การ จ ดการ ศ ลปะ และ ว ฒนธรรม ม ช

คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University , คณะศิลปกรรม มช , คณะศิลปกรรมศาสตร์ มช

MENU

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะไทยและวัฒนธรรมสร้างสรรค์

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะไทยและวัฒนธรรมสร้างสรรค์

BACHELOR OF FINE ARTS PROGRAMME IN THAI ART AND CREATIVE CULTURES

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ศิลปบัณฑิต (ศิลปะไทยและวัฒนธรรมสร้างสรรค์) Bachelor of Fine Arts (Thai Arts and Creative Cultures)

โครงสร้างหลักสูตร สำหรับนักศึกษารหัส 66 (คลิกลิงค์เพื่อดูรายละเอียด)

โครงสร้างหลักสูตร สำหรับนักศึกษารหัสอื่นๆ (คลิกลิงค์เพื่อดูรายละเอียด)

เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี และใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

ลักษณะการเรียนการสอน

  • เน้นการเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาตนเองในแนวกว้างและลึกด้านศิลปะและวัฒนธรรมของไทย ล้านนา และภูมิภาคอาเซียน ทั้งแบบประเพณีและร่วมสมัย

  • #### นักศึกษาสามารถเลือกเรียนตามความถนัดและสนใจ 3 กลุ่มวิชา คือการจัดการศิลปวัฒนธรรม ศิลปกรรมไทย และประวัติศาสตร์ศิลปะ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานและสูงขึ้น ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เน้นกระบวนการวิจัยจากข้อมูลงานศิลปะของจริง การสร้างสรรค์งานตามแนวทางของแต่ละบุคคลในวิชาโครงงานศิลปะไทยเพื่อการสำเร็จการศึกษา
  • #### สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย ได้แก่ ครูอาจารย์ นักเขียน นักวิชาการที่ผลิตงานประวัติศาสตร์หรือสารคดีด้านศิลปะไทยและล้านนา ภัณฑารักษ์และนักบริหารจัดการงานศิลปวัฒนธรรม ศิลปินและนักออกแบบที่สร้างผลงานเน้นอัตลักษณ์ไทย พนักงานฝ่ายศิลป์ในบริษัทเอกชน หรืออาชีพที่มีการนำองค์ความรู้หรือข้อมูลงานศิลปะไทยมาใช้ผลิตผลงาน อาทิ ภาพยนตร์ ละคร การออกแบบตกแต่ง ออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่น และงานโฆษณา เป็นต้น

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • ครู-อาจารย์ ที่สอนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

  • #### นักวิจัย-นักวิชาการ ที่ผลิตผลงานด้านประวัติศาสตร์ศิลปะและด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและล้านนา
  • #### ภัณฑารักษ์ และนักบริหารจัดการงานด้านศิลปวัฒธรรม
  • #### ศิลปินและนักออกแบบ ที่สร้างผลงานเน้นอัตลักษณ์ไทย
  • #### พนักงานฝ่ายศิลป์ในบริษัทเอกชน ที่มีการใช้องค์ความรู้ หรือข้อมูลงานศิลปะไทย ในการผลิตผลงานแขนงต่างๆ อาทิ ภาพยนตร์ การออกแบบตกแต่งสถาปัตยกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่น สิ่งพิมพ์ งานโฆษณาและการสื่อสาร เป็นต้น
  • #### ประกอบอาชีพอิสระ ที่มีการนำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ด้านศิลปะวัฒนธรรมมาใช้ในการผลิตผลงานหรืองานบริการ

This site uses cookies. By using the site you are giving your consent for us to set cookies.Cookie settingsACCEPT

สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและล้านนาสร้างสรรค์

239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 เวลาทำการ: วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น. (ปิดวันเสาร์และอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์) โทรศัพท์: +66(0) 5394 3624-5 โทรสาร: +66(0) 5322 2680, +66(0) 5394 3625 อีเมล์: saraban_cpac@cmu.ac.th

ประชาสัมพันธ์สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและล้านนาสร้างสรรค์

โทรศัพท์: +66 5394 3625 โทรสาร: +66 5322 2680 และ +66 5394 3625 อีเมล์: saraban_cpac@cmu.ac.th

พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา

เวลาทำการ: วันจันทร์ – อาทิตย์ เวลา 08.30 – 16.30 น. (ปิดวันหยุดนักขัตฤกษ์) โทรศัพท์: +66 5394 3626 โทรสาร: +66 5322 2680 และ +66 5394 3625 อีเมล์: saraban_cpac@cmu.ac.th

คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University , คณะศิลปกรรม มช , คณะศิลปกรรมศาสตร์ มช

MENU

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

ART AND CULTURE MANAGEMENT

โครงสร้างหลักสูตร สำหรับนักศึกษารหัส 66 (คลิกลิงค์เพื่อดูรายละเอียด)

โครงสร้างหลักสูตร สำหรับนักศึกษารหัสอื่นๆ (คลิกลิงค์เพื่อดูรายละเอียด)

เนื่องจากพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนือตอนบน หรือเขตวัฒนธรรมล้านนานั้นเป็น ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรม ดังนั้นจึงปรากฏมีกิจกรรมอันหลากหลาย ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม อาทิ งานด้านการอนุรักษ์ศิลปกรรม โบราณวัตถุและโบราณ สถาน อุตสาหกรรม และธุรกิจที่เกี่ยวกับศิลปวัตถุ ศิลปหัตถกรรม และสินค้าที่ระลึก แหล่งบริการ ร้านค้า โรงแรม ตลอดจนสถานที่ท่องเที่ยวทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ฯลฯ อุตสาหกรรม และธุรกิจต่างๆ เหล่านี้เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เชิดหน้าชูตาและสร้างรายได้อย่างมหาศาลให้แก่ประชาชน ชาวภาคเหนือตลอดมา แต่ทั้งๆ ที่งานด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ของภาคเหนือ แต่ไม่ปรากฏมีสถาบันอุดมศึกษาใดๆ ในเขตภาคเหนือเปิดสอนหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการศิลปะ และวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้อุตสาหกรรม และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมมีความมั่นคงและยั่งยืนสืบต่อไป บัณฑิตวิทยาลัย โดยความร่วมมือจากคณะวิจิตรศิลป์ คณะบริหารธุรกิจ และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อสนับสนุนให้มีการผลิตบุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม เข้าสู่แวดวงงานด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนอุตสาหกรรม ธุรกิจด้านศิลปะและวัฒนธรรม มากขึ้น ซึ่งขอบเขตของหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะ และวัฒนธรรมนั้น จะมีเนื้อหาของหลักสูตรที่มุ่งเน้นการจัดการในเชิงระบบของงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมในมิติต่างๆ ซึ่งมีวิธีดำเนินการที่แตกต่างกัน อาทิ งานด้านอนุรักษ์ทรัพยากรทางวัฒนธรรมงานด้านภูมิทัศน์วัฒนธรรม งานด้านการตลาดของผลงานทางศิลปะ งานพิพิธภัณฑ์และหอศิลปะ งานศิลปะการแสดง และโรงละคร และงานด้านการท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมเป็นต้น

ปรัชญาของหลักสูตร

เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมการศึกษาให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจ ตลอดจนการค้นคว้า วิจัย และพัฒนา องค์ความรู้ทางด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อช่วยส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านศิลปะ และวัฒนธรรมในมิติต่างๆ ให้สามารถรักษาคุณค่าและดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วย เพิ่มพูนมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศชาติมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

\> เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการจัดการงาน > ด้านศิลปะและวัฒนธรรมในมิติต่างๆให้สามารถรักษาคุณค่า และดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ \> เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ การวิจัย และพัฒนาวิชาการ > ด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรมตลอดจนการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม \> เพื่อสร้างมหาบัณฑิตให้มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

ลักษณะการเรียนการสอน

– การค้นคว้าวิจัยองค์ความรู้ทางด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

– การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมจากกระบวนการมีส่วนร่วม – การรักษาคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของกิจกรรมทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล – การสร้างคุณธรรม จริยธรรมและจิตอาสาของการดำเนินงานด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ (สาขาวิชาร่วม)

คณะวิจิตรศิลป์ | คณะศึกษาศาสตร์ | คณะบริหารธุรกิจ และ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • คู่มือแนะนำการเขียนและฟอร์มของ Proposal ของสาขา

  • #### คู่มือและฟอร์มการเขียน Thesis และ IS

This site uses cookies. By using the site you are giving your consent for us to set cookies.Cookie settingsACCEPT

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้