่ือฉายแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสงสีน้ำ�เงินไปบนวัตถุสีแดง เรามองเห็นเป็นสีอะไร เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ เหน็ วัตถุเป็นสีดำ� เนอ่ื งจากวตั ถุสีแดงจะดดู กลนื แสงสนี ำ�้ เงนิ จึงไม่มแี สง สีใดสะท้อนออกมา เม่ือฉายแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสงสีแดงไปบนวัตถุสีเหลือง เรามองเห็นเป็นสีอะไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ เหน็ วตั ถเุ ปน็ สแี ดง เนอ่ื งจากวตั ถสุ เี หลอื งสะทอ้ นแสงสเี ขยี วและสแี ดงออก มา เมอ่ื ฉายแสงสแี ดงลงบนวตั ถสุ เี หลอื งจงึ สะทอ้ นแสงสแี ดงออกมาท�ำ ใหเ้ หน็ เปน็ วตั ถุ สแี ดง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 224 อภิปรายหลังการทำ�กิจกรรม ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า การมองเห็นสีของวัตถุภายใต้แสงสี ต่าง ๆ นัน้ ต้องพิจารณาถึงสารสขี องวตั ถสุ ามารถดดู กลนื และสะทอ้ นแสงสใี ดได้ รวมถึงแสง สีทีฉ่ ายลงบนวัตถโุ ดยจะเห็นสวี ัตถุจากแสงสที ่สี ะท้อนออกมา เช่น สำ�หรบั วัตถสุ แี ดงเม่ืออยู่ ภายใตแ้ สงขาวจะเหน็ เป็นสีแดง เพราะวัตถสุ ีแดงจะสะท้อนแสงสแี ดง และดูดกลนื แสงสอี ่ืน แต่เมอ่ื ฉายแสงสนี ้�ำ เงินลงบนวัตถสุ แี ดง วตั ถุสีแดงจะดดู กลืนแสงสนี �ำ้ เงินไว้ จงึ ไมม่ แี สงสใี ด สะท้อนออกมา ดังนน้ั วัตถสุ แี ดงจึงเหน็ เป็นสีดำ�ภายใต้แสงสนี ำ้�เงนิ และอธบิ ายเพม่ิ เติมตาม รายละเอียดในหนงั สอื เรียน แนวการวัดและประเมนิ ผล 1. ความรเู้ กย่ี วกบั การมองเหน็ สขี องวตั ถภุ ายใตแ้ สงสตี า่ งๆ จากค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ ค�ำ ถาม ท้ายบทและแบบทดสอบ 2. ทกั ษะการสงั เกต และ การลงความเห็นจากขอ้ มูล จากการอภปิ รายรว่ มกนั และการสรุป 3. จ ติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมเี หตผุ ล และการเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากการอภปิ รายรว่ มกนั การสรปุ และ การตอบคำ�ถาม แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 6.7 1. แสงสีแดงมว่ ง จะไปกระต้นุ การท�ำ งานของเซลลร์ ปู กรวยชนดิ ใด เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ กระตุ้นการทำ�งานของเซลล์รูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงและสีนำ้�เงินให้ ทำ�งานรว่ มกนั เนอื่ งจากแสงสีแดงม่วงเป็นแสงสที ีผ่ สมกนั ระหวา่ งแสงสแี ดงและแสง สนี ำ�้ เงิน 2. เมอ่ื ฉายแสงสีน้ำ�เงินลงบนวัตถุสีเหลือง จะเห็นวัตถุเป็นสีใด เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ เห็นวตั ถเุ ป็นสีดำ� เนอ่ื งจากวัตถุสีเหลืองจะสะท้อนแสงสแี ดงและสเี ขยี ว ดูดกลนื แสงสอี ่ืนไว้ ดงั น้นั เมอื่ ฉายแสงสีน�ำ้ เงนิ ลงบนวัตถุสีเหลอื งทำ�ให้ถกู วัตถดุ ูด กลนื แสงสนี ้�ำ เงินไว้ จงึ ไมม่ แี สงสใี ดสะทอ้ นออกมา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 225 6.8 การน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ของสารสีและแสงสี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการผสมแสงสีและการผสมสารสสี ามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจ�ำ วนั ความเขา้ ใจคลาดเคลอื่ นทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ - แนวการจัดการเรียนรู้ ครูช้ีแจงจุดประสงค์การเรยี นร้ขู อ้ ที่ 10 จากหวั ขอ้ 6.8 ตามหนงั สอื เรียน ครูตั้งคำ�ถามว่านักเรียนสามารถนำ�ความรู้เรื่องสารสีและแสงสีไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ให้ นักเรียนตอบอย่างอิสระ จากนั้นแบ่งกลุ่มให้นักเรียนสืบค้นการนำ�สารสีและแสงสีไปใช้ประโยชน์ใน ดา้ นต่างๆ ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภปิ ราย และครูใหค้ วามรตู้ ามหนังสือเรียน แนวการวัดและประเมนิ ผล 1. ค วามรเู้ กยี่ วกบั การน�ำ หลกั การผสมสารสไี ปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ จากการน�ำ เสนอ อภปิ ราย รว่ มกัน 2. ทักษะการสังเกต และ การลงความเหน็ จากขอ้ มูล จากการอภิปรายร่วมกนั และการสรปุ 3. ทักษะการทำ�งานร่วมกนั และการสอื่ สาร จากการรว่ มกันสืบค้นขอ้ มลู และการนำ�เสนอ 4. จ ติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมเี หตผุ ล และการเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากการอภปิ รายรว่ มกนั การสรุป และ การตอบค�ำ ถาม 5. จิตวทิ ยาศาสตร์ด้านความรว่ มมือชว่ ยเหลอื จากการรว่ มกันสบื ค้นขอ้ มลู และการนำ�เสนอ แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเขา้ ใจ 6.8 1. ความร้เู ร่ืองสารสีและแสงสสี ามารถนำ�ไปประยุกตใ์ ช้ประโยชนใ์ นดา้ นใดไดอ้ ีกบ้าง แนวคำ�ตอบ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นดา้ นเครอ่ื งแตง่ กาย การแสดงแสงสบี นเวที การแตง่ หนา้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 6 | แสงสี วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 226 เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 6 1. ถ้าใช้แสงสีแดงฉายลงบนวัตถุช้ินหนึ่ง ซึ่งมีสารสีเป็นส่วนผสมของสารสีเหลือง สารสี แดง และสารสเี ขียว จะมองเหน็ วัตถุนี้เป็นสอี ะไร เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ สีแดง เพราะสารสีเหลืองสะท้อนแสงสีแดงและแสงสีเขียว สารสีแดง สะท้อนแสงสีแดง และสารสีเขียวสะท้อนแสงสีเขียวออกมา เม่ือผสมกันสารน้ีจะ สามารถสะทอ้ นได้ทง้ั แสงสแี ดงและแสงสีเขียว 2. ว ตั ถชุ นดิ หนงึ่ สะทอ้ นแสงสเี ขยี วกบั แสงสนี �้ำ เงนิ ผสมรวมกนั ออกมา เมอ่ื มองวตั ถนุ ภี้ าย ใต้แสงขาวจะเห็นเป็นสีอะไร และเมื่อมองวัตถุน้ีภายใต้แสงสีเขียวจะมองเห็นวัตถุน้ี เปน็ สอี ะไร เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ เหน็ เปน็ วตั ถสุ นี �ำ้ เงนิ เขยี ว เพราะในแสงขาวมแี สงสเี ขยี วและแสงสนี �้ำ เงนิ วัตถชุ ิ้นนจี้ งึ สะทอ้ นท้ังแสงสีเขยี วและแสงสนี ้�ำ เงินผสมรวมกันออกมา แต่ภายใต้แสง เขยี ว จะเหน็ วัตถุเป็นสเี ขยี ว เพราะวตั ถุจะสะทอ้ นเฉพาะแสงสีเขียวออกมา 3. ใบไม้ท่ีมีสีเขียวเมื่อมองผา่ นแผน่ กรองแสงสเี ขยี ว ภายใต้แสงขาวเราจะมองเห็นเปน็ สี อะไร และเมอื่ มองผา่ นแผ่นกรองแสงสแี ดงจะมองเห็นใบไม้เป็นสีอะไร เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ ภายใต้แสงขาวจะเห็นใบไม้เป็นสีเขียว เพราะ เม่ือแสงขาวตกกระทบ ใบไม้แสงสีเขียวจะสะท้อนออกมาและผ่านแผ่นกรองแสงสีเขียวได้ จึงมองเห็นเป็นสี เขยี ว กรณมี องผา่ นแผน่ กรองแสงสแี ดงจะเหน็ ใบไมเ้ ปน็ สดี �ำ เพราะเมอ่ื แสงขาวตกกระ ทบใบไม้ แสงสเี ขยี วจะสะทอ้ นออกมา แตแ่ ผ่นกรองแสงสแี ดงจะก้นั แสงสีเขยี วไว้ จึง มองเหน็ ใบไมเ้ ปน็ สีด�ำ 4. ภ ายใต้แสงขาวถา้ มองเหน็ ปกสมดุ เลม่ หนงึ่ เปน็ สแี ดง แสงสใี ดบา้ งท่ีถูกดูดกลนื เอาไว้ แนวคำ�ตอบ สีที่ถกู ดูดกลนื คือ สมี ่วง สนี ้ำ�เงนิ สีเขยี ว สเี หลอื ง และสแี สด 5. เมอื่ เหน็ วัตถุมีสแี ดงมว่ ง เซลลร์ ูปกรวยชนดิ ใดจะถกู กระตุ้น แนวคำ�ตอบ เซลลร์ ูปกรวยทไี่ วตอ่ แสงสแี ดงและสนี �้ำ เงินจะถูกกระตนุ้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 บทท่ี 6 | แสงสี 227 6. เซลลร์ ปู กรวยไวตอ่ แสงสแี ดงและสเี ขยี วทตี่ �ำ แหนง่ เดยี วกนั บนจอตาถกู กระตนุ้ พรอ้ มกนั