การแปลภาษาคอมพ วเตอร เป นรห สภาษาเคร องท ม การแปลท ละบรรท ด

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

สรุป ภาษาไทย 191 หน้า

สรุป ภาษาไทย 191 หน้า

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

การแปลภาษาเขมรការបកប្របភាសាប្មែរ Khmer Translation บญั ญัติ สาลี สาขาวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเขมร ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ายาลยั มหาสารคาม

การแปลภาษาเขมรការបកប្របភាសាប្មែរ Khmer Translation บัญญัติ สาลี สาขาวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเขมร ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ายาลยั มหาสารคาม

การแปลภาษาเขมร เขียนโดย บญั ญตั ิ สาลี พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 9 เมษายน 2564 จำนวนท่ีพมิ พ์ 500 เล่ม 978-974-19-6072-9 ISBN ขอ้ มูลสานักหอสมดุ แหง่ ชาติ บัญญัติ สาลี. การแปลภาษาเขมร มหาสารคาม : สานักพมิ พส์ วนหนังสือ. 2564. 279 หนา้ . 1. การแปลภาษาเขมร 2. ภาษาเขมร 3. การแปลภาษาเขมร-ไทย 4. การแปลภาษาไทย-เขมร ISBN 978-974-19-6072-9 จัดพมิ พ์และจำหน่ำยโดย สานกั พมิ พส์ วนหนงั สือ รำคำ 250 บำท พิมพ์ท่ี เลศิ ทวชี ัยก๊อปปี้เซ็นเตอร์ อาคาร D16 ตาบลขามเรยี ง อาเภอกนั ทรวชิ ยั จังหวดั มหาสารคาม 44150 โทร.093 048 6707 สงวนลขิ สทิ ธิ์

คำนำ ตำรำเล่มนี้จัดทำข้ึนเพื่อใช้ในกำรเรียนกำรสอนในรำยวิชำ กำร แปลภำษำเขมร-ไทย และรำยวชิ ำกำรแปลภำษำไทย-เขมร ในหลักสูตร ภำษำและวัฒนธรรมอำเซียน (ภำษำและวัฒนธรรมเขมร) ผู้เขียนยังมี ควำมหวังให้ตำรำเล่มนี้เป็นประโยชน์สำหรับอำจำรย์และครูใช้เป็น เอกสำรในกำรสอนวชิ ำกำรแปลในทุกระดับ นอกจำกน้ียังเปน็ ประโยชน์ สำหรบั นักแปลและล่ำมภำษำเขมรทว่ั ไปทีจ่ ะนำตำรำเล่มน้ีเป็นคมู่ อื และ หนังสืออ่ำนเพิ่มพนู ควำมรู้ เนื้อหำในเลม่ ประกอบไปดว้ ย หลักกำรแปล ลักษณะทำงภำษำและวัฒนธรรมเพื่อกำรแปล ไวยำกรณ์กับกำรแปล กำรปรับบทแปล และยังมีกำรนำเสนอข้อมูลเก่ียวกับกำรแปลในด้ำน ต่ำง ๆ ได้แก่ กำรแปลข่ำว กำรแปลงำนวิชำกำร กำรแปลวรรณกรรม กำรแปลงำนธุรกิจ กำรแปลแบบล่ำม ปัญหำ และกลวิธีกำรแก้ปัญหำ กำรแปล ผู้เขียนขอขอบคุณคณะผู้เช่ียวชำญกำรแปลภำษำเขมร ได้แก่ รองศำสตำจำรย์สงบ บุญคล้อย รองศำสตรำจำรย์ ดร.ภูมิจิต เรืองเดช รองศำสตรำจำรย์ ดร.บุณยเสนอ ตรวี ิเศษ លោកបណ្ឌិ តជំុ៊ សន៊ុ ណាង លោក បណ្ឌិតលោន វណ្ណ ៈ และ អ្នកគ្រូអ្៊ុន ចាន់ណារី ทใี่ หค้ ำปรกึ ษำ เสนอแนะ และ ตรวจแก้งำนเขยี นน้จี นสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี บญั ญตั ิ สำลี มีนำคม 2564 ~ก~

