การแข งข นว ชาการ ระด บนานาชาต คณ ตศษสตร ม.ต น

82 75 65 เม่ือเปรียบเทียบกับท่ัวโลก และพบว่าค่าใช้จ่ายทางการศึกษาระดับ อุดมศึกษาอยูในอันดับเกือบรั้งท้าย (อันดับท่ี 90) และปัญหาเร่ืองคะแนนเฉล่ีย ของ PISA ซ่ึงอยทู่ อี่ ันดบั 55 และมีคะแนนเฉลี่ยเพยี ง 415.3 คะแนน 4.2 ความสามารถในการแข่งขันด้านการศกึ ษาของประเทศไทย สมรรถนะด้านการศึกษาในภาพรวม ปี 2563 ประเทศไทยได้รับการจัด อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาอยู่ในอันดับท่ี 55 จากทั้งหมด 63 ประเทศ โดยมีอันดับดีข้ึน 1 อันดับ เมื่อเทียบกับปี 2562 และเม่ือเปรียบ เทียบระหวา่ ง 2559 – 2563 พบวา่ ประเทศไทยไดอ้ ันดบั 52 54 56 56 และ 55 ตามลำ�ดับ IMD จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษา ตามตัวช้ีวัด ด้านการศึกษาท้ังหมด 20 ตัวชี้วัด จำ�แนกตามวัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูป ประเทศดา้ นการศึกษา โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ ด้านการลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา พิจารณาจากตัวช้ีวัดต่างๆ ของ IMD จำ�นวน 8 ตัวชี้วัด พบว่า ตัวช้ีวัดมีอันดับลดลง 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) พบว่า ในปี 2563 ประเทศไทยมกี ารลงทนุ ทางการศกึ ษารอ้ ยละ 3.0 ของ GDP (อนั ดบั 58) ซ่ึงเป็นการลงทุนทางการศึกษาเทียบกับ GDP ที่มีจำ�นวนน้อยเกือบสุดท้าย ในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค 2) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อประชากร จำ�นวน 229 เหรียญสหรัฐ (อันดับ 56) ซ่ึงมีจำ�นวนลดลงจากปีที่ผ่านมา 3) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา คิดเป็น ร้อยละ 18 (อันดับ 45) โดยมีอันดับลดลงแต่มีคะแนนเท่าเดิม จากอันดับ 43 (ร้อยละ 18) ในปี 2562 เป็นอันดับ 45 ในปี 2563 4) งบประมาณรายจ่าย ดา้ นการศกึ ษาตอ่ นักเรยี นรายหวั ทกุ ระดบั การศกึ ษา จ�ำ นวน 930 เหรยี ญสหรฐั 120 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) (อันดับ 56) ซึ่งมีจำ�นวนเท่าเดิม แต่มีอันดับลดลง จากอันดับ 55 ในปี 2562 เป็นอันดับ 56 ในปี 2563 ซึ่งตํ่ากว่าประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มเอเซียแปซิฟิก 5) อัตราการเขา้ เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาของประเทศไทยมีอนั ดับลดลง แต่คะแนน เท่าเดิม จากอนั ดบั 56 (ร้อยละ 77.3) ในปี 2562 มาเปน็ อนั ดับ 57 (ร้อยละ 77.3) ในปี 2563 ซ่ึงต่ํากว่าประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มเอเซียแปซิฟิกท่ีมีอัตรา การเขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษารอ้ ยละ 90 ขนึ้ ไป 6) รอ้ ยละของผหู้ ญงิ ทจี่ บการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป พบวา่ ประเทศไทยมผี หู้ ญงิ ทจ่ี บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ขึ้นไป เป็นสัดส่วนที่ลดลงมากและในการจัดอันดับลดลงถึง 15 อันดับ จากอันดับ 32 (ร้อยละ 57.1) ในปี 2559 เป็น อันดับ 47 (ร้อยละ 24.9) ในปี 2563 และ 7) จ�ำ นวนนกั ศกึ ษาตา่ งชาตทิ เี่ ขา้ มาเรยี นระดบั อดุ มศกึ ษาในประเทศ ตอ่ ประชากร 1,000 คนมีอนั ดบั ลดลง 2 อันดบั จากอนั ดบั 51 เป็นอันดับ 53 ในปี 2563 แตย่ งั มจี �ำ นวนนกั ศกึ ษาตา่ งชาตเิ ขา้ มาเรยี นระดบั อดุ มศกึ ษาในประเทศไทย จำ�นวน 0.48 คน ต่อประชากร 1,000 คน สำ�หรับตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม 1 ตวั ชว้ี ดั ไดแ้ ก่ จ�ำ นวนนกั ศกึ ษาในประเทศทไ่ี ปศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศตอ่ ประชากร 1,000 คน คดิ เปน็ จำ�นวน 0.49 คน ต่อประชากร 1,000 คน (อนั ดับ 53) จะเห็นได้ว่าตัวช้ีวัดด้านการลดความเหลื่อมล้ําส่วนใหญ่มีอันดับลดลง โดยตวั ชีว้ ดั ส่วนใหญ่มีอันดบั ตาํ่ กวา่ อนั ดับ 50 และไม่มตี วั ชว้ี ัดใดท่ีมีอันดับดกี ว่า อันดับ 45 และตัวช้ีวัดที่อยู่อันดับเกือบสุดท้าย ได้แก่ งบประมาณด้านการ ศึกษาต่อ GDP และอตั ราการเขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ซงึ่ อยู่ในอันดับที่ 58 และ 57 ตามล�ำ ดบั ดา้ นการยกระดบั คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา พจิ ารณาจากตวั ชวี้ ดั ตา่ งๆ ของ IMD จ�ำ นวน 8 ตวั ชวี้ ดั พบวา่ ตวั ชว้ี ดั ทมี่ อี นั ดบั ดขี นึ้ มี 3 ตวั ชว้ี ดั ไดแ้ ก่ 1) อตั ราสว่ น นักเรยี นตอ่ ครู 1 คน ทส่ี อนระดับประถมศึกษา เทา่ กบั 16.20 : 1 (อนั ดับ 36) มอี นั ดบั ดขี นึ้ 4 อนั ดบั จากปี 2562 โดยมแี นวโนม้ ของอนั ดบั ทดี่ ขี น้ึ จาก 3 ปที ผี่ า่ นมา 2) อตั ราส่วนนกั เรยี นตอ่ ครู 1 คน ที่สอนระดับมธั ยมศกึ ษา เทา่ กบั 24.16 : 1 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 121 (อันดบั 57) มอี นั ดับดีข้ึน 3 อันดบั ซง่ึ มแี นวโน้มของอันดบั ทเี่ พ่ิมขนึ้ ตลอด 4 ปี ที่ผ่านมา แต่ยังคงอยู่ในอันดับเกือบสุดท้ายตลอด 4 ปีที่ผ่านมาเช่นกัน และ 3) ดชั นมี หาวทิ ยาลยั ซง่ึ เปน็ ตวั ชวี้ ดั ทเี่ พม่ิ ขน้ึ ใหม่ ในปี 2562 พบวา่ มอี นั ดบั ดขี น้ึ 1 อนั ดบั แตม่ ีคะแนนลดลง จาก 5.10 คะแนนเป็น 2.02 คะแนน ส�ำ หรบั ตวั ชี้วดั ท่ีมีอันดับเท่าเดิม 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากร อายุ 15 ปี ร้อยละ 6.2 (อนั ดับ 59) ซ่ึงมแี นวโนม้ ของอันดบั ท่ลี ดลงและมอี ันดบั เกอื บสดุ ทา้ ยของการประเมนิ และ 2) ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ (TOEFL) ร้อยละ 78 (อันดับ 59) ซงึ่ มีแนวโนม้ ของอนั ดับทล่ี ดลงและมอี ันดับเกอื บสดุ ทา้ ย ของการประเมิน เช่นกนั ส�ำ หรบั ตัวช้วี ัดที่มอี ันดับลดลง จำ�นวน 2 ตวั ชีว้ ดั ได้แก่ 1) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ท่ีมีอายุ 15 ปี (ผลการทดสอบ PISA) (อันดับ 50) มีอันดับลดลง 1 อันดับ และ 2) ผลสัมฤทธ์ิของการอุดมศกึ ษา มีอนั ดับลดลง 6 อนั ดบั จากอันดับที่ 41 ในปี 2562 เปน็ อนั ดบั ท่ี 48 ในปี 2563 และมแี นวโนม้ ของอนั ดบั ทล่ี ดลง นอกจากน้ี ในปี 2563 IMD ไดก้ �ำ หนดใหม้ ตี วั ชวี้ ดั เพมิ่ ขน้ึ 1 ตวั ชวี้ ดั ไดแ้ ก่ รอ้ ยละของนกั เรยี น ท่ีมีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่านที่ไม่อยู่ในระดับตํ่า มอี ันดับ 50 จะเหน็ ไดว้ า่ ตวั ชว้ี ดั ในดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษายงั ไมด่ มี ากนกั ทงั้ ผลการสอบ ดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ผลสมั ฤทธขิ์ องการอดุ มศกึ ษา ความสามารถในการ ใชภ้ าษาองั กฤษ และอตั ราการไมร่ ู้หนงั สือของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไป รวมถงึ อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ครู 1 คนทส่ี อนระดบั มธั ยมศกึ ษาทม่ี อี นั ดบั ดขี นึ้ แตย่ งั มอี นั ดบั เกือบสุดท้ายของการประเมินในปีนี้ นอกจากน้ีตัวชี้วัดส่วนมากท่ีมีอันดับคงท่ี ไมเ่ ปลย่ี นแปลงแตย่ งั มอี นั ดบั เกอื บสดุ ทา้ ยของการประเมนิ ในปนี ้ี รวมทงั้ ไมม่ ตี วั ชว้ี ดั ใด ท่ีมีอันดับถึง 31.5 ท่ีอยู่จุดกึ่งกลางของประเทศที่เข้าร่วมการจัดอันดับรวม 63 ประเทศ รวมทัง้ ตัวช้วี ัดบางตวั แม้จะมอี นั ดบั ดีข้นึ จากปีกอ่ น แต่ยงั มอี ันดับเกอื บ สุดทา้ ยของประเทศท่ีเขา้ ร่วมการจดั อนั ดับความสามารถในการแข่งขัน อกี ดว้ ย 122 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ดา้ นการสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ IMD ประเมนิ สมรรถนะดา้ นการศกึ ษาทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การมงุ่ ความเปน็ เลศิ และสรา้ งขดี ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ จำ�นวน 4 ตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดมีอันดับดีขึ้น 3 ตัวช้วี ดั ไดแ้ ก่ 1) การตอบสนองตอ่ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ของการอดุ มศกึ ษา มคี ะแนนผลการประเมนิ เทา่ กบั 5.52 คะแนน จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน (อนั ดับ 44) 2) การบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่ีตอบสนองต่อความต้องการ ของภาคธรุ กจิ ไดค้ ะแนน 5.94 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน (อนั ดบั 40) และ 3) การศกึ ษา ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาท่ีตอบสนองต่อความสามารถ ในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจ ได้ 5.80 คะแนน จากคะแนนเตม็ 10 (อันดับ 39) ซง่ึ เปน็ ตวั ชวี้ ดั ท่ีเพิ่มขน้ึ ใหม่ในปี 2562 สำ�หรบั ตัวชีว้ ดั ที่มอี ันดบั ลดลง 1 ตวั ชี้วัด ได้แก่ 3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ ได้ 5.02 คะแนน จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน (อนั ดบั 47) ซง่ึ มอี นั ดบั ลดลง 1 อนั ดบั แตม่ คี ะแนนเพม่ิ ขนึ้ จาก 4.96 คะแนน (อนั ดบั 46) เปน็ 5.02 คะแนน (อนั ดบั 47) จากปี 2562 จะเห็นได้ว่าตัวช้ีวัดด้านสร้างสมรรถนะเพ่ือมุ่งความเป็นเลิศและ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน มีแนวโน้มของค่าคะแนนและอันดับท่ี เพิ่มมากขึ้น แต่มีอันดับที่ไม่เกินคร่ึงจากประเทศที่เข้ารับการประเมินทั้งหมด โดยตัวชี้วัดทั้ง 4 ตัวชี้วัดในกลุ่มน้ีเป็นตัวชี้วัดท่ีได้จากการสำ�รวจความคิดเห็น จากผบู้ ริหารภาคธรุ กจิ กล่าวโดยสรุป เมื่อพิจารณาถึงสมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากลยังอยู่ ในระดบั ทไ่ี มด่ มี ากนัก เม่ือเปรยี บเทียบกบั ประเทศในกลมุ่ เอเซยี แปซิฟิก รวมทั้ง ตวั ชว้ี ัดดา้ นการศึกษาสว่ นใหญข่ องประเทศไทยมแี นวโนม้ ของอันดบั และคะแนน ท่ีลดลง ท้ังด้านการยกระดับด้านคุณภาพการศึกษา ปัญหาด้านความเหลื่อมล้ํา ทางการศึกษา สำ�หรับด้านการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีแนวโน้มของคะแนนและอันดับท่ีดีข้ึน แต่ยังมีอันดับที่ไม่เกินคร่ึงของประเทศ ที่เข้ารับการประเมินท้ังหมด ดังนั้น ประเทศไทยจึงถูกจัดอันดับอยู่ในกลุ่ม ระดับล่างท่ีมีอนั ดับไม่เกินคร่งึ จากประเทศทเ่ี ขา้ รับการประเมินทัง้ หมด สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 123 อภิปราย 1. ความสามารถในการแขง่ ขนั ในภาพรวม จำ�แนกตามปัจจัยหลัก ดงั นี้ 1.1 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยด้านสมรรถนะ ทางเศรษฐกิจ มีอันดับลดลง 6 อันดับ อยู่ในอันดับ 14 โดยปัจจัยหลักด้าน สมรรถนะทางเศรษฐกิจยังคงเป็นปัจจัยหลักที่ไทยมีอันดับดีท่ีสุด โดยมีจุดแข็ง อย่ทู กี่ ลมุ่ การคา้ ระหวา่ งประเทศ (อันดบั 5) ซง่ึ มอี ันดับดีกว่าประเทศเพ่ือนบ้าน หลายประเทศ ไดแ้ ก่ มาเลเซีย (อนั ดบั 9) ไต้หวัน (อันดับ 27) จนี (อันดับ 38) ญปี่ นุ่ (อนั ดับ 39) เกาหลี (อนั ดบั 41) ฟิลิปปนิ ส์ (อนั ดบั 48) และอนิ โดนเี ซยี (อนั ดับ 50) โดยมเี กณฑ์ชว้ี ดั ในเร่อื งรายไดจ้ ากการทอ่ งเทีย่ วเป็นจดุ แข็งในกลุ่มนี้ จะเหน็ ไดจ้ าก Trip Advisor ซงึ่ เปน็ เวป็ ไซตด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ซง่ึ ไดร้ วบรวม ความคดิ เหน็ จากนกั ทอ่ งเทย่ี วทวั่ โลกและสรปุ 25 จดุ หมายปลายทางทดี่ ที สี่ ดุ Top Destination ทค่ี วรคา่ แกก่ ารเดนิ ทางไปเทย่ี วมากทสี่ ดุ ในปี 2020 ไดแ้ ก่ ภเู กต็ (Phuket, Thailand) ไดร้ บั การจดั อนั ดบั เปน็ ล�ำ ดบั ที่ 6 จาก 25 และกรุงเทพมหานคร ไดร้ บั การจดั อนั ดบั ที่ 14 จาก 25 จดุ หมายปลายทางทด่ี ที ส่ี ดุ ในโลก โดยมสี ถานทท่ี อ่ งเทยี่ ว หา้ มพลาด เชน่ พระบรมมหาราชวงั กบั พระต�ำ หนกั และพระทนี่ ง่ั ทม่ี สี ถาปตั ยกรรม สวยงามทรงคุณค่า วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดริมแม่น้ําเจ้าพระยา ที่สร้างมาต้ังแต่สมัยอยุธยา และพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย จัดแสดงผลงาน ศิลปะหลากหลายแขนง1 เป็นต้น นอกจากน้ี ภาคการท่องเที่ยวของไทยยังเป็น ภาคเศรษฐกิจที่มีศักยภาพสะท้อนจากอันดับในดัชนีช้ีวัดความสามารถในการ แขง่ ขนั ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วปี 2562 โดย World Economic Forum ทไี่ ทยตดิ อนั ดบั 31 จาก 140 ประเทศทัว่ โลก และเป็นอันดับ 3 ของอาเซยี นรองจากสิงคโปรแ์ ละ มาเลเซยี 2 อกี ดว้ ย 1 //travel.kapook.com/view226749.html สบื ค้น วันท่ี 25 มกราคม 2564 2 //www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_29Oct2019. aspx สืบคน้ วันท่ี 25 มกราคม 2564 124 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) สำ�หรับจดุ แข็งด้านการจ้างงาน (อันดับ 10) ซงึ่ อันดบั ดกี วา่ ประเทศ เพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย (อันดับ 11) เกาหลี (อันดับ 12) จีน (อนั ดบั 13) ฮ่องกง (อันดบั 25) และฟลิ ปิ ปินส์ (อนั ดับ 26) โดยมีเกณฑ์ชว้ี ดั ในเรอ่ื งอตั ราการวา่ งงานตาํ่ เปน็ จดุ แขง็ ในกลมุ่ นี้ นอกจากน้ี สมรรถนะทางเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศไทยดกี ว่าหลายประเทศในภมู ภิ าคเอเซียแปซฟิ กิ โดยเฉพาะ ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ฟิลิปปินส์ ที่มีสมรรถนะด้านเศรษฐกิจต่ํากว่าไทยถึง 30 อนั ดับ เนือ่ งจากฟลิ ปิ ปนิ สม์ ีจุดอ่อนในปัจจยั ย่อยดา้ นการค้าระหว่างประเทศ และการลงทุนระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยกำ�ลังเผชิญกับการระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ต้ังแต่ปลายปี 2563 เศรษฐกิจไทยปีน้ีคาดว่าขยายตัวราว 2-3% จากปีก่อนหน้า ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัว 3-4% และการขยายตัวดังกล่าวยังคงต่ํากว่าปี 2562 ซ่ึงเป็นช่วงก่อนการระบาด ของโควิด-19 นอกจากน้ีอีกปัจจัยหลักของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย คือวัคซีน หากการฉีดวัคซีนมีความล่าช้าอาจทำ�ให้การฟ้ืนตัวต่ํากว่า ท่ีคาดการณ์ ทั้งนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการส่งออกและ การท่องเที่ยว หากประเทศหลักในโลกสามารถฉีดวัคซีนได้ภายในคร่ึงปีแรก จะทำ�ให้เศรษฐกิจในประเทศเหล่าน้ันเร่ิมฟ้ืนตัวได้ต้ังแต่ไตรมาส 3 น่ันหมายถึง การส่งออกและการท่องเท่ียวของประเทศไทยจะเร่ิมฟื้นตัวได้ในครึ่งปีหลัง ของปี แต่หากสถานการณ์การระบาดระลอกใหม่ในประเทศไทยยังไม่คล่ีคลาย จะทำ�ให้การท่องเท่ียวในปี 2564 ฟ้ืนตัวล่าช้าออกไปกว่าที่คาดการณ์ รายได้ จากการทอ่ งเทย่ี