เราจะเหน็ วตั ถุเป็นสีใด แนวคำ�ตอบ เหน็ สเี หลือง 7. ถ้าเราจะเลือกซ้ือเส้ือผ้าเพื่อไม่ให้สีเส้ือผ้าที่ซ้ือมาผิดเพ้ียนไปจากท่ีต้องการ ในร้านขาย เส้ือผา้ ควรใชห้ ลอดไฟที่ให้แสงสอี ะไร แนวคำ�ตอบ ใช้หลอดไฟที่ใหแ้ สงขาว 8. ก ารแต่งหนา้ ให้พธิ กี รรายการโทรทัศน์ ต้องค�ำ นงึ ถงึ เรอื่ งสารสีและแสงอย่างไรบ้าง แนวคำ�ตอบ ต้องพิจารณาแสงสีของไฟบนเวที จะได้เลือกสีเครื่องสำ�อางค์ได้เหมาะสม เพราะแสงสไี ฟบนเวทอี าจท�ำ ใหม้ องเหน็ สเี ครอื่ งส�ำ อางคเ์ ปลย่ี นไป เชน่ การแตง่ หนา้ ออก โทนสีเหลือง เม่ือมีแสงสีแดงจากไฟบนเวทีส่องมาจะทำ�ให้ใบหน้าท่ีแต่งหน้าไว้เห็นเป็น โทนสแี ดง เนอ่ื งจากสีเหลอื งจะสะท้อนสเี ขยี วและสแี ดงออกมา 9. ในการจัดแสงบนเวที สมมติว่าไม่มีหลอดไฟสีเหลือง แต่มีหลอดไฟสีอื่นครบทุกสี จะมีวิธี จดั แสงไฟบนเวทีอยา่ งไร ให้ไดแ้ สงสเี หลือง  แนวค�ำ ตอบ ใชไ้ ฟสแี ดงกบั ไฟสีเขียวฉายผสมกัน 10. คนตาบอดสีแดงเม่ือเห็นสัญญาณไฟสีแดงจะเห็นเปน็ สีแดงหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำ ตอบ จะเห็นสแี ดงเป็นสเี ทา เนอ่ื งจากเซลล์รปู กรวยที่ไวต่อแสงสแี ดงบกพรอ่ ง 11. เมื่อรถสีดำ� สีเหลือง สีแดง สีนำ้�เงิน จอดบริเวณท่ีมีแสงไฟสีเหลือง เราจะเห็นรถเป็นสี อะไรตามลำ�ดบั แนวคำ�ตอบ เหน็ รถเป็นสีดำ� สีเหลอื ง สีแดง และสีด�ำ ตามล�ำ ดบั 12. ถา้ น�ำ สารสเี หลอื งมาผสมกบั สารสนี �้ำ เงนิ เขยี ว แลว้ ฉายแสงสแี ดงลงไปจะเหน็ เปน็ สอี ะไร แนวคำ�ตอบ น�ำ สารสีเหลืองมาผสมกบั สารสีน้�ำ เงนิ เขยี วจะได้สารสีเขียว แลว้ ฉายแสงสี แดงลงไปจึงเห็นเปน็ สดี �ำ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 บทที่ 7 | คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ 228 บทที่ 7 ipst.me/8837 คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ ตวั ช้ีวดั 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และ หลักการ ท�ำ งานของอปุ กรณบ์ างชนดิ ทอ่ี าศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ เปรยี บเทยี บการสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั สญั ญาณดจิ ทิ ลั การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ดั 1. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ สว่ นประกอบคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และ หลกั การท�ำ งาน ของอปุ กรณบ์ างชนดิ ทอ่ี าศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการเกดิ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2. บอกสว่ นประกอบหลกั ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 3. ระบคุ ลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ นการท�ำ งานของเครอ่ื งควบคมุ ระยะไกล เครอ่ื งถา่ ยภาพเอกซเรย์ คอมพวิ เตอร์ และเครอ่ื งถา่ ยภาพการสน่ั พอ้ งแมเ่ หลก็ ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง 1. การสอื่ สาร (จากการน�ำ เสนอ) 1. ด้านความมีเหตุผลและการ สเปสกับสเปส และสเปสกับ 2. การทำ�งานร่วมกัน (จากการ เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ เวลา (จากคำ�ถามตรวจสอบ (จากการอภปิ รายรว่ มกนั การ ความเขา้ ใจระหวา่ งเรยี น การ ร่วมกันสืบค้นข้อมูลและนำ� สรุป และการตอบค�ำ ถาม) สรุป ค�ำ ถามท้ายบท) เสนอ) สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 บทท่ี 7 | คล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ 229 ตวั ชว้ี ดั 2. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ เปรยี บเทยี บการสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั สญั ญาณดจิ ทิ ลั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ยกตวั อยา่ งการสอ่ื สารโดยอาศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2. บอกความหมายของสญั ญาณแอนะลอ็ กและสญั ญาณดจิ ทิ ลั 3. เปรยี บเทยี บการสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั การสอ่ื สารดว้ ยสญั ญาณดจิ ทิ ลั ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การจำ�แนกประเภท (จาก 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านความอยากรู้อยากเห็น คำ�ถามทา้ ยบท) (ในการสบื คน้ เพอ่ื น�ำ เสนอ) ความมีเหตุผล และการเห็น คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ (จาก 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สื บ ค้ น (จากเนื้อหาที่นำ�เสนอ) และการอภิปรายรว่ มกัน) 3. การคิดสร้างสรรค์ (จาก การนำ�เสนอ) 4. การส่ือสาร (จากการนำ� เสนอ) 5. การทำ�งานร่วมกัน (จากการ ร่วมกันสืบค้นข้อมูลและนำ� เสนอ) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 7 | คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 230 ผงั มโนทศั น์ คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ มี ประยุกต์ใช้ สว่ นประกอบ คอื อุปกรณ์ท่ีใช้ การส่อื สารโดยอาศัย คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า สนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟ้า เชน่ เชน่ การใช้ เกดิ จาก เชน่ การใช้ เครือ่ งควบคุมระยะไกล การรบกวนประจุไฟฟ้า คล่นื วิทยุ ใช้ ส�ำ หรับ รงั สอี นิ ฟราเรด การกระจายสญั ญาณ คลืน่ วิทยุ เสียงของสถานีวทิ ยุ เคร่อื งถ่ายภาพเอกซเรย์ การรับ-สง่ สญั ญาณ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้ การรับ-ส่งสญั ญาณ อินเทอร์เนต็ แบบไร้ รังสเี อกซ์ สาย Wi-Fi เครือ่ งถ่ายภาพการ ส่นั พอ้ งแมเ่ หล็ก ไมโครเวฟ ใช้ ในการรบั -สง่ คลน่ื วทิ ยุ สญั ญาณดาวเทยี ม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสง ในการรับ-สง่ สัญญาณของเครือขา่ ย อินเทอรเ์ น็ต

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เลม่ 2 บทที่ 7 | คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ 231 สาระส�ำ คญั คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า (electromagnetic waves) เกิดจากการรบกวนประจุไฟฟ้า ซึ่งทำ�ใหเ้ กดิ การถ่ายโอนพลังงานของการรบกวนประจุไฟฟ้าไปยังบริเวณรอบ ๆ ในรูปของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าที่ ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ความรู้เกี่ยวกับ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชส้ รา้ งอปุ กรณท์ ชี่ ว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ เครอ่ื งควบคมุ ระยะไกล (remote control) เครอ่ื งถา่ ยภาพเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ (Computed Tomography Scan) และ เครื่องถา่ ยภาพการสน่ั พ้องแมเ่ หลก็ (Magnetic Resonance Imaging) นอกจากนี้ ความรู้เกี่ยวกับคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ายังน�ำ ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้อกี ดว้ ย ในการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อส่งผ่านสารสนเทศจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง สารสนเทศจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปสัญญาณสำ�หรับส่งไปยังปลายทางซึ่งจะมีการแปลงสัญญาณกลับ มาเป็นสารสนเทศทเี่ หมอื นเดมิ สญั ญาณทีใ่ ชใ้ นการสือ่ สารมีสองชนิดคอื แอนะล็อก (analog signal) และดิจิทัล (digital