สำรบญั หน้ำ ก คำนำ ค สำรบัญ บทท่ี 1 ควำมรทู้ วั่ ไปเกีย่ วกับกำรแปล 1 2 บทนำ 2 ควำมหมำยของกำรแปล 13 พัฒนำกำรกำรแปลภำษำ 18 ทฤษฎกี ำรแปล 21 กระบวนกำรแปล 26 ชนิดของกำรแปล 29 กำรแปลกับเคร่ืองมือกำรแปล บทสรุป 31 บทที่ 2 ลกั ษณะทำงภำษำและวฒั นธรรมเพอ่ื กำรแปล 31 บทนำ 33 ภำษำและวฒั นธรรมกับกำรแปล 42 ลกั ษณะทำงภำษำไทยและภำษำเขมร 47 กำรถำ่ ยถอดตวั อกั ษรเพื่อกำรแปล 64 สิ่งทดแทนทำงวัฒนธรรมกับกำรแปล บทสรปุ 65 บทที่ 3 ไวยำกรณก์ ับกำรแปล 65 บทนำ 87 ชนิดของคำกับกำรแปล 88 ประโยคกบั กำรแปล 91 กำรวเิ ครำะห์โครงสร้ำงประโยคเพอื่ กำรแปล 93 กำรวิเครำะหค์ วำมหมำยของประโยคเพ่อื กำรแปล 95 ระดบั ภำษำกับกำรแปล บทสรุป ~ค~

บทท่ี 4 กำรปรับบทแปลภำษำเขมร 97 บทนำ 97 ควำมมงุ่ หมำยของกำรปรบั บทแปล 98 ขอ้ ควรพิจำรณำในกำรปรับบทแปล 99 ระดับของกำรปรับภำษำ 104 คณุ ภำพของกำรปรับบทแปล 104 บทสรุป 107 บทที่ 5 กำรแปลขำ่ ว 107 บทนำ 108 วธิ ีกำรแปลขำ่ ว 121 กำรแปลข่ำวหนงั สือพมิ พ์ 123 กำรแปลข่ำวในส่อื อิเล็กทรอนิกส์ 135 กำรแปลขำ่ ววิทยกุ ระจำยเสียงและวิทยโุ ทรทัศน์ บทสรปุ 137 137 บทที่ 6 กำรแปลงำนทำงวชิ ำกำร 138 บทนำ 140 ลักษณะของงำนวชิ ำกำร 147 กำรแปลงำนวชิ ำกำร 175 กำรแปลงำนแวดวงวิชำกำร เอกสำรทำงรำชกำร 177 บทสรุป 177 183 บทที่ 7 กำรแปลวรรณกรรม 185 บทนำ 185 ลกั ษณะวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมเขมร 201 หลกั กำรแปลวรรณกรรม กำรแปลวรรณกรรมเขมรและไทย กำรแปลวรรณกรรมร้อยแก้ว กำรแปลวรรณกรรมประเภทร้อยกรอง ~ง~

หรอื กวนี พิ นธ์ งำนแปลวรรณกรรมที่ดี 211 บทสรุป 212 บทที่ 8 กำรแปลงำนธรุ กจิ บทนำ 213 ลักษณะกำรแปลงำนธรุ กจิ 213 กำรแปลเอกสำรทำงธรุ กจิ 215 กำรแปลงำนโฆษณำทำงธุรกิจ 224 บทสรปุ 231 บทท่ี 9 กำรแปลแบบล่ำม บทนำ 233 ควำมหมำยของกำรแปลแบบลำ่ ม 233 ประเภทของกำรแปลแบบล่ำม 234 กระบวนกำรแปลแบบลำ่ ม 242 กำรแปลแบบลำ่ มภำษำเขมร 243 กำรฝกึ ฝนเพอื่ เปน็ ลำ่ มภำษำเขมร 250 ล่ำมภำษำเขมรกับอำชีพ 251 จรรยำบรรณของลำ่ ม 252 บทสรปุ 253 บทที่ 10 ปัญหำและกลวิธกี ำรแก้ปญั หำกำรแปลภำษำเขมร บทนำ 255 ปญั หำและกลวิธกี ำรแกป้ ญั หำกำรแปลในระดับคำ 255 ปัญหำและกลวิธีกำรแกป้ ญั หำกำรแปลระดบั 263 โครงสร้ำงทำงภำษำ ปญั หำและกลวธิ ีกำรแปลคำหลำยนัยและสำนวน 268 บทสรุป 273 บรรณำนกุ รม 275 ~จ~