วจะยงั คงไมก่ ลบั ไปสรู่ ะดบั เดมิ กอ่ นโควดิ จนกวา่ การระบาดสนิ้ สดุ ลง ดงั นน้ั การหดตวั ของการสง่ ออกและการทอ่ งเทยี่ วทผี่ า่ นมา ท�ำ ใหร้ ายไดข้ องธรุ กจิ และการจา้ งงานในประเทศลดลง โดยเฉพาะธรุ กจิ เอสเอม็ อี ทมี่ กี ารจา้ งงานมากกวา่ 13 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่นอกภาคการเกษตรและนอกภาครัฐ จำ�นวนช่ัวโมง การทำ�งานของแรงงานในประเทศในปีที่ผ่านมาลดลงไปกว่า 10% แม้คาดว่า สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 125 จะเรมิ่ ฟนื้ ตวั ในปนี แ้ี ตย่ งั คงตา่ํ กวา่ ระดบั เดมิ กอ่ นโควดิ นอกจากนี้ รายไดเ้ กษตรกร ไดร้ ับผลกระทบจากการระบาดของโควิดด้วยเชน่ กัน3 1.2 ความสามารถในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ มีอันดับลดลง 3 อันดับ อยู่ในอันดับ 23 พบว่า จุดเด่นสำ�หรับความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศด้านประสิทธิภาพภาครัฐ คือ กลุ่มนโยบายการคลัง มอี นั ดบั ดที ส่ี ดุ (อนั ดบั 5) โดยมจี ดุ แขง็ อยทู่ ป่ี ระสทิ ธภิ าพการเกบ็ ภาษรี ายไดส้ ว่ นบคุ คล (อันดับ 5) ซ่ึงมีอันดับดีกว่าประเทศเพ่ือนบ้าน ได้แก่ ฟิลิปปินส์ (อันดับ 8) มาเลยเซยี (อันดบั 15) สงิ คโปร์ (อนั ดับ 34) และจนี (อนั ดับ 38) นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีจุดแข็งด้านอัตราการให้ความช่วยเหลือสังคมด้านความ ปลอดภัยของนายจ้าง (อนั ดับ 6) และดา้ นการเกบ็ ภาษกี ารบริโภค (อันดบั 8) ส�ำ หรบั จดุ ออ่ นดา้ นประสทิ ธภิ าพภาครฐั คอื ปจั จยั ยอ่ ยดา้ นกฎระเบยี บ ในการท�ำ ธรุ กจิ /กฎหมายดา้ นธรุ กจิ โดยมจี ดุ ออ่ นอยทู่ คี่ า่ ใชจ้ า่ ยซาํ้ ซอ้ นซงึ่ มอี นั ดบั รั้งท้าย (อันดับ 61) รองลงมา คือปัจจัยย่อยด้านกรอบการบริหารด้านสังคม โดยมเี กณฑช์ ้ีวดั ในดา้ นความมีเสรีภาพของส่ือ (อันดับ 54) อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้คะแนนสมรรถนะด้านประสิทธิภาพ ของภาครฐั ดกี วา่ หลายประเทศในภมู ิภาคเอเชยี แปซิฟิก เชน่ เกาหลี (อันดบั 28) มาเลเซยี (อนั ดับ 30) อินโดนเี ซยี (อันดับ 31) และจีน (อนั ดบั 37) ทนี่ า่ สังเกต คือ จีนท่ีมีสมรรถนะทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 7 ของโลก แต่จีนกลับได้คะแนน สมรรถนะด้านประสิทธิภาพของภาครัฐอยู่ในอันดับ 37 ต่ํากว่าไทย 14 อันดับ เนอ่ื งจากจนี มจี ุดอ่อนนโยบายการคลงั (Tax Policy) (อันดบั 47) ในเกณฑ์ชว้ี ัด เรอื่ งอตั ราการใหค้ วามชว่ ยเหลอื สงั คมดา้ นความปลอดภยั ของนายจา้ ง ซงึ่ รง้ั ทา้ ยอยู่ ในอนั ดบั 62 ในขณะทไ่ี ทยมจี ดุ แขง็ ในเกณฑช์ ว้ี ดั เรอื่ งอตั ราการใหค้ วามชว่ ยเหลอื สังคมด้านความปลอดภัยของนายจ้าง (อันดับ 6) 3 ‘เศรษฐกิจไทย’ ปี 2564 ในวิกฤติโควิดระลอกใหม่ (bangkokbiznews.com) 126 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 1.3 ความสามารถในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ มีอนั ดับดขี ึ้น 4 อันดับ อย่ใู นอนั ดบั 23 ซึ่งไทยยงั มีอันดับดีกว่า เกาหลี (อนั ดบั 28) มาเลเซยี (อนั ดับ 29) นิวซีแลนด์ (อันดับ 30) อินโดนีเซยี (อันดับ 31) อนิ เดยี (อนั ดบั 32) ฟิลิปปนิ ส์ (อันดับ 33) ญี่ปุ่น (อันดับ 55) และมองโกเลีย (อนั ดับ 61) ในขณะที่ ฮอ่ งกง (อนั ดบั 2) สงิ คโปร์ (อนั ดบั 6) ไตห้ วนั (อนั ดบั 12) จนี (อนั ดบั 18) และออสเตรเลีย (อนั ดับ 21) ซึง่ มีอนั ดบั ดีกว่าประเทศไทย ส�ำ หรบั ประเทศไทย ยังคงรักษาจุดแข็งอยู่ท่ีปัจจัยกลุ่มตลาดแรงงาน (อันดับ 15) โดยมีเกณฑ์ช้ีวัด ในเร่ืองสัดส่วนของช่ัวโมงการทำ�งานต่อสัปดาห์ (อันดับ 5) และปัจจัยย่อยด้าน การบรหิ ารจัดการ (อันดับ 21) โดยมีเกณฑ์ช้ีวดั ในเร่ืองรอ้ ยละของผู้ประกอบการ ในระยะธุรกิจเริ่มต้น (อันดับ 6) สำ�หรับจุดอ่อนอยู่ในปัจจัยด้านกลุ่มผลิตภาพ และประสิทธิภาพ (อันดับ 41) ซ่ึงมีเกณฑ์ชี้วัดในเรื่องผลิตภาพด้านแรงงาน (อันดบั 55) ผลิตภาพในภาพรวม (อนั ดับ 54) ประสิทธิภาพของผปู้ ระกอบการ ขนาดกลางและขนาดเล็กท่ีได้มาตรฐานระดับสากล (อันดับ 50) รวมท้ังการใช้ เทคโนโลยีและเคร่ืองมือดิจิทัลเพ่ือการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน ของบรษิ ทั (อนั ดบั 39) เพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลงของโลกในยคุ ดจิ ทิ ลั ซง่ึ จะชว่ ย ให้ความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นประสทิ ธิภาพของภาคธุรกจิ เพ่มิ สูงข้นึ อยา่ งไรกต็ าม จดุ ออ่ นส�ำ คญั ในเรอื่ งผลติ ภาพดา้ นแรงงาน (อนั ดบั 55) ของไทยนั้น เนื่องมาจากหลายสาเหตุ เช่น ความไม่สมดุลของตลาดแรงงาน แรงงานมคี วามช�ำ นาญหรอื ทกั ษะ (Skill) ไมต่ รงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีโลก รวมถึงการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งกำ�ลัง แรงงานของประเทศไทย4 เป็นต้น ดังนั้น สิ่งสำ�คัญสำ�หรับการเตรียมตัวสำ�หรับ งานในอนาคต คอื การทบทวนทักษะและเพิ่มทกั ษะ (Re-skill & Up-skill) กล่าว คือ การทบทวนทักษะเป็นการเรียนส่ิงใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ขณะที่การเพิ่ม 4 สถานการณด์ ้านแรงงานเดือนมกราคม 2561 และประมาณการไตรมาส 1 ปี 2561.เอกสารอดั สำ�เนา. สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 127 ทกั ษะเปน็ การท�ำ ใหค้ วามรทู้ ม่ี มี คี วามทนั สมยั และท�ำ ใหท้ กั ษะทม่ี แี ขง็ แกรง่ รวมทง้ั การเปลยี่ นทกั ษะ (change skill) และเปลย่ี นมมุ มองความคดิ (Change mindset) เพ่ือพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงของโลกที่กำ�ลังเกิดขึ้น ซึ่งเป็นส่ิงท่ีสำ�คัญมาก เช่นเดียวกัน5 เน่ืองจากการยกระดับผลิตภาพของแรงงานจำ�เป็นต้องพึ่งพา เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สถานประกอบการและตวั แรงงานเองจะตอ้ งมคี วามสามารถ ในการเลือกใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานของตนเองได6้ นอกจากน้ี การจัดอันดับของสถาบัน WEF ในดา้ นทกั ษะของก�ำ ลงั แรงงาน พบว่า ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดับ 73 ของโลก อยใู่ นอันดบั 6 ของอาเซียนมีอนั ดับ ดกี วา่ เพยี ง 3 ประเทศ ไดแ้ ก่ เวยี ดนาม ลาว และกมั พชู า อยา่ งไรกต็ าม แรงงานทม่ี ี ทกั ษะสงู จะชว่ ยลดคา่ ด�ำ เนนิ การทางธรุ กจิ ท�ำ ใหก้ ารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และความคดิ เกิดเร็วขึ้น รวมทั้งช่วยการปรับปรุงประสิทธิภาพและนวัตกรรมในประเทศได้ นอกจากน้ีประเทศไทยควรเร่งพัฒนาให้เกิดผลเป็นรูปธรรม คือ ความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรม (Innovation Capability) ซึ่งเป็นด้านท่ีไทยอยู่ห่างจาก บรรทัดฐานโลก (Frontier) มากที่สุด โดยได้คะแนน 43.9 จาก 100 คะแนน ดังน้ันประเทศไทยจึงควรให้ความสำ�คัญกับการสร้างขีดความสามารถในด้านน้ี ควบคู่ไปกับการปรับปรุงปัจจัยสนับสนุนด้านอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อกระตุ้น ใหเ้ กดิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Spillovers) ระหวา่ งบรษิ ทั ตา่ งชาตแิ ละผปู้ ระกอบ การไทย รวมท้ังความร่วมมือระหว่างบริษัทท่ีมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูง กบั บรษิ ทั อื่นๆ ในประเทศอีกดว้ ย7 5 สรุปผลการประชมุ ทางวิชาการเพ่ือจัดท�ำ ขอ้ เสนอนโยบายทางการศกึ ษา (OEC forum) คร้ังท่ี 3 เรือ่ ง ยก กำ�ลังสองสมรรถนะการศึกษาของประเทศผ่านมุมมองดัชนีช้ีวัดความสามารถทางการศึกษา นานาชาติ วันท่ี 30 กรกฎาคม 2563 หนา้ 5 6 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.การศึกษาแนวโน้มความตอ้ งการกำ�ลงั คนโดยยดึ พนื้ ท่เี ปน็ ฐาน.2562 หนา้ 42 7 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.สรุปผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศไทยโดย wef ปี 2019-2020.หน้า 2 เอกสารอดั ส�ำ เนา 128 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 1.4 ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐาน ผลการจัด อนั ดบั ของไทยในดา้ นนย้ี งั คงตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งถงึ แมจ้ ะมอี นั ดบั ดขี นึ้ โดยไดร้ บั การจดั อนั ดบั ท่ี 44 จากอนั ดบั ท่ี 45 ในปกี อ่ น ซง่ึ ตาํ่ กวา่ ประเทศเพอื่ นบา้ น หลายประเทศ โดยเฉพาะสิงคโปร์ (อันดับ 7) รองลงมาคอื ฮอ่ งกง (อนั ดับ 14) ไตห้ วนั (อนั ดบั 15) เกาหลี (อนั ดบั 16) ออสเตรเลยี (อนั ดบั 18) ญปี่ นุ่ (อนั ดบั 21) จนี (อนั ดบั 22) นวิ ซแี ลนด์ (อนั ดบั 25) และมาเลยเซยี (อนั ดบั 31) โดยมปี จั จยั ยอ่ ย 4 กลมุ่ ที่ปรับตวั ดขี ึ้น ได้แก่ 1) กลมุ่ สาธารณปู โภคพ้ืนฐานอนั ดบั ดขี น้ึ 1 อนั ดับ เป็นอันดับ 26 (อันดับ 27 ปี 2562) 2) กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี โดยมอี นั ดบั ดขี น้ึ 4 อนั ดบั เปน็ อนั ดบั 34 (อนั ดบั 38 ปี 2562) 3) กลมุ่ ดา้ นสขุ ภาพ และส่ิงแวดล้อมดีข้ึน 6 อันดับ เป็นอันดับ 49 (อันดับ 55 ในปี 2562) และ 4) กลมุ่ ดา้ นการศกึ ษา มอี นั ดบั ดขี น้ึ 1 อนั ดบั เปน็ อนั ดบั 55 (อนั ดบั 56 ในปี 2562) สำ�หรับปัจจัยท่ีปรับตัวลดลงมี 1 ปัจจัย ได้แก่ กลุ่มโครงสร้างพ้ืนฐาน ดา้ นวิทยาศาสตร์ลดลง 1 อนั ดบั เปน็ อันดับ 39 (อนั ดับ 38 ในปี 2562) เมื่อพิจารณาปัจจัยย่อยกลุ่มโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ พบว่า ประเทศไทย มีอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ ลดลง 1 อันดับ (อันดับ 38) และมีอันดับต่ํากว่าประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น มาเลเซีย (อันดับ 32) สิงคโปร์ (อันดับ 15) และตํ่ากว่าประเทศในภูมิภาค เอเชยี แปซฟิ กิ เชน่ เกาหลี (อันดบั 3) ไต้หวนั (อนั ดับ 7) ญ่ีปุ่น (อันดบั 8) และ จีน (อันดับ 10) ท่ีมีอันดับการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ในภาพรวมโดดเด่น ในภมู ภิ าคน้ี อยา่ งไรกต็ าม ประเทศไทยมงี บประมาณดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาตอ่ จดี พี ี มจี �ำ นวนเพิม่ ข้นึ เล็กนอ้ ย จากเดมิ รอ้ ยละ 1 เปน็ ร้อยละ 1.11 (อนั ดับ 37) ในขณะ ทเ่ี กาหลมี สี ดั สว่ นของงบประมาณดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาของทง้ั ประเทศตอ่ จดี พี ี รอ้ ยละ 4.53 (อนั ดบั 2) ซง่ึ เปน็ อนั ดบั สงู ทส่ี ดุ ในภมู ภิ าคน้ี และมากกวา่ ไทยถงึ 5 เทา่ รองลงมาไดแ้ ก่ ไตห้ วนั (อนั ดบั 4) ญปี่ นุ่ (อนั ดบั 6) จนี (อนั ดบั 15) สงิ คโปร์ (อนั ดบั 20) ออสเตรเลีย (อันดับ 21) และมาเลเซีย (อันดับ 25) นิวซีแลนด์ (อันดับ 28) ไทย (อนั ดับ 37) ฮ่องกง (อนั ดบั 42) อินเดยี (อันดบั 47) อินโดนีเซยี (อันดบั 57) สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 129 ฟลิ ิปปินส์ (อนั ดับ 58) และมองโกเลีย (อนั ดับ 59) ตามลำ�ดบั นอกจากน้ี จำ�นวน บทความดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ ผยแพรใ่ นระดบั สากลของประเทศไทย มจี ำ�นวน 11,152 เร่ือง (อันดับ 34) ซ่ึงมีจำ�นวนเพิ่มขึ้นเลก็ นอ้ ยจากปีทผ่ี า่ นมา ( 9,582 เรอ่ื ง อนั ดบั 36) และนอ้ ยกวา่ มาเลเซยี ซงึ่ มจี �ำ นวนบทความดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เผยแพร่ในระดับสากล จำ�นวน 22,258 เร่ือง (อันดับ 20) ซงึ่ จ�ำ นวนมากกวา่ ไทย 1 เทา่ ในขณะทจ่ี นี มจี �ำ นวนบคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา ของทง้ั ประเทศมากทสี่ ดุ (อนั ดบั 1) และกม็ จี �ำ นวนบทความดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีมากทสี่ ดุ เปน็ อันดบั 1 เช่นเดียวกัน นอกจากน้ี พบว่า จำ�นวนผู้สำ�เร็จ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตรข์ องประเทศไทย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.89 (อนั ดับ 45) โดยมอี ินเดียทมี่ ีจำ�นวนผู้สำ�เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ของประเทศไทย มากท่ีสุด ร้อยละ 68.77 (อันดับ 1) รองลงมาได้แก่ ฮ่องกง ร้อยละ 57.89 (อันดับ 2) สิงคโปร์ ร้อยละ 57.80 (อนั ดบั 3) จนี รอ้ ยละ 47.87 (อนั ดบั 4) และมาเลเซีย รอ้ ยละ 46.68 (อนั ดับ 5) ตามล�ำ ดบั สำ�หรับปัจจัยย่อยกลุ่มโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยี พบว่า การขยายตัวของเทคโนโลยีและการสื่อสารทำ�ให้คนไทยมีโอกาสในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ได้อย่างกว้างขวาง จะเห็นได้จากผลการจัดอันดับ ของ IMD พบว่า คนไทยใช้โทรศัพฑ์เคลื่อนท่ีระบบ 3G และ 4G (อันดับ 10) ร้อยละ 97.4 จากจำ�นวนประชากรทั้งหมด โดยมีความเร็วของอินเทอร์เน็ต เฉล่ีย 47.5 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) (อันดับ 20) แต่ไทยมีจำ�นวน ผใู้ ช้อนิ เทอร์เนต็ จ�ำ นวน 528 คน ต่อประชากร 1,000 คน อันดับ 54 มที กั ษะ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศของไทยอยใู่ นอนั ดบั 45 ได้ 6.64 คะแนน จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน รวมท้ังไทยมีการลงทุนภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ดีขึ้นจากปที ผ่ี ่าน เปน็ อันดับ 16 (อนั ดับ 20 ปี 2562) หากพจิ ารณาความสามารถ ในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานเทคโนโลยรี ะดบั นานาชาตใิ นกลมุ่ เอเชยี แปซฟิ กิ พบว่า สิงคโปร์ อยใู่ นอนั ดบั 1 (อันดับ 1 ในปี 2563) จนี อยู่อันดบั 10 (อันดับ 2 130 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ในปี 2562) สำ�หรบั อินโดนเี ซยี ถึงแม้ว่าภาพรวมโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยี ได้อนั ดบั 53 ซ่งึ เปน็ อันดบั ที่ต่ํากว่าไทย (อนั ดบั 34) แต่อินโดนีเซียมขี อ้ ไดเ้ ปรียบ ในด้านทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอันดับดีกว่าไทย 1 อันดับ (อันดับ 44) จากเดิมที่มีอนั ดับดีกว่าไทยถึง 8 อันดบั อยา่ งไรก็ตาม ผลการจัดอนั ดบั ความสามารถในการแข่งขันดา้ นดจิ ิทัล จากรายงาน IMD World Digital Competitiveness Ranking 20208 พบวา่ ประเทศไทยมคี วามสามารถในการแขง่ ขนั ด้านดิจิทัลในภาพรวมอยใู่ นอนั ดบั 39 จาก 63 ประเทศ โดยมอี นั ดบั ดกี ว่าเพยี ง 2 ประเทศ ได้แก่ อนิ โดนีเซยี (อันดับ 56) และฟิลิปปินส์ (อันดับ 57) โดยมีสิงคโปร์อยู่ในอันดับ 2 ของโลก มาเลเซีย อันดับ 26 ซ่ึงมีอันดับดีกว่าไทย ขณะท่ีผลการดำ�เนินงานภาพรวมท่ีทำ�ให้เกิด การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 22 โดยมีอันดับ ดีกว่าเพยี ง 2 ประเทศ ไดแ้ ก่ ฟิลปิ นิ ส์ (อันดับ 53) และอนิ โดนเี ซยี (อันดบั 54) โดยมีสิงคโปร์อยู่ในอันดับ 1 ของโลก และมาเลเซีย (อันดับ20) ซ่ึงมีอันดับ ดีกว่าไทย เชน่ กนั นอกจากนี้ การจดั อนั ดบั จากรายงาน The Global Competitiveness Index 4.0 โดย World Economic Forum ปี 20199 พบวา่ ประเทศไทยมกี ารน�ำ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารมาปรบั ใชอ้ ยใู่ นอนั ดบั 62 จาก 141 ประเทศ โดยมีสิงคโปร์อยู่ในอันดับ 5 มาเลเซียอันดับ 33 ซ่ึงมีอันดับดีกว่าไทย สำ�หรับ อนิ โดนเี ซยี อยอู่ ันดับ 72 และฟลิ ปิ ปินส์อันดับ 88 น้ัน มีอนั ดับตา่ํ กว่าไทย ขณะท่ี ทักษะด้านดจิ ิทลั ของประชากรไทยอยูใ่ นอนั ดบั 66 จาก 141 ประเทศ ในขณะท่ี สิงคโปรอ์ ยใู่ นอนั ดับ 5 มาเลเซียอันดับ 10 ฟิลปิ ปินส์อนั ดบั 22 และอินโดนเี ซยี อันดับ 55 ซงึ่ มีอันดับดีกวา่ ไทย 8 IMD Digital Competitive Ranking 2020 9 //www.weforum.org/reports/the-global-competitveness-report-2019 สืบคน้ วนั ที่ 21 ธนั วาคม 2563. สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 131 จะเห็นได้ว่าคนไทยยังมีทักษะด้านดิจิทัลที่มีอันดับไม่ดีมากนัก ในขณะที่ การเปล่ียนแปลงของโลกในยุคดิจิทัลกำ�ลังเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ซ่ึงส่งผลกระทบ ต่อการดำ�รงชีวิตในปัจจุบันที่ต้องใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของการดำ�เนินชีวิต ดังนน้ั การเตรยี มก�ำ ลงั คนเพ่อื ให้พรอ้ มต่อการปรบั ตวั ในการด�ำ เนนิ ชวี ิตยคุ ดจิ ทิ ลั และการเตรียมกำ�ลังคนให้พร้อมเพื่อรองรับการทำ�งานในอนาคตไม่ว่าจะเป็น การทบทวนทกั ษะ การเพิม่ ทักษะ (Re-skill & Up-skill) และการเปลยี่ นทกั ษะ (change skill) รวมทงั้ การเปลยี่ นมมุ มองความคดิ (Change mindset) เพอื่ พรอ้ ม รับกบั การเปล่ยี นแปลงของโลกท่ีกำ�ลงั เกิดข้ึน จงึ เปน็ สิง่ ทส่ี �ำ คญั สำ�หรับทักษะที่มีความจำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนยุคสหัสวรรษ ควรมีใน ศตวรรษที่ 2110 จ�ำ แนกได้เปน็ 3 กล่มุ ทกั ษะ ไดแ้ ก่ 1) การรู้ระดับพ้ืนฐาน (Foundation Literacy) เป็นทักษะ ที่ผู้เรียนจะทราบถึงการปรับใช้ทักษะแกนกลางในภารกิจประจำ�วัน เช่น การรหู้ นงั สอื (Literacy) การรูเ้ ร่อื งจ�ำ นวน (Numeracy) คือ ทกั ษะการใชต้ ัวเลข ความน่าจะเปน็ สถติ ิ ทกั ษะการชงั่ ตวง วดั รวมทัง้ การวิเคราะห์เชงิ ปรมิ าณ การรู้ วิทยาศาสตร์ (Scientific literacy) การรู้ ICT (ICT literacy) การรู้เกี่ยวกับ การเงนิ (Financial literacy) และการรเู้ กย่ี วกบั พลเมอื งและวฒั นธรรม (Cultural and civic literacy) 2) สมรรถนะ (Competencies) เป็นแนวคิด/แนวทาง ที่ผ้เู รยี นใชต้ อบสนองต่อความทา้ ทายท่ีซับซอ้ น เชน่ การคิดวเิ คราะห/์ การแกไ้ ข ปัญหา (Critical thinking/problem-solving) ความคิดริเริ่ม(Creativity) การสอ่ื สาร (Communication) ซงึ่ การสอื่ สารเปน็ สง่ิ ทสี่ �ำ คญั มากในยคุ ปจั จบุ นั เนอ่ื งจาก มชี อ่ งทางในการสอ่ื สารกันมากมายอย่างรวดเร็ว ความรว่ มมือ (Collaboration) และสามารถทำ�งานร่วมกันได้ 10 สรปุ ผลการประชมุ ทางวิชาการเพ่อื จดั ทำ�ขอ้ เสนอนโยบายทางการศึกษา (OEC forum) ครั้งท่ี 3 เรื่อง ยกกำ�ลังสองสมรรถนะการศึกษาของประเทศผ่านมุมมองดัชนีชี้วัดความสามารถทางการศึกษา นานาชาติ วันท่ี 30 กรกฎาคม 2563 หนา้ 6-7 132 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 3) บุคลิกภาพคุณภาพ (Character Qualities) เป็นแนวคิด/ แนวทางทีผ่ ูเ้ รียนใชต้ อบสนองตอ่ สภาพแวดล้อม ได้แก่ ความอยากรู้ (Curiosity) ความรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ (Initiative) ความทนทาน/ความอดทน (Persistence/Grit) ความสามารถในการปรบั ตวั (Adaptability) ภาวะผนู้ �ำ (Leadership) และความ ตระหนักร้เู กย่ี วกับสังคมและวฒั นธรรม (Social and cultural awareness) นอกจากนี้ คนทีต่ อ้ งการประสบความสำ�เร็จในการทำ�งานสมัยใหมจ่ ำ�เปน็ ต้องมีทักษะของกำ�ลังงานด้านดิจิทัล (Digital Workforce) ซ่ึงจากรายงาน ของ WEF เรอ่ื ง Future Jobs Report 2018 ชี้ให้เหน็ ถึง 10 อาชีพใหม่ทต่ี ้องรู้ ดา้ นดจิ ิทลั ไดแ้ ก่ 1) นักวิเคราะห์ข้อมูลและนักวิทยาศาสตร์ (Data Analysts and Scientists) 2) ผู้เช่ียวชาญด้านการเรียนรู้ของจักรกลและปัญญาประดิษฐ์ (AI and Machine Leaning Specialists) 3) ผจู้ ดั การทว่ั ไปและการปฏบิ ตั กิ าร (General and Operations Managers) 4) นักวิเคราะห์และนักพัฒนาซอฟแวร์และแอปพลิเคชั่น (Software and Applications Developers and Analysts) 5) มืออาชีพดา้ นการขายและการตลาด (Sales and Marketing Professionals) 6) ผู้เช่ยี วชาญดา้ นข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Specialists) 7) ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการเปลยี่ นผา่ นดจิ ทิ ลั (Digital Transformation Specialists) 8) ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคโนโลยใี หม่ (New Technology Specialists) 9) ผเู้ ชย่ี วชาญการพฒั นาองคก์ ร (Organizational Development Specialist) 10) ผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร (Information Technology Services) สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 133 นอกจากนี้ Jisc/Helen Beetham, Jisc Digital Capacity Framework 2015 ให้ค�ำ นิยามและกรอบการด�ำ เนินงานการรู้ดิจทิ ัล (Digital Literacies) คอื ความสนใจ ทัศนคติ และความสามารถส่วนบุคคลในการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและ เครอ่ื งมือในการส่อื สาร กรอบการดำ�เนินงานด้านการรดู้ จิ ทิ ลั (Digital Literacy Framework) ประกอบดว้ ย การใชเ้ ทคโนโลยขี อ้ มลู ขา่ วสารดจิ ทิ ลั (Use of digital technologies information) การให้ความร้เู ชงิ วชิ าการ (Academic) สอื่ และ การรขู้ ้อมูล (Media and data literacy) การสร้างสรรค์และส่ือสารดา้ นดิจทิ ัล (Digital Creation and Communication) การบง่ ช/ี้ ระบตุ วั ตนและความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship and identity) และการเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั (Digital learning) ส�ำ หรบั ประเทศทป่ี ระสบความส�ำ เรจ็ ตวั อยา่ งเชน่ สงิ คโปร์ ไดม้ กี ารเตรยี ม ความพร้อมสำ�หรับทักษะแห่งอนาคต โดยการต้ังสภาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ในอนาคต (The Future Economy Council: FEC) กำ�หนดแผน/เส้นทาง การเปล่ียนแปลงเป็นอุตสาหกรรม (Industry Transformation Map) ซ่ึงเป็นยุทธศาสตร์ในการเพ่ิมสมรรถนะการแข่งขันและการเจริญเติบโตของ 23 อตุ สาหกรรม ใน 6 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ การผลติ (manufacturing) กลมุ่ สรา้ งสง่ิ แวดลอ้ ม (built environment) กลมุ่ การแลกเปล่ียนและการตดิ ต่อเชอื่ มโยง (trade and connectivity) กลมุ่ การบรกิ ารภายในประเทศ (essential domestic services) กลมุ่ การบรกิ ารสมยั ใหม่ (modern services) และกลมุ่ วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ของบคุ คล (lifestyle) โดยในแตล่ ะแผน/เสน้ ทางการเปลยี่ นเปน็ อตุ สาหกรรมนน้ั ประกอบดว้ ย การพัฒนาปรับปรุงผลผลติ การพฒั นาทกั ษะ และนวัตกรรมและความเปน็ สากล โดยมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาและนำ�ไปสู่การปฏิบัติของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะ ท�ำ ให้เกดิ การจ้างงานคนสงิ คโปรเ์ พ่มิ มากข้นึ ทงั้ น้ี สงิ คโปรไ์ ดก้ �ำ หนดให้ ทกั ษะแหง่ อนาคต (Skill Future) เปน็ วาระแหง่ ชาติ ท่ีกำ�หนดให้คนสิงคโปร์ได้รับโอกาสในการพัฒนาตนเองให้ไปถึงตามศักยภาพ ของแต่ละคน โดยมีจุดเริ่มท่ีทักษะการแก้ปัญหาในเมือง (Urban Solutions) 134 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) การเงิน (Finance) ความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) การผลิต ขน้ั สงู (Advanced Manufacturing) สื่อดิจิทัล (Digital Media) บริการท่ีเปิด ใช้งานเทคโนโลยี (Tech-Enabled Services) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และความปลอดภยั ทางไซเบอร์ (Cyber security) เปน็ ตน้ ในขณะที่ เยอรมนี ได้ดำ�เนินการด้วยระบบการศึกษาแบบทวิภาคี เป็นการผสมผสานระหว่างทฤษฎีเข้ากับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมของ การทำ�งานจริง ซึ่งมีการเรียนเชิงทฤษฎีองค์ความรู้เพียง 1-2 วันต่อสัปดาห์ และตอ้ งฝกึ ปฏบิ ตั อิ กี 3-4 วันต่อสัปดาห์ ระบบทวภิ าคนี ี้ แพร่หลายในประเทศ ฝร่งั เศส สวิตเซอรแ์ ลนด์ ออสเตรีย เกาหลีใต้ เนน้ ความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วน เช่น ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียนรัฐ สภาหอการค้า สภาอุตสาหกรรมจะเห็นได้ว่าแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีท่ี เกิดขน้ึ ส่งผลต่อการดำ�รงชวี ิตประจำ�วันของทกุ ชว่ งวยั ระบบการศกึ ษา จ�ำ เป็น ต้องมีการเตรียมพร้อมกับโลกใหม่ และการเตรียมการเปลี่ยน Skill ครูเพื่อ ให้เตรียมพร้อมกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 จึงเป็นส่ิงสำ�คัญสำ�หรับการเตรียม การศึกษา เพื่อรองรบั การเปลย่ี นแปลง ไปยุคดจิ ิทัล กลา่ วคือ หลกั สูตรปัจจบุ ัน สามารถสร้างบัณฑิตที่มีทักษะตามความความต้องการในปัจจุบันหรือไม่ ซ่ึงจะเห็นได้ว่า บริษัทขนาดใหญ่ในประเทศไทยยังขาดนักวิเคราะห์ข้อมูลและ นกั วทิ ยาศาสตร์ (Data Analysts and Scientists) อยู่เปน็ จำ�นวนมาก การศกึ ษา ในปัจจุบันควรนำ�วิธีการเรียนพร้อมกับการฝึกงานทำ�งาน เพ่ือให้เกิดทักษะ ในการทำ�งานจริง ไม่ใช่แค่เรียนแต่ทฤษฎีเพียงเท่านั้น ซ่ึงจะทำ�ให้ภาคเอกชน ไม่จ้างงาน เน่ืองจากเด็กท่ีจบการศึกษาไม่สามารถทำ�งานตามท่ีภาคเอกชน หรือเจ้าของกิจการต้องการได้ และทำ�ให้ไม่ได้เงินเดือนตามท่ีต้องการ ดังน้ัน ควรมีการวางแผนในการเตรียม มีการขับเคลื่อนประเทศอย่างไรเพื่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงและสามารถนำ�ไปปฏิบัติได้จริง ดังนั้นทุกภาคส่วนควรสร้าง ความร่วมมือร่วมกันเพ่ือสร้างเครือข่ายและร่วมกันพัฒนาศักยภาพของบุคคล รวมทั้งการเผยแพร่ความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้เทคโนโลยี สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 135 ดิจิทัล และใช้เทคโนโลยีเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีเกิดข้ึนใหม่อย่างเท่าทัน สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีกำ�ลังจะเกิดข้ึนใน 3 ทศวรรษข้างหน้าน้ี อาจส่งผล ตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาของประเทศอยา่ งนา่ สนใจ ทง้ั ในดา้ นการพฒั นากระบวนการ คดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเป็นระบบ การมีทกั ษะการใช้เทคโนโลยีอย่างรเู้ ท่าทัน เปน็ ต้น รวมท้ังการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี แบบก้าวกระโดด การเขา้ สยู่ ุคอินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง (Internet of Things) ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นรแู้ ละวถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย์ โดยฉับพลนั ส้ินเชงิ (Disruption) และการเขา้ ส่วู กิ ฤตสังคมสูงวยั เนือ่ งดว้ ยความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขทำ�ให้ ประชาชนมีอายุยืนยาวมากข้ึน ประกอบกับอัตราการเกิดที่ลดลง ส่งผลระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคม อันเป็นประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพของทรัพยากร มนษุ ยซ์ งึ่ เปน็ พน้ื ฐานส�ำ คญั ของการพฒั นาความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ในระยะยาวต่อไป กลา่ วโดยสรปุ ดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐานของประเทศไทยยังจ�ำ เปน็ ตอ้ งได้รับ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง ไม่วา่ จะเป็นโครงสรา้ งพน้ื ฐานด้านเทคโนโลยี โครงสรา้ ง พ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์ ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเรื่องการศึกษา โดยเฉพาะที่เก่ียวข้องกับการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ท่ีรัฐบาลได้พยายาม ผลักดันอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีท่ีผ่านมา ทำ�ให้การลงทุนในด้านน้ีเพ่ิมขึ้น อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงภาคธุรกิจเอกชน เพราะเป็นรากฐานของ การพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ทจี่ ะชว่ ยสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพและยง่ั ยืนได้ในทา้ ยทสี่ ุด จะเห็นได้ว่าสมรรถนะในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2563 มีอันดบั ลดลง 4 อนั ดับ และอยใู่ นอันดับเกนิ ครงึ่ (อันดบั 29 ของ 63 ประเทศ ท่ีเข้าร่วมการประเมิน) ถึงแม้ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นรากฐานของการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของประเทศ ในระยะยาวเรมิ่ มอี นั ดบั ทด่ี ีขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางดา้ น 136 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) เทคโนโลยที ่มี อี ันดับดีข้ึนถงึ 4 อนั ดบั จากอนั ดับที่ 38 ในปี 2562 เป็นอันดบั ท่ี 34 ในปี 2563 อันเป็นผลมาจากคนไทยมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและ องค์ความรู้ได้อย่างกว้างขวาง โดยมีความเร็วของอินเทอร์เน็ตเฉลี่ยที่เพ่ิมขึ้น แต่ยังคงต้องพัฒนาทักษะทางด้านดิจิทัลให้เพ่ิมย่ิงข้ึนต่อไป เพื่อให้ก้าวทัน การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกดิ ขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากน้ี อันดบั ความสามารถ ดา้ นสาธารณปู โภคพน้ื ฐานกม็ อี นั ดบั ดขี น้ึ ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการลงทนุ ในโครงสรา้ ง พ้ืนฐานขนาดใหญ่ท่ีเริ่มเห็นเป็นรูปธรรม รวมท้ังด้านสุขภาพและส่ิงแวดล้อม ก็มีอันดับท่ีเพิ่มมากข้ึนเป็นอันดับท่ี 49 (อันดับ 55 ในปี 2562) อย่างไรก็ตาม ประเดน็ ทยี่ งั คงตอ้ งใหค้ วามส�ำ คญั คอื การพฒั นาทางดา้ นสงั คม ทงั้ ดา้ นการศกึ ษา และสาธารณสุข ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสำ�คัญในการพัฒนาและยกระดับความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศในโลกแห่งการเปล่ียนแปลง ซ่ึงการพัฒนาคุณภาพ ของทรพั ยากรบคุ คลจะสง่ ผลโดยตรงตอ่ ปจั จยั หลกั ทสี่ �ำ คญั ตอ่ การพฒั นาความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ รวมถึงปัจจัยหลักด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ปจั จยั หลกั ดา้ นประสทิ ธภิ าพของภาครฐั และดา้ นสมรรถนะทางเศรษฐกจิ อนั จะสง่ ผล ตอ่ ดา้ นประสทิ ธภิ าพของภาคธรุ กจิ และสมรรถนะเศรษฐกจิ โดยรวม และสามารถ ยกระดับประเทศใหเ้ ทา่ ทนั กับสภาวการณแ์ ละแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงของโลก และพฒั นาความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ตอ่ ไป 2. ความสามารถในการแขง่ ขนั ด้านการศึกษา ในภาพรวมประเทศไทยมอี นั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการศกึ ษา อยู่ในอันดบั 55 โดยมีอนั ดบั ดีขน้ึ 1 อนั ดบั จากปีที่ผ่านมา ซง่ึ ประกอบดว้ ยตัวช้วี ดั ดา้ นการศกึ ษา จ�ำ นวนทงั้ สน้ิ 20 ตวั ชว้ี ดั แบง่ ไดเ้ ปน็ ตวั ชว้ี ดั ทไี่ ดจ้ ากรวบรวมขอ้ มลู จากหน่วยงานต่างๆ (Hard data) จำ�นวน 16 ตวั ช้วี ัด และตัวชว้ี ัดทไ่ี ด้จากการ สำ�รวจความคิดเห็น (Survey) จ�ำ นวน 4 ตัวช้ีวัด โดยจำ�แนกตามวัตถุประสงค์ ของแผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 137 1.1 ดา้ นการลดความเหลอ่ื มลาํ้ ทางการศกึ ษา เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (Equity in Education ) เพ่ือสร้างโอกาส ในการเข้าถึงการศึกษา เม่ือพิจารณาจาก งบประมาณด้านการศึกษา ได้แก่ 1) งบประมาณดา้ นการศกึ ษาตอ่ GDP 2) งบประมาณดา้ นการศกึ ษาตอ่ ประชากร 3) งบประมาณรายจ่ายภาครัฐด้านการศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 4) งบประมาณรายจา่ ยดา้ นการศกึ ษาตอ่ นกั เรยี นรายหวั ทกุ ระดบั การศกึ ษา พบวา่ มีแนวโน้มของอันดับท่ีลดลง ท้ัง 4 ตัวช้ีวัด จะเห็นได้จากงบประมาณด้าน การศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ในปี 2563 IMD 2020 ใช้ฐานข้อมูลปี 2018 เป็นหลักในการคำ�นวณ พบว่า ประเทศไทยมีการลงทุน ทางการศกึ ษา รอ้ ยละ 3 ของ GDP ซง่ึ เปน็ สดั สว่ นทส่ี งู กวา่ อนิ โดนเี ซยี (อนั ดบั 59) และสิงคโปร์ (สิงคโปร์ 61) แตป่ ระเทศไทยกลบั มีคณุ ภาพทางการศกึ ษาท่ีตา่ํ กว่า สิงคโปร์ ซึ่งมีอันดับด้านการศึกษาอยู่อันดับ 2 ของโลก ขณะที่งบประมาณ รายจ่ายด้านการศึกษาต่อประชากร งบประมาณรายจ่ายภาครัฐด้านการศึกษา ตอ่ นกั เรยี นระดบั มัธยมศึกษา และงบประมาณรายจ่ายดา้ นการศึกษาตอ่ นกั เรยี น รายหัวทกุ ระดับการศึกษาของไทย มอี นั ดบั ตา่ํ กว่าสิงคโปร์ ประกอบกับประเทศ ดังกล่าว ยังมีคุณภาพการศึกษาท่ีดีกว่าประเทศไทยอีกด้วย ซ่ึงช้ีให้เห็นว่า การบริหารและการจัดการงบประมาณด้านการศึกษาของไทยยังไม่สอดคล้อง และสง่ ผลตอ่ คุณภาพการศึกษามากนัก นอกจากนี้ จากการศกึ ษารายงานการจดั สรรงบประมาณผา่ นตวั ผเู้ รยี น11 พบวา่ อตั ราการอดุ หนนุ รายหวั ทรี่ ฐั อดุ หนนุ โรงเรยี น สว่ นใหญเ่ ปน็ คา่ จดั การเรยี น การสอน ซง่ึ มอี ตั ราเทา่ กนั ส�ำ หรบั โรงเรยี นทกุ ขนาด ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถสะทอ้ นตน้ ทนุ การจัดการท่ีแท้จริงที่มีความหลากหลายตามขนาดได้ ท้ังน้ี แนวทางการจัดสรร งบประมาณสำ�หรับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในส่วนท่ีเป็นการอุดหนุน 11 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.การจัดสรรงบประมาณผ่านตัวผู้เรียน.(เอกสารอัดสำ�เนา.กันยายน. 2560.หน้า 89, หน้า97 138 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) โรงเรยี นยงั ขาดความเปน็ ธรรม เนอื่ งจากงบประมาณทจี่ ดั สรรใหส้ ว่ นใหญใ่ ชไ้ ปกบั การจัดสรรแบบเท่าเทียมกัน หรือเน้นท่ีกระจายให้ทั่วถึงเพื่อเน้นความเป็นธรรม ในแนวนอน ส่วนงบประมาณท่ีเหลือเพ่อื จัดสรรใหแ้ ก่นกั เรยี นทย่ี ากจน นกั เรยี น พกิ ารเรยี นรวม หรอื นกั เรยี นดอ้ ยโอกาสยงั มสี ดั สว่ นนอ้ ย ประกอบกบั การขาดระบบ การก�ำ กับดูแล และระบบสารสนเทศดา้ นการเงนิ ทด่ี ีของโรงเรียน ท�ำ ใหโ้ รงเรียน ยังขาดความพร้อมในการจัดทำ�บัญชีรายรับรายจ่าย ทำ�ให้การลงบันทึกรายรับ และรายการใชจ้ ่ายคลาดเคลอื่ น และมกี ารใช้จา่ ยท่ีลา่ ชา้ กวา่ ท่ีควร ซึ่งความลา่ ชา้ ในการใช้จ่ายในการจัดซ้ือหนังสือ หรือการช่วยเหลือนักเรียนยากจน ยังส่งผล ต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อีกด้วย รวมทั้งการใช้จ่ายงบประมาณการศึกษา ในภาพรวมสำ�หรับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไม่สัมพันธ์กับคุณภาพการจัดการศึกษา กล่าวคือ งบประมาณที่ใช้ไปเพ่ิมสูงข้ึนต่อเน่ืองทุกปี ขณะที่จำ�นวนนักเรียน ลดลงท�ำ ใหต้ น้ ทนุ ตอ่ หวั ในการผลติ บรกิ ารสงู ขนึ้ ขณะทค่ี ณุ ภาพการศกึ ษาโดยเฉลย่ี ไมไ่ ดเ้ พมิ่ มากขน้ึ ในทศิ ทางเดยี วกนั ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายทก่ี �ำ หนดไว้ ไมว่ า่ จะเปน็ ผลคะแนนทดสอบระดับประเทศ หรอื ผลการทดสอบเทียบกับนานาชาติ เมื่อพิจารณาตัวชี้วัด ซ่ึง IMD ได้นำ�เสนอ อัตราการเข้าเรียนระดับ มัธยมศกึ ษาโดยพิจารณาจากจ�ำ นวนนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาอายุ 12 – 17 ปี ทเี่ รยี นเตม็ เวลาต่อประชากรกลมุ่ อายุเดียวกนั ประเทศไทยมีอตั ราการเข้าเรียน ระดับมัธยมศึกษา ปี 2563 ร้อยละ 77.3 (อันดับ 57) ซ่ึงตํ่ากว่าประเทศ ในกลุ่มเอเซียแปซิฟิกที่ส่วนใหญ่ท่ีมีอัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ของประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวร้อยละ 90 ข้ึนไป เมื่อพิจารณาแนวโน้มของ อตั ราการเขา้ เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา ระหวา่ งปี 2559 – 2563 พบวา่ ประเทศไทย มแี นวโนม้ ของอตั ราการเขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาดขี นึ้ จากรอ้ ยละ 79.6 ในปี 2559 เปน็ รอ้ ยละ 83.6 ในปี 2560 และลดลงในปีนเ้ี ป็นรอ้ ยละ 77.3 ท้งั นี้ เมอ่ื พจิ ารณา แนวโนม้ ประเทศในกลุ่มเอเซยี แปซิฟกิ พบวา่ เกือบทกุ ประเทศมแี นวโนม้ ที่ดขี นึ้ สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 139 นอกจากน้ี จากรายงานการศกึ ษาสภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2561/256212 พบวา่ เด็กมัธยมศึกษาศึกษา (12-17 ปี) มีอัตราการเข้าเรียนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 79.5 ในปี 2559 เปน็ ร้อยละ 80.6 ในปี 2560 ส�ำ หรบั การจดั อนั ดบั โดย World Economic Forum ปี 2560 – 256113 พบวา่ ประเทศไทยมีอัตราการเข้าเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา (อายุ 12-17 ป)ี ร้อยละ 129.0 (อันดับ 8) จากท้ังหมด 137 ประเทศ เป็นท่ีสังเกตได้ว่า ประเทศไทย มอี ตั ราการเขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาดที สี่ ดุ ในภมู ภิ าคเอเซยี แปซฟิ กิ เปน็ รองเพยี ง ประเทศเดยี ว ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย รอ้ ยละ 137 (อนั ดบั 4) และมีอันดบั ดี ที่สุดในรอบ 5 ปที ่ีผา่ นมา นอกจากน้ี ประเทศไทยยังมอี ตั ราการเขา้ เรยี นระดับ ประถมศกึ ษา (อายุ 6-11 ป)ี รอ้ ยละ 90.8 (อนั ดบั 100) นอ้ ยกวา่ เกอื บทกุ ประเทศ ในเอเซยี แปซฟิ ิก ยกเวน้ ประเทศอนิ โดนเี ซีย ร้อยละ 89.7 (อนั ดับ 106) โดยมี ประเทศสงิ คโปร์ และจีนร้อยละ 100 (อนั ดับ 1) ในส่วนอตั ราการเข้าเรียนระดบั อดุ มศกึ ษา ประเทศไทยมอี ตั ราการเขา้ เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษา รอ้ ยละ 48.9 (อนั ดบั 60) ดกี ว่าหลายประเทศในเอเซยี แปซิฟิก ยกเวน้ เกาหลี ร้อยละ 93.2 (อันดับ 3) สงิ คโปร์ ร้อยละ 92.2 (อันดับ 4) ออสเตรเลยี ร้อยละ 90.3 (อันดับ 5) นวิ ซีแลนด์ ร้อยละ 83.9 (อันดับ 10) มองโกเลีย ร้อยละ 68.6 (อันดับ 29) และฮ่องกง ร้อยละ 68.5 (อนั ดบั 31) อยา่ งไรกต็ าม จากรายงานการศกึ ษาสภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2559/256014 พบว่า เด็กประถมศึกษา (3-5 ปี) มีอัตราการเข้าเรียนเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 94.4 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 118.3 ในปี 2558 ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าเด็กในกลุ่มอายุน้ี 12 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2561/2562 ปฏิรปู การศึกษาในยคุ ดจิ ิทลั . พริกหวานกราฟฟคิ จ�ำ กดั .หน้า 21 13 //www.weforum.org/reports/the-global-competitiveness-report-2017-2018 สืบค้น วันท่ี 13 พฤศจกิ ายน 2563 14 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2559/2560 แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาไทย เพอื่ กา้ วส่ยู คุ Thailand 4.0.พริกหวานกราฟฟคิ จำ�กัด .หน้า 15-25 จ 140 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) มีโอกาสรับการศึกษาปฐมวัยช่วงอนุบาลเพ่ิมข้ึน และมีเด็กจำ�นวนหนึ่งเข้าเรียน กอ่ นวยั แต่จากนไ้ี ปการศกึ ษาปฐมวยั ควรเน้นคณุ ภาพเพ่ือวางรากฐานการพฒั นา ทดี่ ใี หแ้ กเ่ ดก็ เนอื่ งจากเปน็ ชว่ งวยั ทส่ี �ำ คญั และเปน็ รากฐานของการพฒั นาไปตลอดชวี ติ รวมทั้ง ประชากรกลุ่มวัยเรียนมีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพ่ิมมากข้ึน เนื่องจากนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ส่งผลให้ประชากร ในวัยเรียนมีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ิมมากข้ึน เช่นกัน อย่างไรก็ตาม อัตราการเข้าเรียนต่อประชากรช่วงอายุ 12-14 ปี มีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 99.4 ในปี 2553 เหลอื รอ้ ยละ 88.3 ในปี 2558 ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ยงั มปี ระชากร ทอ่ี ยใู่ นวยั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ รบั การศกึ ษาอกี ประมาณรอ้ ยละ 11.7 หรือจำ�นวนประมาณ 310,000 คน อาจกล่าวได้ว่า ประชากรของไทย ได้รับโอกาสทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้น แต่ประชากรวัยเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ทไ่ี ม่ไดเ้ ขา้ การศึกษากย็ ังคงมจี �ำ นวนมาก ดังน้นั ควรมกี ารศึกษาเพิม่ เตมิ เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม และสิ่งสำ�คัญที่ต้องให้ความสนใจ เกี่ยวกับเรือ่ งคณุ ภาพของการศกึ ษาซ่ึงเปน็ ปัญหาที่ประเทศกำ�ลังเผชญิ อยตู่ ่อไป ท้ังน้ี ยังพบเด็กไทยที่ไม่สามารถได้รับการศึกษาตามวัยของตน ด้วยเหตุต่างๆ จำ�นวนไม่น้อย ซ่ึงจากการศึกษาในปี 255515 พบว่า ต้นเหตุ ทเ่ี ดก็ ดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาเกดิ จากความยากจนมากทสี่ ดุ มถี งึ 4,144,783 คน รองลงมาเป็นเด็กด้อยโอกาสประเภทอ่ืนๆ จำ�นวน 75,118 คน และน้อยท่ีสุด เป็นเด็กท่ีอยู่ในธุรกิจทางเพศ จำ�นวน 25 คน โดยพบว่าเด็กด้อยโอกาสเหล่าน้ี ส่วนใหญอ่ าศยั อยกู่ ับครอบครัวท่เี ป็นกลุม่ แรงงานรายไดต้ ่ํา มจี �ำ นวนถึง 13.8 คน นอกจากนยี้ งั มเี ดก็ ทบ่ี ดิ ามารดาหรอื ผปู้ กครองมอี าชพี การงานทต่ี อ้ งยา้ ยทท่ี �ำ อาชพี อยบู่ อ่ ยๆ จนเดก็ ไมส่ ามารถเขา้ โรงเรยี นเปน็ หลกั แหลง่ ได้ เดก็ ทเ่ี กดิ จากพอ่ แมไ่ มม่ ี สัญชาติไทย ซ่ึงได้รับโอกาสเข้าถึงการศึกษาในโรงเรียนสำ�หรับเด็กในแต่ละอายุ มีความแตกต่างกนั ตามถนิ่ ทีอ่ ยู่ 15 คณะกรรมการอิสระเพอ่ื การปฏริ ูปการศึกษา.รายงานเฉพาะเรือ่ งที่ 2 ความไมเ่ สมอภาคทางการศึกษา. หนา้ 12-13 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 141 อย่างไรก็ตาม จากผลจากการศึกษาอัตราส่วนนักเรียนต่อครูในระดับ อำ�เภอของประเทศไทย พบวา่ ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือเป็นพื้นท่ี ที่มีสัดส่วนนักเรียนต่อครูในลำ�ดับท่ีต่ํากว่าภูมิภาคอื่นของประเทศ และตํ่ากว่า พน้ื ทท่ี อ่ี ยตู่ ามแนวตะเขบ็ ชายแดนของประเทศ16 แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเหลอ่ื มลาํ้ ในการจัดสรรทรัพยากรบุคคลด้านการศึกษาเชิงพ้ืนที่ท่ีอาจส่งผลกระทบต่อ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของไทยได้ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันประเทศไทย มโี รงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษาทเ่ี ปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ และมนี กั เรยี นนอ้ ยกวา่ 120 คน เป็นจำ�นวนมาก จะเห็นได้จาก จำ�นวนโรงเรียน สพฐ.ทั้งหมด 30,122 โรง (ปี 2561) ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ ทมี่ นี กั เรยี นนอ้ ยกวา่ 120 คน อยถู่ งึ 15,089 โรง ที่รับนักเรียนอยู่ 981,447 คน และโรงเรียนเกือบทั้งหมดสอนในระดับ ช้ันประถมศึกษา17 ทำ�ให้มีจำ�นวนครูน้อย และมีครูไม่ครบทุกสาขาวิชา จำ�เป็น ต้องให้ครูสอนไม่ตรงกับสาขาวิชาเฉพาะ การขาดแคลนครูท่ีโรงเรียนขนาดเล็ก ในทอ้ งถน่ิ หา่ งไกล ซงึ่ เปน็ ผลมาจากรปู แบบและสดั สว่ นในการผลติ ครทู ข่ี าดแคลน ในระดับวิกฤตในขณะน้ี จึงเป็นครูท่ีมีสมรรถนะความเป็นครูท่ีสามารถปรับ ตนไปสอนวิชาต่างๆได้ตามความจำ�เป็น ตลอดจนมีความเป็นครูท่ีสามารถ ดูแลเด็กนักเรียนให้มีการพัฒนาได้ตามความถนัด ไม่ใช่การกำ�กับให้เกิดความรู้ ตามหลักสูตรเน้ือหาสาระวิชาการเท่าน้ัน18 ซ่ึงเป็นปัญหาหนึ่งท่ีส่งผลกระทบต่อ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของไทยในปัจจุบนั นอกจากน้ี IMD พิจารณาจากร้อยละของผู้หญงิ ท่จี บการศกึ ษาระดับ ปริญญาตรีข้ึนไป ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดที่เพิ่มข้ึนในปี 2558 พบว่า ไทยมีผู้หญิงท่ีจบ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป ลดลง 15 อนั ดบั จากอนั ดบั ที่ 32 (รอ้ ยละ 57.1) 16 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2558/2559 ความจ�ำ เปน็ ของการแขง่ ขนั และ การกระจายอำ�นาจในระบบการศึกษาไทย.พริกหวานกราฟฟคิ .มีนาคม 2560 หนา้ 32. 17 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา.รายงานพันธกิจของ คณะกรรมการอสิ ระเพือ่ การปฏิรูปการศึกษา.หนา้ 37-39 18 คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏริ ูปการศึกษา.ปฏริ ปู การศกึ ษาไทย.