signal) การส่งผ่านสารสนเทศด้วยสัญญาณดิจิทัลสามารถส่งผ่านได้โดยมี ความผดิ พลาดนอ้ ยกวา่ สัญญาณแอนะล็อก สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 7 | คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 232 เวลาทใ่ี ช้ 7 ช่ัวโมง 1 ชว่ั โมง บทน้คี วรใช้เวลาสอนประมาณ 2 ชวั่ โมง 4 ชั่วโมง 7.1 ส่วนประกอบของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า 7.2 หลกั การท�ำ งานของอุปกรณท์ ีใ่ ชค้ ล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 7.3 การส่ือสารโดยอาศัยคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ความรู้กอ่ นเรียน คลนื่ ประจไุ ฟฟา้ สนามไฟฟา้ แมเ่ หลก็ สนามแมเ่ หลก็ สเปกตรมั ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ นำ�เข้าสบู่ ทท่ี 7 ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นและทบทวนความรเู้ ดมิ เกย่ี วกบั คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ โดยใหน้ กั เรยี นพจิ ารณา ภาพแสดงเคร่ืองใชห้ รืออปุ กรณ์ต่าง ๆ เชน่ เตาไมโครเวฟ เตาอบขนมปัง ดาวเทยี ม โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่ โทรศพั ท์บา้ น คีย์บอรด์ แบบมีสาย คีย์บอร์ดแบบไมม่ ีสาย แลว้ ใหน้ ักเรียนระบวุ า่ อปุ กรณ์ใดทท่ี ำ�งาน โดยอาศยั คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และอปุ กรณใ์ ดทท่ี �ำ งานโดยไมอ่ าศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เมอ่ื นกั เรยี นตอบ ค�ำ ถามแล้ว ครูเฉลยคำ�ตอบ จากนัน้ ครตู ้งั ค�ำ ถามให้นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายวา่ คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ เกิดขน้ึ ได้อย่างไร และ มสี ว่ นประกอบอะไร จงึ สามารถน�ำ มาใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลากหลายดา้ น ทงั้ นี้ ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี น แสดงความคดิ เห็นอย่างอสิ ระ โดยไม่คาดหวงั ค�ำ ตอบท่ีถกู ตอ้ ง ครชู แ้ี จงใหน้ กั เรยี นทราบหวั ขอ้ ทน่ี กั เรยี นจะไดเ้ รยี นรใู้ นหวั ขอ้ 7.1 และค�ำ ถามส�ำ คญั ทน่ี กั เรยี น จะต้องตอบไดห้ ลังจากเรียนรู้เนื้อหาในหวั ข้อ 7.1 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เลม่ 2 บทที่ 7 | คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า 233 7.1 ส่วนประกอบของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายการเกิดคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2. บอกส่วนประกอบหลักของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า สง่ิ ทคี่ รตู อ้ งเตรียมล่วงหน้า 1. ค ลิ ป วิ ดี ทั ศ น์ ห รื อ รู ป ท่ี แ ส ด ง อุ ป ก ร ณ์ ที่ ทำ � ง า น โ ด ย อ า ศั ย ค ลื่ น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า เ ช่ น ภาพเตาไมโครเวฟ จานดาวเทยี ม โทรศัพท์เคล่อื นท่ี รโี มทคอนโทรลของโทรทศั น์ ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื นทีอ่ าจเกิดขึน้ - แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูชี้แจงจุดประสงค์ข้อที่ 1, 2 จากหัวข้อ 7.1 ตามหนังสือเรียนจากนั้นครูนำ�เข้าสู่หัวข้อ 7.1 โดยให้นักเรียนพิจารณาการเกิดและการส่งผ่านพลังงานของคล่ืนน้ำ�และคล่ืนเสียง แล้วถามนักเรียน ว่า ถ้าเปรียบเทียบกับคลื่นน้ำ�และคลื่นเสียง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าน่าจะเกิดจากอะไรและมีการส่งผ่าน พลงั งานอย่างไร โดยครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่มกี ารประเมิน