สำรบญั ภำพ หน้ำ 12 ภำพที่ 1 ตวั อย่ำงหนังสอื แปลจำกภำษำเขมรเป็นภำษำไทย 12 ภำพที่ 2 แผนภมู ิแสดงแบบจำลองกระบวนกำรแปล 21 ภำพที่ 3 แผนภูมิกำรแปลเนน้ คำ/รปู แบบ 22 ภำพที่ 4 แผนภมู กิ ำรแปลเนน้ คำ/รปู แบบ 27 ภำพที่ 5 แสดงตวั อยำ่ งพจนำนุกรมสองภำษำ 28 ภำพที่ 6 เวปไซต์แปลออนไลน์ 110 ภำพที่ 7 แสดงกำรพำดหวั ข่ำวหนงั สือพิมพไ์ ทย 110 ภำพท่ี 8 แสดงกำรพำดหวั ขำ่ วหนังสือพิมพก์ มั พูชำ 111 ภำพที่ 9 แสดงภำษำพำดหัวขำ่ วหนงั สือพิมพไ์ ทย 112 ภำพที่ 10 แสดงภำษำพำดหวั ขำ่ วหนังสือพมิ พ์ไทย 112 ภำพท่ี 11 แสดงภำษำพำดขำ่ วหนงั สือพมิ พไ์ ทย 113 ภำพที่ 12 แสดงกำรพำดขำ่ วหนงั สอื พมิ พ์ไทย 114 ภำพท่ี 13 แสดงภำษำพำดหวั ข่ำวหนังสอื พิมพ์ไทย 115 ภำพที่ 14 แสดงภำษำหวั ขำ่ วหนังสอื พิมพก์ มั พูชำ 116 ภำพที่ 15 แสดงภำษำหวั ข่ำวหนงั สือพมิ พ์กมั พูชำ 117 ภำพท่ี 16 แสดงภำษำขำ่ วนำหนังสือพมิ พ์ไทย 118 ภำพที่ 17 แสดงภำษำขำ่ วนำหนงั สอื พมิ พก์ ัมพชู ำ 119 ภำพท่ี 18 แสดงเน้ือขำ่ วหนงั สอื พมิ พ์ไทย 120 ภำพท่ี 19 เน้ือขำ่ วหนงั สือพมิ พ์กัมพชู ำ 122 ภำพที่ 20 แสดงขำ่ วหนงั สือพมิ พ์ไทยในสอ่ื เลก็ ทรอนิกส์ 122 ภำพท่ี 21 แสดงขำ่ วหนงั สอื พมิ พ์กมั พูชำในสอ่ื เล็กทรอนกิ ส์ 131 ภำพที่ 22 แสดงกำรนำเสนอหัวข้อขำ่ ว 132 ภำพท่ี 23 แสดงกำรนำเสนอเน้อื ข่ำว 142 ภำพที่ 24 แสดงเนอ้ื หำรำยวชิ ำฟสิ ิกส์ 144 ภำพท่ี 25 งำนวชิ ำกำรด้ำนมนษุ ยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ 146 ภำพที่ 26 แสดงงำนวชิ ำกำรด้ำนวทิ ยำศำสตร์สขุ ภำพ ~ฉ~