(เอกสารอัดส�ำ เนา) หน้า 32 142 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) ในปี 2559 เป็น อนั ดับท่ี 47 (ร้อยละ 24.9) ในปี 2563 เมือ่ พิจารณาประเทศ ในกลุ่มเอเซียแปซิฟิก พบว่า มาเลเซีย มีอัตราของผู้หญิงท่ีจบการศึกษา ระดับปริญญาตรีข้ึนไปมากที่สุดอันดับ 4 (ร้อยละ 58.7) สำ�หรับ ฮ่องกง และสิงคโปร์ไม่ได้เข้าร่วมการจัดอันดับในตัวช้ีวัดน้ี ท้ังนี้ ประเทศในกลุ่มเอเซีย แปซฟิ ิกสว่ นใหญ่มีอตั ราของผหู้ ญงิ ท่ีจบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีข้นึ ไปลดลง จะเห็นได้ว่า การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาเพ่ือลดความเหล่ือมลํ้า ของไทยเมอื่ พจิ ารณาจากอตั ราการเขา้ เรยี นจากตวั ชว้ี ดั จากการประเมนิ ของ IMD ปี 2019 และ WEF (ปี 2017-2018) นั้น มีแนวโน้มท่ีดีในบางประเด็น แต่ยัง ไม่ดีมากนักเมื่อเทียบกับประเทศที่มีอันดับการจัดการศึกษาท่ีดีท่ีสุดในภูมิภาคนี้ แสดงให้เห็นว่าการจัดการศึกษาของประเทศไทยยังสร้างโอกาสทางการศึกษาได้ ไมท่ ั่วถึงทุกกลมุ่ เป้าหมายมากนัก และมีความเหล่อื มลํา้ เชิงพ้นื ที่ ซึง่ จะพบปญั หา ที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านการด้อยโอกาสเนื่องจากปัจจัยด้านสภาพเศรษฐกิจของ ผปู้ กครองของเดก็ และการเขา้ ไมถ่ งึ บรกิ ารทางการศกึ ษาทต่ี งั้ ของโรงเรยี น แตส่ งิ่ ท่ี ส�ำ คญั ประการหนง่ึ เพอ่ื สะทอ้ นภาพการเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ และลดความเหลอื่ มลา้ํ ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง คอื การมขี อ้ มูลนกั เรียนท่ไี ด้รบั การศกึ ษา อย่างท่ัวถึงทุกคน ซึ่งข้อมูลต้องสะท้อนความเป็นจริงได้ตามบริบทพ้ืนที่ รวมถึงการมีระบบเครือข่ายกองทุนเพ่ือช่วยเหลือเด็กท่ีขาดโอกาสในการเข้าถึง การศกึ ษา ซงึ่ จะท�ำ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ ไดเ้ ชน่ กนั นอกจากน้ี การลงทนุ ทางการศกึ ษาของภาครฐั สว่ นกลางจะเปน็ กจิ กรรม ประเภทการจัดการศึกษาท่ีเป็นค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรมากท่ีสุด และยังขาด การมีส่วนร่วมในการลงทุนจากภาคส่วนอื่น ประกอบกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีขนาดเล็กจำ�นวนมากเกินไป ทำ�ให้รัฐบริหารจัดการทรัพยากรได้ไม่คุ้มค่า ซึง่ ในแต่ละพ้ืนทมี่ ีบริบทท่มี คี วามแตกตา่ งกัน และมีความยากงา่ ยในการสง่ เสริม และสนบั สนนุ ปจั จยั ตา่ งๆ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ โอกาสทางการศกึ ษาทไ่ี มเ่ หมอื นกนั และยงั ขาด การมีส่วนร่วมในการลงทุนจากภาคส่วนอื่น ประกอบกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 143 ท่ีมีขนาดเล็กจำ�นวนมากเกินไป ทำ�ให้รัฐบริหารจัดการทรัพยากรได้ไม่คุ้มค่า นอกจากนี้ จ�ำ นวนนกั ศกึ ษาตา่ งชาตทิ ไ่ี ปศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศในระดบั อดุ มศกึ ษา ตอ่ ประชากร 1,000 คน และจำ�นวนนักศึกษาทีเ่ ข้ามาศกึ ษาตอ่ ในประเทศระดบั อุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน ซึ่งอยู่ในอันดับท่ีเกือบท้ายในกลุ่มภูมิภาค เอเซียแปซิฟิก รวมถึงประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยจากการจัดอันดับดัชนี มหาวทิ ยาลัย ยังไม่ดีมากนกั 1.2 ด้านการยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา พิจารณา จาก อตั ราส่วนนักเรยี นต่อครู พบวา่ ประเทศไทยมีครู 1 คน รบั ผดิ ชอบนกั เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาประมาณ 16 คน (อนั ดบั 36) ซง่ึ มอี นั ดบั ดขี น้ึ ขณะทอี่ ตั ราสว่ น นกั เรยี นตอ่ ครู 1 คน ทสี่ อนระดบั มธั ยมศกึ ษา พบวา่ ครทู สี่ อนในระดบั มธั ยมศกึ ษา ของประเทศไทย 1 คน รับผิดชอบนักเรียนประมาณ 24 คน อยู่อันดับ 57 ซึ่งมีอันดับดีข้ึนกว่าปีท่ีผ่านมา แต่มีอันดับเกือบสุดท้ายและเป็นตัวฉุดร้ังอันดับ ด้านการศึกษาของไทย เม่ือพิจารณาแนวโน้มสัดส่วนนักเรียนต่อ ครู 1 คน ท่ีสอนระดบั ประถมศึกษาในกล่มุ ประเทศเอเซยี แปซิฟกิ ระหวา่ งปี 2559 – 2563 มีแนวโน้มทดี่ ขี ้นึ ทัง้ น้ี ประเทศสว่ นใหญ่ในกลุม่ เอเซยี แปซฟิ กิ มีแนวโน้มทีด่ ขี ึ้น เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยครู 1 คนท่ีสอนระดับมัธยมศึกษา รับภาระนักเรียน ในจำ�นวนท่ีลดลง และน้อยกว่า 15 คน สำ�หรับประเทศมาเลเซียครูท่ีสอน ระดบั ประถมศกึ ษา 1 คน รับผิดชอบนกั เรยี น 12 คน (อันดับ 11) ซึง่ เป็นอันดบั ที่ดีที่สุดในภูมิภาคนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศสิงคโปร์ที่มีอันดับด้านการศึกษา ท่ีเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคน้ีตลอด 5 ปีที่ผ่านมา พบว่า ครูที่สอนในระดับ ประถมศกึ ษาของประเทศสงิ คโปร์ 1 คน รบั ผดิ ชอบนกั เรยี น 15 คน ซงึ่ มากกวา่ ประเทศไทยเล็กน้อย แต่กลับมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีเยี่ยม สะท้อน ให้เห็นได้ว่าจำ�นวนครูต่อนักเรียนอาจไม่ใช่ปัจจัยหลักเพียงปัจจัยเดียวที่ทำ�ให้ คุณภาพการศึกษาดีข้ึน แต่อาจมีปัจจัยอื่นๆ เช่น คุณภาพของครู ตัวผู้เรียน สภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษา สภาพเศรษฐกจิ ชมุ ชน และความพรอ้ มของพอ่ แม่ ผ้ปู กครองอกี ดว้ ย 144 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) สำ�หรับ ผลการทดสอบ PISA ในปี 2563 นั้น IMD ได้จัดอันดับ จากผลการทดสอบ PISA 2018 ของ OECD (ปี 2561) โดยใช้กลมุ่ ตวั อยา่ งเดก็ อายุ 15 ปี ท่ีพยายามสะท้อนภาพรวมของท้ังประเทศ พบว่า ประเทศไทย ได้อันดับท่ี 50 มีคะแนนเฉลี่ยตํ่ากว่าคะแนนเฉลี่ย OECD และตํ่ากว่าเกือบ ทุกประเทศในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก โดยมีคะแนนดีกว่าเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศอินโดนีเซีย และพิลิปปินส์ ในขณะที่จีนได้อันดับ 1 รองลงมา ได้แก่ สงิ คโปร์ อันดบั 2 และฮอ่ งกงอันดบั 3 ตามล�ำ ดบั ทงั้ น้ี จากรายงานผลการประเมนิ โครงการ PISA 201819 พบวา่ นกั เรยี น ไทยมีคะแนนเฉล่ียในด้านการอา่ น 393 คะแนน (ค่าเฉลย่ี OECD 487 คะแนน) คณิตศาสตร์ 419 คะแนน (ค่าเฉล่ีย OECD 489 คะแนน) และวิทยาศาสตร์ 426 คะแนน (ค่าเฉล่ีย OECD 489) ซ่ึงเมอ่ื เปรยี บเทียบกบั PISA 2015 พบว่า ด้านการอา่ นมีคะแนนลดลง 16 คะแนน สว่ นดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มีคะแนนเพิ่มขึ้น 3 คะแนน และ 4 คะแนน ตามลำ�ดับ ซ่ึงในการทดสอบทาง สถิติถือว่าคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ไม่มีการเปล่ียนแปลงเมื่อเทียบกับรอบ การประเมินท่ีผ่านมา เม่ือวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของคะแนนต้ังแต่ การประเมินรอบแรกจนถึงปัจจุบัน พบว่า ผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของไทยไม่เปล่ียนแปลง แต่ผลการประเมินด้านการอ่าน มแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ท้ังน้ี OECD ไดแ้ บ่งระดบั ความสามารถของนักเรียนในแตล่ ะดา้ นเป็น 6 ระดบั โดยระดบั 2 ถอื เป็นระดับพ้นื ฐานทนี่ กั เรียนสามารถใชท้ กั ษะและความรู้ ในชวี ติ จรงิ ได้ พบวา่ ในดา้ นการอา่ น ประเทศไทยมนี กั เรยี นทม่ี คี วามสามารถตงั้ แต่ ระดบั 2 ขนึ้ ไป ประมาณ 40 % ขณะทคี่ า่ เฉลยี่ OECD มนี กั เรยี นทมี่ คี วามสามารถ ในการอา่ นตั้งแตล่ ะดับ 2 ขนึ้ ไป 77% สำ�หรบั ดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 19 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).โปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียน มาตรฐานสากล.(เอกสารอดั สำ�เนา).หนา้ 1-2 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 145 นกั เรียนไทยทมี่ ีความสามารถตั้งแต่ระดับ 2 ขนึ้ ไป มีประมาณ 47 % และ 56% ตามลำ�ดับ ขณะท่ีค่าเฉล่ีย OECD มีนักเรียนท่ีมีความสามารถในการอ่านตั้งแต่ ระดับ 2 ขึ้นไป ดา้ นคณติ ศาสตร์ 76% และวิทยาศาสตร์ 78% กลา่ วคอื นกั เรียน ไทยมีความรู้ในทุกด้านต่ํากว่าระดับพ้ืนฐานที่ใช้ทักษะและความรู้ในชีวิตจริง ถงึ แมว้ า่ ในดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรน์ นั้ จะมนี กั เรยี นไทยทม่ี คี วามสามารถ ระดับสูง (ระดบั 5 และ6) เพม่ิ ข้ึนเล็กนอ้ ยเม่ือเทยี บกับ PISA 2015 ก็ตาม อย่างไรก็ตาม ในปี 2563 IMD ได้เพ่ิมตัวชี้วัดร้อยละของนักเรียน ทมี่ ผี ลการทดสอบคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละการอา่ นทไ่ี มอ่ ยใู่ นระดบั ตาํ่ ซง่ึ IMD ได้น�ำ ข้อมลู จากผลการทดสอบ PISA 2018 ของ OECD ซ่งึ OECD ได้แบง่ ระดับ ความสามารถของนักเรียนในแต่ละด้าน เป็น 6 ระดับ จากระดับ 1 (ตํ่าสุด) จนถึงระดับ 6 (สูงสุด) และกำ�หนดให้ระดับ 2 ถือเป็นระดับพ้ืนฐานท่ีนักเรียน สามารถใช้ทักษะและความรู้ในชีวิตจริงได้ผลของการประเมินของ IMD ในปี 2563 พบว่า ประเทศไทยมผี ลของการจดั อนั ดบั ตวั ชี้วัดร้อยละของนกั เรยี น ที่มผี ลการทดสอบคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอา่ นทไ่ี ม่อย่อู ยู่ในระดับตํา่ รอ้ ยละ 31.2 (อนั ดบั 50) มอี ันดับดกี ว่าเพยี ง อนิ โดนีเซยี และฟิลิปปินส์ โดยมี จีน ร้อยละ 94 อยู่ในอนั ดับ 1 รองลงมาได้แก่ สิงคโปร์ รอ้ ยละ 85.5 (อันดับ 2) และฮ่องกง รอ้ ยละ 82.2 อันดับ 4 ตามล�ำ ดบั เม่อื เปรียบเทียบผลการประเมนิ การอา่ นของนักเรียนไทย PISA 2012 กับ PISA 2018 พบว่า คะแนนการอ่านของนักเรียนไทยโดยเฉล่ียลดตํ่าลง ในขณะที่กลุ่มโรงเรียนเน้นวิทย์ และกลุ่มโรงเรียนสาธิตมีคะแนนสูงกว่า ค่าเฉลี่ย OECD สำ�หรับกลุ่มโรงเรียนอ่ืนมีคะแนนต่ํากว่าคะแนนเฉล่ีย OECD อย่างไรก็ตาม จากการสำ�รวจข้อมูลการอ่านหนังสือของประชากร ในปี 2558 ของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า คนไทยวัยเด็ก 6 -14 ปี อ่านหนังสือมากท่ีสุด ร้อยละ 90.7 รองลงมา ได้แก่ วัยเยาวชน (15-24 ปี) ร้อยละ 89.6 วยั ท�ำ งาน (25-59 ป)ี ร้อยละ 79.1 และวยั สงู อายุ (60 ปขี ึน้ ไป) 146 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ร้อยละ 52.8 ตามลำ�ดับ และเม่อื เปรียบเทียบระหวา่ งการสำ�รวจที่ผ่านมา พบวา่ ปี 2558 การอา่ นของประชากรทกุ กลุ่มวยั มอี ตั ราการอ่านลดลงจากปี 255620 ขณะทพี่ ฤตกิ รรมการอา่ นหนงั สอื ของคนไทยเปล่ียนไปเมอ่ื ดิจิทัลเข้ามามีบทบาท มากข้ึนทำ�ให้คนไทยซื้อหนังสือน้อยลง และอ่านใน Smart Phone Tablet เพ่ิมข้ึน รวมถึงการอ่านผ่าน Social Network ด้วย โดยประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไป (62.6 ลา้ นคน) มอี ตั ราการอา่ น 77.7% เฉลยี่ 66 นาทีตอ่ วัน ในขณะท่ี อตั ราการไม่รหู้ นังสือของประชากรอายุ 15 ปี ประเทศไทย มีประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปท่ีไม่รู้หนังสือ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 3.3 (อันดับ 45) ในปี 2562 เป็นร้อยละ 6.2 (อันดับ 58) ในปี 2563 ขณะท่ี ประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มเอเซียแปซิฟิกที่ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีแนวโน้ม การไม่รู้หนังสือลดลง โดยมี ประเทศญ่ีปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ มีประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปที่ไม่รู้หนังสือเพียง ร้อยละ 1 และยังคงอันดับ 1 มาโดยตลอด ทั้งนี้ ประเทศสิงคโปร์ มีอันดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ และการสอนวทิ ยาศาสตร์ในโรงเรียนอย่ใู นอนั ดับ 1 มาโดยตลอด 5 ปีทผี่ ่านมา สาเหตุหน่ึงอาจเน่ืองมาจากหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับช้ันประถมศึกษา ตอนต้น ของสิงคโปร์ตระหนักว่าภาษาและการอ่านเป็นวิชาแรกท่ีเป็นพื้นฐาน ท่ีสำ�คัญที่สุด ถัดมาคือวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบื้องต้น โดยเน้น การฝกึ การคดิ การเขา้ ใจอยา่ งเปน็ เหตผุ ลเชอื่ มโยงและเปน็ ระบบ การเนน้ 3 วชิ านี้ ในชั้นประถมศึกษา โดยพยายามวิจัย ค้นคว้า หาวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียน เข้าใจง่าย สนุกกับการเรียน ผลิตครูที่สอนใน 3 ด้านนี้อย่างได้ผลดีอย่าง พอเพยี ง ท�ำ ให้นกั เรียนสงิ คโ์ ปรไ์ ดร้ บั การปูพื้นฐานวธิ ีการเรยี นรูท้ เ่ี ข้มแขง็ 21 20 //service.nso.go.th/nso/web/survey/surpop2-3-1.html สบื คน้ วนั ที่ 23 ธนั วาคม 2562 21 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏริ ปู การศึกษาไทยให้ทัน โลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร.พมิ พ์ดีการพมิ พ.์ 2559.