ครูอภิปรายเก่ียวกับการเกิดคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และส่วนประกอบของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน โดยใช้รูป 7.2 ประกอบ และเน้นว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากการ รบกวนประจุไฟฟ้า ทำ�ให้มีการถ่ายโอนพลังงานในรูปของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีสนามแม่เหล็กและ สนามไฟฟา้ เปลยี่ นแปลงตลอดเวลา โดยมกี ารเปลย่ี นทศิ กลบั ไปกลบั มา และสนามทงั้ สองมที ศิ ทางตงั้ ฉากกัน และตั้งฉากกบั ทิศทางการเคลอื่ นที่ของคล่นื ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจ 7.1 โดยอาจมีการเฉลยค�ำ ตอบและอภิปราย คำ�ตอบร่วมกนั แนวการวดั และประเมนิ ผล 1. ความรเู้ กีย่ วกบั สว่ นประกอบของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า จากคำ�ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ 7.1 และการสรุป 2. ทกั ษะการระบคุ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกบั เวลา จากค�ำ ถามตรวจสอบ ความเขา้ ใจ 7.1 3. จติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความมีเหตุผลจากการอภิปรายรว่ มกนั การสรปุ และการตอบค�ำ ถาม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 7 | คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เล่ม 2 234 แนวคำ�ตอบตรวจสอบความเข้าใจ 7.1 1. คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เกิดข้นึ ได้อย่างไร แนวคำ�ตอบ เกิดจากการรบกวนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าให้มีการเคล่ือนที่โดยมี ความเร่ง 2. เพราะเหตุใด คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าจงึ สามารถเคลือ่ นท่ีได้ในสุญญากาศ แ น ว คำ � ต อ บ เ พ ร า ะ ค ล่ื น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส น า ม ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ส น า ม แมเ่ หลก็ ซึ่งสามารถเกิดข้นึ ไดแ้ ม้ในบริเวณทีไ่ ม่มสี สาร 3. เพราะเหตใุ ด คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จัดเปน็ คลื่นตามขวาง แ น ว คำ � ต อ บ เ พ ร า ะ ส น า ม ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก ข อ ง ค ล่ื น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า มที ิศทางตัง้ ฉากกบั ทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของคลนื่ 7.2 หลักการทำ�งานของอปุ กรณ์ทใี่ ชค้ ลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ระบุคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีใช้ในการทำ�งานของเครื่องควบคุมระยะไกล เคร่ืองถ่ายภาพ เอกซเรย์คอมพวิ เตอร์ และเคร่อื งถ่ายภาพการส่ันพอ้ งแม่เหลก็ ความเข้าใจคลาดเคลอ่ื นทีอ่ าจเกดิ ขึ้น ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ความเข้าใจที่ถูกต้อง 1. เ ค รื่ อ ง ค ว บ คุ ม ร ะ ย ะ ไ ก ล ห รื อ รี โ ม ท 1. เครอื่ งควบคมุ ระยะไกลหรอื รโี มทคอนโทรล คอนโทรลใช้คลนื่ แสงในการทำ�งาน ใชร้ ังสอี ินฟราเรดในการท�ำ งาน 2. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการถ่ายภาพอวัยวะเพื่อ 2. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการถ่ายภาพอวัยวะเพื่อ วิ นิ จ ฉั ย ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ไ ม่ ทำ � ใ ห้ เ กิ ด วนิ จิ ฉยั ทางการแพทยบ์ างชนดิ เชน่ เครอื่ ง อันตรายกับรา่ งกายผปู้ ่วย ถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ สามารถ ท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตรายกบั บางสว่ นของรา่ งกาย ได้ ถา้ มกี ารใช้บอ่ ย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้