ภำพท่ี 27 แสดงงำนวชิ ำกำรด้ำนวทิ ยำศำสตร์สุขภำพ 150 ภำพท่ี 28 ตัวอยำ่ งพระรำชบัญญตั ิ 153 ภำพท่ี 29 ตัวอยำ่ งกำรในสว่ นตน้ ของพระรำชกำหนด 156 ภำพที่ 30 หนงั สอื แนะนำสำรบรรณของหนว่ ยงำน 157 ภำพท่ี 31 ตัวอยำ่ งกำรอธบิ ำยกำรเขียนหนงั สือรำชกำร 158 ภำพท่ี 32 ตัวอยำ่ งรำชกำรของกระทรวงแรแ่ ละพลังงำน 159 ภำพท่ี 33 ตวั อยำ่ งรำชกำรของกระทรวงแร่และพลังงำน 159 ภำพท่ี 34 ตวั อยำ่ งแบบฟอร์หนงั สือรำชกำรไทย 164 ภำพท่ี 35 ตัวอยำ่ งใบเสร็จรับเงินภำษำเขมร 217 ภำพที่ 36 ตวั อยำ่ งใบเสรจ็ รบั เงนิ ภำษำไทย 218 ภำพที่ 37 ตัวอยำ่ งภำษำเขมรในธุรกจิ ประกันภยั 222 ในประเทศกมั พูชำ 223 ภำพที่ 38 ตวั อยำ่ งภำษำไทยในธุรกิจประกนั ภัย 227 ภำพท่ี 39 ปำ้ ยประชำสมั พนั ธเ์ ครอื ขำ่ ยโทรศพั ท์มอื ถือ 227 ภำพที่ 40 ปำ้ ยประชำสัมพันธเ์ ครอื ข่ำยโทรศพั ท์ 228 ภำพที่ 41 ปำ้ ยประชำสัมพันธส์ ำยกำรบิน 228 ภำพที่ 42 ป้ำยประชำสัมพันธเ์ ครื่องดืม่ 229 ภำพที่ 43 ป้ำยประชำสัมพันธ์เครือ่ งดื่ม 229 ภำพท่ี 44 ป้ำยประชำสมั พนั ธ์สำยกำรบิน 230 ภำพท่ี 45 ปำ้ ยประชำสมั พนั ธเ์ ครอื ข่ำยโทรศพั ท์ 234 ภำพท่ี 46 ตูล้ ำ่ มและเคร่ืองโสตทศั นปู กรณ์ 236 ภำพท่ี 47 ภำพแสดงลำ่ มตดิ ตำมตัวผ้นู ำไทยเจรจำ 237 กับผ้นู ำกมั พูชำ 237 ภำพที่ 48 แสดงกำรเปน็ ลำ่ มกระซิบ 239 ภำพที่ 49 แสดงกำรเปน็ ลำ่ มกระซิบ 239 ภำพที่ 50 แสดงกำรเป็นลำ่ มสลบั 240 ภำพที่ 51 แสดงกำรเป็นลำ่ มสลบั ภำพที่ 51 แสดงกำรเป็นลำ่ มสลบั ~ช~

ภำพท่ี 52 แสดงกำรเป็นลำ่ มก่งึ เอกสำร 241 ภำพที่ 53 แสดงกำรเป็นลำ่ มก่งึ เอกสำร 241 ภำพท่ี 54 สัทอกั ษรสำกลแสดงเสยี งสระ 244 ภำพท่ี 55 สระเด่ยี วภำษำเขมรและไทย 245 ภำพที่ 56 เสียงสระประสมเขมรและไทย 245 ~ซ~

-1- บทท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกบั การแปล บทนา ภาษาถอื วา่ เปน็ สิง่ จาเป็นในยุคโลกาภวิ ตั น์ เพราะมนษุ ยท์ กุ คน ในโลกนี้ล้วนใช้ภาษาในการส่อื สารกัน นอกจากจะใชภ้ าษาในการส่ือสาร ในกลมุ่ ที่ใช้ภาษาเดียวกันแล้ว มนษุ ยย์ ังมีความต้องการสื่อสารกับกลมุ่ ท่ี ใชภ้ าษาแตกตา่ งกัน ความสามารถในการใช้ภาษาท้ังภาษาแม่และภาษา อืน่ อย่างดีย่อมส่งผลให้การประกอบกจิ การงานต่าง ๆ ประสบผลสาเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงค์ อย่างไรกต็ ามข้อจากัดที่ไม่อาจหลีกเล่ียงได้ของมนุษย์ น้ันก็คือทุกคนไม่สามารถรู้และเช่ียวชาญภาษานอกจากภาษาตนเองได้ ครบทุกภาษา กลา่ วคอื ทกุ คนไม่สามารถรู้ เขา้ ใจ และเช่ียวชาญภาษาอ่ืน เทา่ กับภาษาแม่หรือภาษาที่ตนใช้มาต้ังแต่เกดิ ในขณะท่ีวิทยาการในยุค ปัจจบุ นั มีววิ ฒั นาการเจริญกา้ วหน้ามากยิง่ ขนึ้ วิทยาการบางอย่างเกดิ ขึ้น ในแหล่งท่ีมกี ารใช้ภาษาและวฒั นธรรมแตกต่างจากภาษาและวัฒนธรรม ของตน จงึ จาเป็นทจ่ี ะตอ้ งเรียนรู้และทาความเข้าใจภาษาและวฒั นธรรม จากแหล่งท่ีเกิดของวิทยาการเหล่าน้ัน เพื่อนาองค์ความรู้นั้น ๆ มาใชใ้ น สงั คมของตนไดอ้ ยา่ งถูกต้อง การแปลภาษาจึงเป็นปจั จัยหนึ่งสาคัญท่จี ะช่วยใหค้ นตา่ งภาษา และวัฒนธรรมเข้าใจภาษาอื่นที่ไม่ใช้ภาษาของตนเองได้ การแปลเป็น กระบวนการการถ่ายทอดความหมายของภาษาทั้งที่เป็นความต้องการ ความรู้ ความรู้สกึ และประสบการณจ์ ากภาษาหน่ึงไปอีกภาษาหนง่ึ หาก มีการถา่ ยทอดภาษาที่ไม่ สละสลวย เที่ยงตรง ชดั เจน ไม่ผิดเพ้ยี นแล้วยิง่ จะช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจภาษาของคนในโลกน้ีที่ใช้ภาษาต่างกัน ออกไปไดอ้ ยา่ งดี ดังน้ันการแปลภาษาจงึ ประกอบไปด้วยศาสตร์และศลิ ป์ ทุกครั้งท่ีเรยี นรู้เกี่ยวกับสิง่ ใด ส่ิงท่ีจาเป็นจะต้องเรียนรู้เป็นพื้นฐานก็คือ ความหมาย ประวัติความเป็นมา และแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการแปล เป็นต้น จึงจะทาให้สามารถปฏิบัติการแปลได้อย่างมีประสิทธิภาพใน โอกาสตอ่ ไป