หนา้ 112 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 147 ดงั นนั้ ประเทศไทยควรมกี ารส่งเสรมิ ทกั ษะความรดู้ า้ นการอ่าน ทกั ษะ การวเิ คราะหแ์ ยกแยะขอ้ มลู ทกั ษะการแปลขอ้ มลู ทมี่ ปี ระโยชน์ โดยปลกู ฝงั เจตคติ ทด่ี ตี อ่ การอา่ นและการศกึ ษาคน้ ควา้ ตอ่ การอา่ นตงั้ เดก็ จากพอ่ และแม่ 22 เนอ่ื งจาก ปจั จบุ นั พฤตกิ รรมการอา่ นของคนไทยไดเ้ ปลยี่ นไป เมอื่ ดจิ ทิ ลั เขา้ มามบี ทบาทมากเพมิ่ ขน้ึ ฉะน้ัน รัฐควรมีนโยบายการผลิตสื่อและช่องทางการเผยแพร่ท่ีสามารถเข้าถึง ประชากรทกุ ชว่ งวยั ทง้ั สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ (หนงั สอื ต�ำ รา) สอื่ วดิ ทิ ศั น์ (ซดี ี วซี ดี )ี สอื่ ดจิ ทิ ลั (สอื่ ออนไลน)์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) โดยการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นของ สงั คม เน่ืองจากสงั คมปจั จุบนั ประชาชนมกี ารเขา้ ถงึ ส่ือออนไลน์เปน็ จ�ำ นวนมาก รวมถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีการรู้หนังสือและความสามารถในการอ่านเพิ่ม มากขึ้น พร้อมกับส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถนำ�มา ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำ วัน ซึ่งเป็นทักษะท่ีจำ�เป็นในโลกยุคปัจจุบัน และในอนาคตซงึ่ เปน็ โลกแห่งเทคโนโลยดี ิจิทัลต่อไป ส�ำ หรบั ผลสมั ฤทธขิ์ องการอดุ มศกึ ษา IMD ไดพ้ จิ ารณาจากรอ้ ยละของ ประชากรอายุ 25 - 34 ปี ท่สี �ำ เร็จการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาขนึ้ ไป ในปี 2563 พบว่า ประเทศไทยมีประชากรวัยดังกล่าวสำ�เร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา ขนึ้ ไปอยใู่ นอนั ดบั 48 (รอ้ ยละ 33) เมอ่ื พจิ ารณาแนวโนม้ ระหวา่ งปี 2559 – 2563 พบว่า ประเทศไทยมีอนั ดบั ดีขึน้ ในขณะที่ ประเทศสิงคโปร์ ไตห้ วัน เกาหลี และ ญป่ี นุ่ ยงั คงเป็นอันดบั 1 ถึงอนั ดบั 4 ของโลกมาโดยตลอด 5 ปีทีผ่ ่าน นอกจากนี้ ประเทศไทยมผี ลการจดั อนั ดับดชั นมี หาวิทยาลยั อยู่ในอนั ดบั 50 ซ่งึ เป็นอันดับ เกอื บสดุ ทา้ ยในภมู ภิ าคน้ี โดยมอี อสเตรเลยี มอี นั ดบั ดที ส่ี ดุ ในภมู ภิ าคนี้ อยใู่ นอนั ดบั 4 ของโลก ทั้งน้ี IMD ไดน้ ำ�ขอ้ มูลการจดั อนั ดับมหาวิทยาลัยทวั่ โลกของ Times Higher Education (THE) เปน็ ตัวชว้ี ัดทเี่ พม่ิ ใหมข่ ้นึ มาใหมใ่ นปีนี้ โดย Times 22 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุเพื่อพัฒนาสมรรถนะกำ�ลังคนรองรับ โลกศตวรรษท่ี 21.2558. หน้า 349 148 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) Higher Education (THE) จะวัดประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยที่มีงานวิจัย ซงึ่ รวมอยใู่ นทกุ พนั ธกจิ ส�ำ คญั ของมหาวทิ ยาลยั ซงึ่ ไดแ้ กก่ ารเรยี นการสอน การวจิ ยั การถ่ายทอดความรู้และภาพลักษณ์มุมมองในระดับนานาชาติ เพ่ือให้เกิด การเปรยี บเทยี บท่ีมปี ระสิทธิภาพท่คี รอบคลมุ และมีความสมดลุ มากที่สดุ นอกจากน้ี ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศกลุ่มเอเซียและ ระดับโลก จากข้อมูลของ QS University Ranking : Asia ปี 2020 พบว่า อันดับของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยติดอันดบั 300 อนั ดบั แรก เพียง 1 มหาวทิ ยาลยั ได้แก่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (อันดับ 247) รองมาคือ มหาวิทยาลัยมหิดล (อันดับ 314) ในขณะท่ีมหาวิทยาลัยของสิงคโปร์ติดอันดับ 15 อันดับแรกของโลก 2 แห่ง และเป็นที่ 1 ในภูมิภาคเอเซีย รองลงมาได้แก่ จนี (อนั ดับ 16) ฮ่องกง ญปี่ ุน่ (อันดบั 22) และ (อันดบั 25)23 ส�ำ หรับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) ในปี 2563 IMD พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยจากการสอบ TOEFL 2018 (ปี 2561) พบว่า ประเทศไทยมีผลการจัดอันดับท่ี 59 ซึ่งเป็นอันดับเกือบสุดท้าย มีอันดับสูง กวา่ เพียง 2 ประเทศ คอื ประเทศมองโกเลยี (อันดบั 61) และญ่ีปุ่น (อนั ดับ 62) เมอื่ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บแนวโนม้ ดา้ นความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ ระหวา่ ง ปี 2559 – 2563 ของประเทศกลมุ่ เอเซยี แปซฟิ กิ พบวา่ ประเทศสงิ คโปร์ ยงั คงครอง อับดบั 1 ในภมู ภิ าคนี้ โดยมญี ี่ปนุ่ เป็นอนั ดบั สุดทา้ ยตลอดระยะเวลา 5 ปีท่ผี า่ นมา สอดคล้องกับรายงานการจัดอันดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของ Education First (EF)24 ซึ่งได้วิเคราะห์ข้อมูลและจัดอันดับทักษะการใช้ภาษาอังฤกษ ของประเทศทไ่ี มไ่ ดใ้ ชภ้ าษาองั กฤษเปน็ หลกั 100 ประเทศทวั่ โลก พบวา่ ประเทศไทย 23 //www.topuniversities.com/university-rankings/world-university-rankings/2020 สบื คน้ วันที่ 23 ธนั วาคม 63 24 //www.ef.co.th/__/~/media/centralefcom/epi/downloads/full-reports/v8/ef- epi-2020-english.pdf สบื คน้ วันท่ี 23 ธันวาคม 2563 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 149 อยอู่ นั ดบั ที่ 74 จาก 100 ประเทศ มคี ะแนนทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษอยทู่ ี่ 47.61 จาก 100 คะแนนเต็ม ซึง่ อยู่ในระดับต่าํ มาก (Very Low) ทังนี้ โดยทักษะการใช้ ภาษาองั กฤษของไทยอยใู่ นอนั ดบั ท่ี 6 จาก 8 ประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี น ตามหลงั สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย แสดงให้เห็นว่าทักษะ ทางภาษาของประเทศไทยนน้ั อยใู่ นอนั ดบั ทไ่ี มด่ ี ควรด�ำ เนนิ การพฒั นาอยา่ งเรง่ ดว่ น ท้ังน้ี จากผลการจัดอันดับโดย World Economic Forum ปี 2562 ท่ีได้จัดอนั ดับความสามารถทางการแข่งขนั ระดับโลก 4.0 ประจำ�ปี 2562 พบวา่ การสอนทักษะการคิดวิเคราะห์ของไทย อยู่ในอันดับ 89 ได้คะแนน 3.2 จากคะแนนเต็ม 7 อยู่ในอันดับเกือบสุดท้ายในภูมิภาคเอเซีย โดยมีอันดับ ดกี วา่ เพยี ง 1 ประเทศ ไดแ้ ก่ เวยี ดนาม25 นอกจากน้ี ทกั ษะของผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษา พบวา่ ประเทศไทยอย่ใู นอนั ดบั ท่ี 79 ได้ 4 คะแนนจากคะแนนเตม็ 7 คะแนน อยู่ในอันดับ 7 ของภูมิภาคอาเซียน มีอันดับดีกว่าเพียง 2 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา และเวียดนาม เท่านั้น นอกจากน้ีทักษะของผู้สำ�เร็จการศึกษา ของไทย อย่ใู นอันดบั 79 ได้คะแนน 4 คะแนนจากคะแนนเต็ม 7 อยู่ในอนั ดับ เกือบสุดท้ายในภูมิภาคเอเซีย โดยมีอันดับดีกว่าเพียง กัมพูชา และเวียดนาม รวมท้ัง ทักษะดิจิทัลของประชากรของไทย พบว่า อยู่ในอันดับ 66 มีอันดับ ดกี วา่ เพยี ง ลาม เวียดนามและกมั พูชา เชน่ กนั จะเห็นได้ว่า คุณภาพการศึกษาของประเทศไทยยังไม่ดีมากนัก ไม่ว่าจะเป็นอัตราส่วนครูต่อนักเรียนท่ีครูสอนในระดับมัธยมศึกษา 1 คน รับผิดชอบนักเรียนในจำ�นวนท่ีมากกว่า 25 คน และมากกว่าเกือบทุกประเทศ ในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก รวมทั้งความสามารถของนักเรียนในด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาตร์ที่ต่ําลงซ่ึงเห็นไดจ้ ากผลการสอบ PISA ทีอ่ ยู่ในระดบั ต่ํากวา่ เกอื บ ทกุ ประเทศในภมู ภิ าคน้ี และพบวา่ อตั ราการไมร่ หู้ นงั สอื ของไทยทม่ี แี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ 25 //www.weforum.org/reports/the-global-competitveness-report-2019 สืบค้น วนั ที่ 21 พฤศจกิ ายน 2563 150 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ในขณะท่ีประเทศในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิกมีแนวโน้มลดลง รวมถึงความสามารถ ในการใชภ้ าษาองั กฤษ และผลสมั ฤทธข์ิ องการอดุ มศกึ ษา ทอี่ ยใู่ นระดบั ไมด่ มี ากนกั ประเทศไทยตอ้ งเรง่ พฒั นาความรู้ ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ รวมทง้ั ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และการนำ�ความรู้ไปใช้ ซึง่ เปน็ พน้ื ฐาน ที่สำ�คัญในการพัฒนาทักษะท่ีจำ�เป็นต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล ที่ก�ำ ลังจะเกดิ ขึน้ ต่อไปในอนาคตอนั ใกล้น้ี ดงั นนั้ การเตรยี มเดก็ เพอ่ื รองรบั การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ได้ ควรมีการจัดทำ�หลักสูตรเพ่ือสร้างเด็กให้สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูลได้ ไมใ่ ชแ่ คท่ อ่ งจ�ำ เทา่ นน้ั ซง่ึ อาจไมต่ อ้ งรอถงึ การปรบั ระบบการศกึ ษาใหญท่ ง้ั ประเทศ แต่อาจทำ�เป็นกรณีตัวอย่างท่ีสามารถทำ�ได้ เพ่ือให้เห็นผลได้จริงและสามารถ นำ�มาขยายผลหรือทำ�ต่อได้ รวมถึงการเลือกมหาวิทยาลัยเรียน ควรเลือกเรียน มหาวทิ ยาลยั ทมี่ หี ลกั สตู รหรอื วชิ าเรยี นทส่ี ามารถน�ำ ความรมู้ าใชใ้ นชวี ติ ในอนาคตได้ ซึ่งปัจจุบันยังพบว่า หลักสูตรการเรียนของมหาวิทยาลัยยังคงเป็นหลักสูตรเมื่อ 30 ปีที่ผา่ นมา และไมต่ อบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก กล่าวโดยสรุป สมรรถนะการศึกษาของไทยในเวทสี ากลยงั อย่ใู นระดับ ท่ีไม่ดีมากนัก ทั้งด้านคุณภาพการศึกษาท่ียังคงมีคุณภาพการศึกษาตํ่า และมีความเหล่ือมลํ้าทางการศึกษาสูง ประกอบกับสมรรถนะและคุณลักษณะ ของผเู้ รยี นของไทยยงั มศี กั ยภาพทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการขบั เคลอ่ื นทางเศรษฐกจิ เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทั้งระบบการศึกษา ที่ยังขาดประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพื่อเพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับ ความหลากหลายของการจดั การศกึ ษา และสร้างเสรมิ ธรรมาภบิ าล ซึ่งสมรรถนะ การศึกษาของไทยยังไม่ดมี ากนัก อาจเน่อื งมาจากการผลติ บัณฑติ ทไี่ มส่ อดคลอ้ ง หรือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ไม่วา่ จะเป็นความรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ดา้ นทกั ษะดา้ นภาษาตา่ งประเทศ และทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ ซ่ึงเป็นทักษะการเรียนรู้ท่ีจำ�เป็นในศตวรรษท่ี 21 ในยุคของสถานการณ์โลก ที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 151 ควรสรา้ งระบบการศกึ ษาทจี่ �ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นาพนื้ ฐานหลกั ในการสรา้ งทกั ษะ ระดับสูงของแรงงาน เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ รวมทงั้ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ของกลไกและรูปแบบท่ีใช้ในการพัฒนาคุณลักษณะและระดับทักษะการทำ�งาน ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องกับความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัล และการเกิดธุรกิจใหม่ๆ ที่กำ�ลังเติบโต อย่างรวดเร็ว 1.3 ด้านการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หมายถึง การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนท่ีมีศักยภาพสูง และสอดคล้องกับทิศทางการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ ทั้งน้ี IMD พิจารณาจาก การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาของประเทศไทยสามารถตอบสนองตอ่ ความสามารถ ในการแขง่ ขนั อนั ดบั 38 การบรหิ ารจดั การศกึ ษาทตี่ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ของภาคธุรกิจ ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 34 ประเทศไทยมีทักษะด้านภาษา ทต่ี อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการอยใู่ นอนั ดบั 47 และการศกึ ษา ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ อันดับ 39 จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีแนวโน้ม ของการสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนเพื่อมุ่งความเป็นเลิศและ สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศดขี น้ึ เลก็ นอ้ ย แตเ่ มอื่ เปรยี บเทยี บ กบั กลมุ่ ภมู ภิ าคเอเซยี แปซฟิ กิ พบวา่ ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดบั เกอื บสดุ ทา้ ยในกลมุ่ นี้ ดังน้ัน การศึกษาของประเทศไทยยังไม่สามารถสร้างสมรรถนะ และคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภาพสูง สอดคล้องกับทิศทางการขับเคล่ือน ทางเศรษฐกิจ เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ดีมากนัก เนอื่ งจากการเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 จากระบบทนุ นยิ มอตุ สาหกรรม ยุคแรกๆ ไปเป็นทุนนิยมอุตสาหกรรมข้ามชาติที่มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี และการบริหารจัดการในระดับท่ีสูงกว่ายุคก่อนอย่างมาก เน้นการผลิตสินค้า และบริการไฮเทคแบบอัตโนมัติที่ใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้น 152 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ต้องการใช้แรงงานและการจัดองค์กรท่ีมีความรู้และการคิดค้นใหม่ คนทำ�งาน มคี วามรทู้ กั ษะแบบใหมท่ เ่ี รยี นรงู้ านแบบใหมไ่ ดเ้ รว็ สามารถตดั สนิ ใจไดเ้ พม่ิ ขน้ึ มาก รวมท้ังเป็นยุคอุตสาหกรรม 4.0 ที่มีการนำ�เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้เป็น เครอ่ื งมอื ส�ำ คญั ในการพฒั นา ซง่ึ เทคโนโลยที �ำ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพการท�ำ งานเพม่ิ สงู ขน้ึ รวมท้ังมีการเชื่อมต่อเทคโนโลยีเข้ากับอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในการทำ�งานในรูปแบบของ internet of Things และการใช้เทคโนโลยี เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ระบบการขนส่ง และความต้องการ ของผบู้ รโิ ภค เปน็ ตน้ จากผลการจดั อนั ดบั โดย World Economic Forum 201926 ที่ไดจ้ ดั อนั ดบั ความสามารถทางการแขง่ ขนั ระดบั โลก 4.0 ประจ�ำ ปี 2562 จากการส�ำ รวจ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ด้านทักษะของผู้สำ�เร็จการศึกษา อยู่ใน อนั ดบั ท่ี 79 ไดค้ ะแนน 4 ด้านทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของประชากร อยู่ในอนั ดบั ที่ 66 ได้คะแนน 4.3 และด้านความง่ายในการค้นพบแรงงานที่ทักษะ อยู่ในอันดับ 86 ได้คะแนน 4 จากคะแนนเตม็ 7 จะเหน็ ได้ว่า ทักษะของผ้สู ำ�เร็จการศึกษา ทักษะด้านดิจิทัล และความสามารถในการค้นพบแรงงานท่ีทักษะโดยง่ายใน อันดับเกือบสุดท้ายในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก โดยมีอันดับดีกว่าเพียง กัมพูชา เวียดนาม และลาว เท่านน้ั รวมทงั้ แนวโนม้ ของการเปลย่ี นแปลงในโลกยคุ ใหม่ Global Megatrends คือ 1) การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี : คล่ืนลูกใหม่ทางเทคโนโลยีปรากฏข้ึน 2) การขยายตวั ของเมอื ง เมอื งเตบิ โตขน้ึ ท�ำ ใหต้ อ้ งบรหิ ารจดั การเมอื งและโครงสรา้ ง พื้นฐาน 3) การเปล่ียนแปลงของจ�ำ นวนประชากรเขา้ ส่ปู ระชากรสูงอายุ (Aging) และการเพิ่มข้ึนของชนช้ันกลาง รวมท้ังการเข้าใจเด็กกลุ่มที่โตมากับโลกดิจิทัล เพ่ือที่จะทำ�ให้เด็กในกลุ่มน้ีสามารถเรียนรู้ข้อมูลได้อย่างถูกต้องบนโลกดิจิทัล 26 //www.weforum.org/reports/the-global-competitveness-report-2018 สืบคน้ วันท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2563 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 153 4) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : เกิดจากการบริโภคท่ีเพิ่มมากข้ึน ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 5) การเชอ่ื มตอ่ ของระบบเศรษฐกจิ : เนอ่ื งจากโลก มีการเชื่อมต่อกันการเพิ่มข้ึนของการขนส่ง และกระแสเงินทุนท่ีเปลี่ยนแปลงไป 6) ความใส่ใจเรื่องสุขภาพ : การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาสุขภาพและ ความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น 7) ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงเป็น การเรียนรู้ด้วยตนเอง และควรทำ�อย่างไรให้เด็กของเราได้เข้าใจว่าการเรียนรู้ ไมส่ ้นิ สุด นอกจากนี้ การเปลย่ี นแปลงของ Digital Revolution กลา่ วคอื Industry 4.0 คอื การปฏิวตั ดิ จิ ิทลั หรอื การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม 4.0 คือ ชอื่ เรียกรปู แบบ การจัดการอุตสาหกรรมท่ีกำ�ลังนิยมในปัจจุบันโดยเป็นการนำ�สารสนเทศมา ประยกุ ตผ์ สมผสานกบั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม โดยประกอบดว้ ย Cyber-Physical System Internet of things และ cloud computing โดยอตุ สาหกรรม 4.0 เปน็ รปู แบบของการท�ำ งานอยา่ งชาญฉลาด (smart) โดยการน�ำ ขอ้ มลู ทหี่ ลากหลาย มาผสมผสานเพอื่ ใหเ้ กดิ การตดั สนิ ใจในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง แมน่ ย�ำ และทันเวลา ทั้งในรูปแบบการจัดการด้วยมนุษย์ และการจัดการด้วยระบบ หุ่นยนตอ์ ตั โนมัติ ตลอดหว่ งโซค่ ุณค่า ถงึ แมว้ า่ ระดบั การศกึ ษาของประชากรวยั แรงงานไทย (กลมุ่ อายุ 15-59 ป)ี จะมกี ารศกึ ษาอยใู่ นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และระดบั อดุ มศกึ ษา และมแี นวโนม้ สูงขึ้นทุกปี27 แต่การใช้งานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลยังไม่นิยมเท่าที่ควร โดยเฉพาะ SMEs มีการใช้เทคโนโลยีในระดับท่ีค่อนข้างต่ํา ขณะที่รูปแบบของงานใหม่ๆ ตอ้ งการความรแู้ ละทกั ษะในระดบั สงู รวมทงั้ ยงั มจี ดุ ออ่ นดา้ นภาษาในการสอื่ สาร28 นอกจากนี้ จากการเปลี่ยนแปลงจากยคุ Industry 1.0 2.0 และ 3.0 จนก้าวสู่ยุค 27 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.ปกี ารศกึ ษาเฉลย่ี ของประเทศไทย ปี 2555-2559.พรกิ หวานกราฟฟคิ . 2560 หน้า(จ) 28 กระทรวงแรงงาน.ภาวะสังคมไทยไตรมาสแรก ปี 2560. ปีท่ี 14 ฉบับท่ี 2 เดือนพฤษภาคม 2560 (เอกสารอัดสำ�เนา) 154 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) Industry 4.0 ทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงแรงงานจาก Labor เปน็ Intelligence Worker ซงึ่ ตอ้ งใชท้ กั ษะในการเรยี นรใู้ หมๆ่ ในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นแปลงเรว็ ระบบการ เรยี นการสอนนอกสถานศกึ ษามมี ากขนึ้ คนจ�ำ นวนมากที่สามารถเรยี นรูพ้ ร้อมกบั พัฒนาทักษะของตัวเอง เพื่อสามารถทำ�งานได้ ความเช่ือเรื่องวุฒิการศึกษากับ ระดับศกั ยภาพในการทำ�งานของคน (Skilled หรือ Unskilled labor) จะมีการ เชื่อมโยงกันนอ้ ยลง โดยเฉพาะบรษิ ัทดา้ นเทคโนโลยีช้ันสูงใน Industry 4.0 จะให้ ความสำ�คัญกับผู้สมัครที่มีผลงานและมีประสบการณ์ด้วยตัวเองมากกว่าวุฒิบัตร จากการศึกษาในระบบ เนื่องจากปัจุบันนี้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือที่ช่วย ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และสังคม แตห่ ากสงั คมและคนในสังคมขาดความรู้ ทกั ษะ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ขาดความเทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ จากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั นอกจากจะไมไ่ ด้ประโยชนจ์ ากความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีแล้ว ยงั ตกเปน็ เหย่อื ทางเทคโนโลยที ่ีกอ่ ให้เกดิ ผลเชิงลบมากมายมหาศาล29 จะเห็นได้ว่า การนำ�เทคโนโลยีมาใช้จะส่งผลกระทบต่อตำ�แหน่งงาน ใน 10-15 ปขี า้ งหนา้ และท�ำ ให้งานจ�ำ นวนหน่ึงหายไป แต่จะมีการสรา้ งงานรูป แบบใหม่ขึ้นมาอีกจำ�นวนหน่ึง โดยรูปแบบงานจะเปลี่ยนไปภายหลังจากการเข้า สู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ลกั ษณะ คอื 1) งานทหี่ ายไปจากการ ถูกแทนที่ด้วยเครื่องจักร 2) งานท่ีทำ�ร่วมกับเคร่ืองจักร เช่น เครื่องมือหุ่นยนต์ ทางการแพทยท์ ต่ี ้องใช้คนในการควบคมุ และสงั่ การ 3) งานเครอ่ื งจกั รท่ีเก่ยี วกบั การคีย์ข้อมูล การเกบ็ ข้อมูลแตไ่ มส่ ามารถวิเคราะหข์ ้อมลู ได้ และต้องอาศยั คนใน การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และ 4) งานทเ่ี ครอ่ื งจกั รไมส่ ามารถท�ำ ได้ คอื งานเกย่ี วกบั ความ คดิ สรา้ งสรรค์ นอกจากนี้ จากการศกึ ษาของ OECD ปี 2018 พบวา่ แรงงานกวา่ 66 ลา้ นคนจะตกงาน30 29 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.รายงานการศึกษาแนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัล ส�ำ หรบั ครู.พรกิ หวานกราฟฟิค.2562.หน้า 7 30 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.รายงานการศึกษาแนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัล สำ�หรบั ครู.พรกิ หวานกราฟฟิค.2562.หน้า 7 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 155 ในอนาคตคนรนุ่ ใหมท่ มี่ คี วามสามารถทางเทคโนโลยี จะสามารถท�ำ งาน ไดโ้ ดยไมจ่ �ำ กดั เวลาและสถานท่ี รวมทงั้ สามารถใชอ้ ปุ กรณท์ างเทคโนโลยที ม่ี อี ยไู่ ด้ อยา่ งคลอ่ งแคล่ว และการท�ำ งานจะเปน็ ระบบอตั โนมัติมากข้นึ ดังน้ัน การพัฒนา มนษุ ย์เพื่อสนองตอบความตอ้ งการในยุคอุตสาหกรรม 4.0 จงึ จำ�เป็นต้องพัฒนา ใหค้ นมที กั ษะพืน้ ฐานทสี่ �ำ คัญประกอบด้วย ทกั ษะด้านการใช้เทคโนโลยี กลา่ วคือ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างคล่องแคล่วทุกรูปแบบท่ีอยู่ในยุค Internet of Things ได้ รวมทงั้ ทักษะความสามารถในการท�ำ งานเป็นเครอื ขา่ ย ติดตอ่ สอ่ื สารดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทลั ได้ สำ�หรับ ประเทศไทย 4.0 มีความเกีย่ วขอ้ งกบั อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั และ การใช้เทคโนโลยีผา่ นเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ มกี ารน�ำ Big Data มาใช้ประโยชน์ เพิ่มมากข้ึน ผูใ้ ชจ้ ำ�เปน็ ตอ้ งมที ักษะในการคิดวเิ คราะหเ์ พ่อื สามารถเปลยี่ นข้อมูล ใหก้ ลายเป็นการปฏบิ ตั งิ านท่ีมปี ระโยชนไ์ ด้ ดังนัน้ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ จงึ เป็น ทักษะจำ�เป็นพื้นฐานในยุคประเทศไทย 4.0 เพราะเป็นยุคของการหล่ังไหลด้าน ขอ้ มลู ขา่ วสารทป่ี ราศจากโครงสรา้ งหรอื รปู แบบทช่ี ดั เจน ดงั นนั้ การจดั การศกึ ษา ควรมงุ่ เนน้ การพฒั นาก�ำ ลงั คนใหม้ ที กั ษะดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และมคี วามสามารถ ในการทำ�งานเปน็ ทีม มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มคี วามสามารถในการทำ�งานร่วมกบั ผอู้ นื่ และสามารถปรบั ตวั เองใหส้ อดรบั และด�ำ รงชวี ติ อยไู่ ดภ้ ายใตก้ ารเปลยี่ นแปลง ที่เกิดขนึ้ นอกจากน้ี ยงั มปี ระเทศทเี่ ปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ใี นการพฒั นาและเตรยี มคนเพอื่ รองรับสังคมดิจทิ ัล ตวั อยา่ งเช่น ประเทศมาเลเซยี มเี ป้าหมายการพฒั นาคนเพือ่ เตรยี มพรอ้ มรองรับสงั คมดิจิทลั โดยเร่มิ ตน้ จากโรงเรียน และก�ำ หนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาทช่ี ดั เจน มกี ารจดั ท�ำ หลกั สูตร ตวั ชว้ี ัด รวมทง้ั การวัดและประเมินผลท่ี เปน็ ระบบเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และทกั ษะกระบวนการ ทางความคิด เพ่ือมุ่งสู่การเป็นพลเมืองดิจิทัลในอนาคต ประเทศฟินแลนด์ มีการประกาศอย่างเป็นทางการให้ยกเลิกวิชาเรียนออกจากหลักสูตรการศึกษา 156 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) โดยจะไม่มีการสอบรายวิชาต่างๆ ในโรงเรียน แต่มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติเพ่ือให้ ผ้เู รยี นสามารถปฏบิ ตั งิ านและดำ�รงชวี ิตอย่ใู นสงั คมปัจจบุ นั ได้ ประเทศอิสราเอล ประสบความสำ�เร็จด้านการสร้างธุรกิจสตาร์ทอัพ โดยมีการสอนให้ผู้เรียนเขียน โปรแกรมประยุกตไ์ ดต้ ้ังแตร่ ะดับมัธยมศึกษา นอกจากนนั้ ประเทศทพี่ ัฒนาแล้ว หลายประเทศ เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมรกิ า เยอรมัน ญี่ปุน่ เกาหลี และจนี เปน็ ตน้ ไดก้ �ำ หนดยทุ ธศาสตรท์ ชี่ ดั เจนเพอ่ื รองรบั ความเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการขับเคลื่อนผลักดันระบบเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศอย่างเห็นผลเป็น รูปธรรม เชน่ กนั ดงั น้นั ประเทศไทยจงึ ต้องเรง่ พฒั นาความร้คู วามสามารถของแรงงาน ทั้งด้านทักษะเทคโนโลยี และภาษา เพ่ือสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของ ผเู้ รยี นทมี่ ศี กั ยภาพสงู สอดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการขบั เคลอ่ื นทางเศรษฐกจิ และรองรบั ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ที่ต้องการคนทำ�งานท่ีมีความรู้ทักษะแบบใหม่เพิ่มข้ึน รวมทั้งเพือ่ สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เน่ืองจาก คนที่ไม่มี ความรู้ทักษะแบบใหม่ คิด/ทำ�อะไรใหม่ๆ แก้ปัญหายาก ซับซ้อนไม่เป็น ต้อง ตกงาน หรอื ไมก่ ต็ อ้ งเปลย่ี นแปลงไปท�ำ งานแบบใชแ้ รงงาน ซงึ่ งานบางอยา่ งเปน็ งาน ทไี่ มต่ อ้ งใชท้ กั ษะมาก และยงั ใชค้ อมพวิ เตอรท์ �ำ แทนไมไ่ ด้ เชน่ งานท�ำ ความสะอาด เกบ็ ขยะ ฯลฯ โดยได้ค่าจา้ งในอตั ราท่ตี ํา่ 31 เปน็ ตน้ นอกจากนี้ การศึกษาไทยจึงต้องเร่งแก้ไขและปรับปรุงหลักสูตร เพื่อ ให้มีความเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักเรียนทั้งด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่เป็นวิชา พื้นฐานหลักในการพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ และสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อพัฒนาประเทศ และการให้ความสำ�คัญของการรู้หนังสือและความสามารถ ในการอา่ นทเี่ พมิ่ มากขน้ึ หลกั ของผเู้ รยี นโดยเฉพาะความรคู้ วามสามารถในการใช้ 31 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏิรูปการศกึ ษาไทย ให้ทันโลกในศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ย่างไร.พมิ พด์ กี ารพมิ พ.์ 2559.หน้า 64 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 157 ภาษาองั กฤษ รวมท้งั การจัดท�ำ หลักสตู รฐานสมรรถนะเพ่อื พัฒนาสมรรถนะหลัก ของผ้เู รยี น (Student Care Competencies)32 ท่เี ป็นสมรรถนะสำ�คญั ทีจ่ �ำ เป็น ต่อการทำ�งาน และการเรียนรู้ของผู้เรียนในโลกยุคปัจจุบัน ได้แก่ 1) ภาษาไทย เพื่อการสอื่ สาร 2) คณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจำ�วัน 3) การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ 4) ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร 5) ทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แห่งตน 6) ทักษะอาชีพและการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 7) ทักษะการคิดข้ันสงู และ นวตั กรรม 8) การรู้เท่าทนั ส่อื สารสนเทศและดิจิทัล 9) การทำ�งานแบบรวมพลัง เปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ และ 10) การเปน็ พลเมอื งตน่ื รู้ และส�ำ นกึ สากล ซงึ่ สมรรถนะ ทงั้ 10 น้ี จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ไทยมคี ณุ สมบตั เิ ปน็ คนไทยฉลาดรู้ อยดู่ มี สี ขุ มคี วามสามารถสงู และใส่ใจสังคม เนื่องจากความสามารถเหล่าน้ีจะเป็นความรู้พ้ืนฐานที่ส่งผล ใหผ้ ้เู รียนมีทกั ษะที่จำ�เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 โดยมที ้งั ความรูแ้ ละทกั ษะที่จำ�เป็นใน การดำ�รงชวี ติ ทา่ มกลางกระแสแห่งการเปล่ยี นแปลงของโลกดจิ ทิ ัลกำ�ลังเกดิ ขนึ้ ข้อเสนอะแนะ จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศในภูมิภาค ตา่ งๆ ท่วั โลก โดย IMD ซ่งึ เปน็ การพิจารณาปจั จัยสภาพแวดลอ้ มท่ีจะสง่ ผลตอ่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ครอบคลุมปัจจัย หลัก 4 ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของภาครัฐ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และโครงสร้างพ้ืนฐาน สรุปได้ว่า ปัจจัยหลักดังกล่าวที่เกิดขึ้นล้วนส่งผลต่อการ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพ รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เชน่ โครงสรา้ งประชากรไทยทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป มอี ตั ราการเกดิ ลดลง และมจี �ำ นวน ผู้สูงอายุเพิ่มข้ึน สภาพเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมท้ัง 32 //www.thaiedreform.org/news/1393/ สบื คน้ วนั ที่ 26 พ.ย.61 การประชมุ คณะกรรมการอสิ ระ เพือ่ การปฏริ ปู การศกึ ษา ครัง้ ท่ี 31/2561.กอปศ.วางแนวทาง 10 สมรรถนะหลักเพื่อให้เดก็ ไทยฉลาดรู้ อยู่ดมี สี ุข มคี วามสามารถสูง และใสใ่ จสงั คม. 158 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแบบก้าวกระโดด ล้วนส่งผลต่อระบบ การศึกษาท่ีจะต้องต้ังรับและวางแผนการผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ใหม้ สี มรรถนะทส่ี งู ขน้ึ และสามารถอยไู่ ดใ้ นสงั คมไทยและสงั คมโลกอยา่ งมคี ณุ ภาพ นอกจากน้ีตัวชี้วัดด้านการศึกษาจำ�นวนท้ังส้ิน 20 ตัวชี้วัดได้สะท้อน ให้เห็นถึงแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของประเทศให้มีประสิทธิภาพ ทัดเทียมในระดับนานาชาติ จึงมีข้อเสนอแนะแนวทางการดำ�เนินงาน เพ่ือการพัฒนาการศึกษาของไทยให้มีสมรรถนะด้านการศึกษาสูงข้ึนในเวทีสากล และยกระดับความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการศึกษาของประเทศดงั นี้ 1. กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทำ�ข้อมูลรายบุคคล (Big data) ทั้งใน ด้านงบประมาณ จำ�นวนนักเรียน จำ�นวนครู เพ่ือสะท้อนตัวช้ีวัดในเชิงปริมาณ (Hard data) เนื่องจาก ข้อมูลท่ีใช้ในการจัดอันดับด้านการศึกษาส่วนใหญ่ เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (Hard data) และนำ�ข้อมูลรายบุคคลมาสนับสนุน การบริหารจัดการศึกษาและการแก้ไขปัญหาการศึกษาท้ังในด้านคุณภาพ การจัดการศึกษา และลดความเหลื่อมลํ้าเชิงพ้ืนท่ี สะท้อนข้อมูลตาม ความเป็นจริงตามบริบทพื้นท่ี สนับสนุนงบประมาณและช่วยเหลือเด็ก ทขี่ าดโอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. ควรพจิ ารณาทบทวนถงึ กระบวนทศั น์ (Paradigm) ในการจดั การศกึ ษา ของประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ปจั จยั ตงั้ ตน้ ของคณุ ภาพการศกึ ษาทสี่ �ำ คญั ทส่ี ดุ คอื ครู การผลิตครูใหม่ และการพฒั นาครูประจำ�การ จำ�เปน็ ตอ้ งไดร้ ับการปรบั ระบบอย่างจรงิ จัง เขม้ ข้น เรง่ ด่วน 3. ควรให้ความสำ�คัญต่อการจัดการเรียนการสอนในด้านคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และการอา่ น เพอื่ สรา้ งใหเ้ ดก็ มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ รวมทงั้ การพฒั นา ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล และให้ความส�ำ คัญตอ่ การพฒั นาและการใช้ AI 4. ควรพฒั นาระบบการจดั การเรยี นรทู้ ม่ี งุ่ ฐานสมรรถนะ (Competency- based) และการฝกึ ปฏบิ ัติในระดบั อาชวี ศกึ ษาและอุดมศกึ ษา ทเ่ี ช่อื มโยงทกั ษะ การเรยี นรู้ ทกั ษะการทำ�งาน ทกั ษะทางภาษา ทกั ษะดา้ นดจิ ิทลั และทกั ษะการ สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 159 วเิ คราะห์ แกไ้ ขปญั หา โดยสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั สถานประกอบ การหรอื อตุ สาหกรรม ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั เพือ่ ใหค้ นไทยเป็นทรัพยากร มนุษยท์ ม่ี คี ณุ ภาพและเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 5. สร้างความเข้าใจที่เก่ียวกับตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่ใช้ในการจัดอันดับ ประเทศตา่ งๆ ทวั่ โลกของสถาบนั เพอื่ พฒั นาการจดั การ (International Institute for Management Development : IMD) ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการ จัดการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาเร่งการพัฒนาการจัดการศึกษา และตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการจดั ท�ำ ฐานขอ้ มูล โดยเฉพาะตวั ชวี้ ดั ทมี่ อี นั ดบั คอ่ นขา้ งตา่ํ ไปทางทา้ ยแถว เชน่ อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ครู 1 คน ทส่ี อนระดบั มธั ยมศกึ ษา งบประมาณดา้ นการศกึ ษาตอ่ ประชากร อตั ราการเขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา รวมทงั้ เหน็ ความส�ำ คญั ของการพฒั นาความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ ทกั ษะทางภาษา ทตี่ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ และผลการทดสอบ PISA เปน็ ตน้ เพ่ือเพิ่มอันดับของตัวช้ีวัดย่อย ซึ่งจะส่งผลให้อันดับสมรรถนะด้านการศึกษา โดยรวมของประเทศไทยดีขึน้ 6. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานการจัดการศึกษา และสร้างความรู้ ความเขา้ ใจใหแ้ กผ่ บู้ รหิ ารของหนว่ ยงานทใี่ ชก้ �ำ ลงั แรงงาน ซงึ่ เปน็ ผตู้ อบแบบส�ำ รวจ ความคิดเห็นของสถาบันเพ่ือพัฒนาการจัดการ (IMD) และสร้างความร่วมมือ เพ่อื พฒั นากำ�ลงั คนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 160 สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) บรรณานกุ รม ภาษาไทย กระทรวงแรงงาน.(2560).ภาวะสังคมไทยไตรมาสแรก ปี 2560 .ปีท่ี 14 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม 2560 .เอกสารอัดสำ�เนา. กระทรวงแรงงาน.(2561).สถานการณ์ด้านแรงงานเดือนมกราคม 2561 และประมาณการไตรมาส 1 ปี 2561.มกราคม–มนี าคม2561.เอกสารอดั ส�ำ เนา. คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา.(2562).แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา.(ม.ป.ท.) คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา.(2562).รายงานเฉพาะเร่ืองที่ 2 ความไม่เสมอภาคทางการศึกษา. (ม.ป.ท.) คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา.(2562).รายงานพันธกิจ ของคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ูปการศกึ ษา. (ม.ป.ท.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(2562).โปรแกรมประเมิน สมรรถนะนกั เรียนมาตรฐานสากล.เอกสารอัดสำ�เนา. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). สรุปผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย โดย WEF ปี 2019-2020.เอกสารอัดส�ำ เนา. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2558).การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะก�ำ ลงั คนรองรบั โลกศตวรรษที่ 21.เอกสารอดั ส�ำ เนา. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2559).สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏริ ปู การศกึ ษาไทยใหท้ นั โลกในศตวรรษที่ 21 ไดอ้ ยา่ งไร.กรงุ เทพมหานคร: พมิ พด์ ีการพมิ พ์. สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 161 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560). สรปุ ผลการจดั สภาการศกึ ษาเสวนา (OEC Forum) ครั้งที่ 14 เรื่อง “การพัฒนากำ�ลังคมเพ่ือสนอง ความต้องการของประเทศยคุ ไทยแลนด์ 4.0” .เอกสารอดั ส�ำ เนา. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560).การจดั สรรงบประมาณผา่ นตวั ผเู้ รยี น. (เอกสารอดั ส�ำ เนา). สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).ปีการศึกษาเฉลี่ยของประเทศไทย ปี 2555-2559.กรงุ เทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579.กรุงเทพมหานคร : พรกิ หวานกราฟฟิค. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2559/2560 แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาไทยเพอื่ กา้ วสยู่ คุ Thailand 4.0.กรุงเทพมหานคร : พรกิ หวานกราฟฟิค จ�ำ กัด. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2560/2561 ฐานข้อมูลกับการบรรลุตามเป้าหมายแผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.กรงุ เทพมหานคร: 21 เซน็ จรู ่ี. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).รายงายจ่ายด้านการศึกษาของ ประเทศไทย ปี 2558.(เอกสารอัดสำ�เนา). ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560).รายจา่ ยดา้ นการศกึ ษาของประเทศไทย ปี 2558 .เอกสารอดั ส�ำ เนา. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560).สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2558/2559 ความจ�ำ เปน็ ของการแขง่ ขนั และการกระจายอ�ำ นาจในระบบการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพมหานคร: 21 เซ็นจรู .่ี ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560).สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2558/2559 ความจำ�เป็นของการแข่งขันและการกระจายอำ�นาจในระบบ การศึกษาไทย.กรงุ เทพมหานคร:21เซน็ จูร่ี. 162 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2560).สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2559 (IMD 2016).กรงุ เทพมหานคร: 21 เซ็นจูร่ี สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).สรุปผลการจัดสภาการศึกษา เสวนา (OEC Forum) คร้ังท่ี 13 เรื่อง “การเปล่ียนแปลงการศกึ ษา ในยุคดิจิทลั ”.เอกสารอัดส�ำ เนา. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2561).สภาการศึกษาเสวนา 2016-2017: บทบาทการศึกษาไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0.กรุงเทพมหานคร: พรกิ หวานกราฟฟิค. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2561).สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2560 (IMD 2017). กรงุ เทพมหานคร: 21 เซน็ จรู ่ี สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2562).การศึกษาแนวโน้มความต้องการ ก�ำ ลังคนโดยยดึ พน้ื ท่เี ปน็ ฐาน.กรุงเทพมหานคร :พริกหวานกราฟฟิค. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2562).ครไู ทยยคุ ใหมส่ นใจดจิ ทิ ลั .กรงุ เทพมหานคร :พรกิ หวานกราฟฟิค. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2562).รายงานการติดตามและประเมินผล นโยบายการสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื รองรบั Thailand 4.0 :ทริปเพิล้ กร๊ปุ จ�ำ กดั . ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2562).รายงานการศกึ ษาแนวปฏบิ ตั ขิ องการ สรา้ งและส่งเสรมิ การรดู้ จิ ิทลั สำ�หรบั ครู :พริกหวานกราฟฟคิ . สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2562).รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2561/2562.กรงุ เทพมหานคร.เอกสารอดั ส�ำ เนา. สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 163 ภาษาอังกฤษ International Institute for Management Development. (2016).World Competitiveness Yearbook 2016.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2017).World Competitiveness Yearbook 2017.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2018).World Competitiveness Yearbook 2018.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2019).World Competitiveness Yearbook 2019.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2020).World Competitiveness Yearbook 2020.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2019).World Digital Competitive Ranking 2019.Switzerland: Lausanne. International Institute for Management Development. (2020).World Digital Competitive Ranking 2020.Switzerland: Lausanne. The Global Talent Competitiveness Index. (2020).Global Talent in the Age of Artificial Intelligence.France: INSEAD. Human Development Report. (2019).Beyond income, beyond averages, beyond today :Inequalities in human development in the 21st century. New York: United Nations Development Programme. 164 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) เวป็ ไซด์ เศรษฐกิจไทย’ ปี 64 ในวิกฤติโควิดระลอกใหม่ (bangkokbiznews.com) . [ระบบออนไลน]์ . สืบค้นวันท่ี 24 มกราคม 2564 EF English Proficiency Index. (2561). [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า.// www.ef.co.th/__/~/media/centralefcom/epi/downloads/full-re- ports/v8/ef-epi-2018-english.pdf สืบคน้ วันที่ 25 ธนั วาคม 2563 QS WORLD UNIVERSITY RANKINGS.(2562). [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา. //www.topuniversities.com/university-rankings/world-uni- versity-rankings/2018 . สืบค้นวันที่ 23 ธันวาคม. 2563 The Global Competitiveness Report 2018.(2561). [ระบบออนไลน]์ .แหล่ง ทม่ี า. //www.weforum.org/reports/the-global-competitive- ness-report 2018 สืบคน้ วนั ที่ 22 พฤศจกิ ายน 2563. The Global Competitiveness Report 2019.(2562). [ระบบออนไลน์].แหลง่ ทมี่ า. //www.weforum.org/reports/the-global-competitve- ness-report-2019. สืบค้น วนั ที่ 25 มกราคม 2563. Tripadvisor ประเทศไทย .(2563). 25 จดุ หมายปลายทางที่ดที ส่ี ดุ ในปี 2019 จาก Tripadvisor. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า //travel.kapook. com/view226749.html สบื คน้ วนั ที่ 25 มกราคม 2564 Workpointnews.(2562). ไทยตดิ อันดับ 21 ของโลก ดขี นึ้ 6 อนั ดับ เร่ิมต้นทำ� ธรุ กจิ งา่ ยทส่ี ดุ นวิ ซแี ลนดแ์ ชมปโ์ ลก. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า // workpointnews.com/2019/10/24/worldbank-doing-business-2020/ สบื คน้ วนั ที่ 20 ธนั วาคม 2563 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2563 (IMD 2020) 165 คณะกรรมการอิสระเพอ่ื การปฏิรูปการศึกษา.(2561).การประชุมคณะกรรมการ อิสระเพ่ือการปฏริ ปู การศึกษา ครง้ั ท่ี 31/2561.กอปศ.วางแนวทาง 10 สมรรถนะหลกั เพือ่ ใหเ้ ด็กไทยฉลาดรู้ อยดู่ ีมสี ุข มีความสามารถสูง และ ใส่ใจสังคม.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา //www.thaiedreform. org/news/1393/ สบื คน้ วนั ที่ 26 พ.ย. 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2562). การทอ่ งเทยี่ วกบั บทบาทขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ไทย ฮโี รจ่ ำ�เป็นหรือ ฮีโร่ตัวจริง. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า // www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/ Article_29Oct2019.aspx สืบคน้ วันที่ 20 ม.ค. 2564 สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). เศรษฐกจิ ไทยไตรมาสทสี่ ามของปี 2562 และแนวโนม้ ปี 2562 - 2563. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา//www.nesdb.go.th/ewt_news. php?nid=9625&filename=index .สบื คน้ วนั ที่ 20 ธนั วาคม 2563 ส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาต.ิ (2558). ส�ำ รวจการอา่ นหนงั สอื ของประชากร ปี 2558. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า//service.nso.go.th/nso/web/survey/ surpop2-3-1.html สืบคน้ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2563 อนสุ รณ์ ธรรมใจ .(2562).อนาคตภายใต้ Digital Transformation อภวิ ัฒน์ อุตสาหกรรมคร้ังที่ 4 (2). [ระบบออนไลน์].แหล่งท่ีมา //www. bangkokbiznews.com/blog/detail/647022 สืบค้นวันท่ี 12 ธนั วาคม 2563 166 สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) คณะผ้จู ดั ทำ� ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร.อ�ำ นาจ วชิ ยานวุ ตั ิ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร.อษุ ณยี ์ ธโนศวรรย ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร.พรี ศกั ด์ิ รตั นะ พจิ ารณารายงาน อดตี ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั นโยบาย ดร.วรยั พร แสงนภาบวร ความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ สกศ. อดตี คณบดี คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา รศ.ดร.มนตรี แยม้ กสกิ ร อดตี อาจารย์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร รศ.ดร. ฉนั ทนา จนั ทรบ์ รรจง รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เรยี บเรยี ง จดั ท�ำ รายงาน และบรรณาธกิ าร นางศริ พิ ร ศรพิ นั ธ ์ุ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา นายวรี ะพงษ์ อเู๋ จรญิ ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ วเิ คราะหส์ ภาวการณท์ างการศกึ ษา นางสาวอไุ รวรรณ พนั ธส์ จุ รติ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพเิ ศษ นางสาวรตั นวดี ภพู่ นั ธเ์ จรญิ สขุ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำ�นักประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 99/20 ถนนสุโขทยั เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300 โทรศพั ท์ 0 2668 7123 ต่อ 2311,2312 โทรสาร 0 243 7915 www.onec.go.th สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020) 167 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 99/20 ถนนสโุ ขทยั เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศพั ท์ 0 2668 7123 โทรสาร 0 243 7915 www.onec.go.th สง่ิ พิมพ์ สกศ.อันดับที่ 17/2564 ISBN : 978-616-270-288-4

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้