-2- ความหมายของการแปล พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายไว้ว่า “การแปล หมายถึง การถา่ ยความหมายจากภาษาหนึ่ง มาเป็นอีกภาษาหนึ่ง, ทาให้เข้าใจความหมาย” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2545 : 718) นักวิชาการด้านการแปลซ่ึงนักวิชาการให้คานิยามคาศัพท์ไว้ หลายท่าน เช่น จากัดความของการแปลของ เจ ซี แคทฟอร์ด (J.C. Catford) ซ่ึงแปลโดยปราณี บานชื่น (ดวงตา สุพล, 2531 : 4 อ้างใน ปราณี บานช่ืน, 2528 : 2) ไว้ว่า “การแปลเป็นกระบวนการที่ทาต่อ ภาษา กล่าวคือ เป็นกระบวนการท่ีเอาถ้อยความท่ีเขียนด้วยภาษาหน่ึง ไปแทนท่ีถ้อยความทเ่ี ขยี นดว้ ยอกี ภาษาหนึง่ ” ยจู นี ไนดา นักทฤษฎกี าร แปลชาวอเมริกัน นิยามไว้ว่า “การแปลเป็นเรื่องของการถ่ายทอด ความหมาย (m eaning) และการถ่ายทอดรูปแบบของการเสนอ ความหมาย (form) ของข้อความในภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหน่งึ (Nida, 1994 อา้ งใน สัญฉวี สายบวั , 2542 : 1) และสัญฉวี สายบวั (2542 : 1) ได้นิยามไว้ว่า “การแปลเป็นเร่ืองของการถ่ายทอดความหมายของบท ต้นฉบับลงสู่บทท่ีเป็นฉบับแปล ความหมายจึงเป็นเป้าหมายสาคัญ สาหรับผู้แปลทจ่ี ะต้องเก็บใหไ้ ดจ้ ากต้นฉบับและเปน็ สง่ิ ที่สาคัญประการ หนึ่งในการกาหนดคุณภาพงานแปล กล่าวคืองานแปลท่ีสามารถคง ความหมายของต้นฉบับไว้ไดค้ รบถ้วนและเที่ยงตรงย่อมนับวา่ เป็นงานที่ ด”ี สรปุ นิยามคาศัพท์โดยสังเคราะห์จากการให้นิยามความหมาย ดังที่ได้กล่าวมาแลว้ ไดว้ ่า การแปล หมายถึง การถา่ ยทอดความหมาย จากภาษาหนง่ึ ไปอกี ภาษาหนง่ึ โดยให้มีความหมายเทา่ กัน หรอื ใกลเ้ คียง กับภาษาตน้ ฉบับมากท่สี ดุ พัฒนาการการแปลภาษา การแปลภาษาไม่มีใครสามารถบอกได้ชดั เจนวา่ เกิดขึ้นครั้งแรก เม่อื ใด ใครเปน็ คนแปลคนแรก แต่อาศยั การศึกษาจากหลักฐานทัง้ ท่ีเป็น

-3- เอกสารโบราณ จารกึ และการบันทกึ เร่ืองราวต่าง ๆ ทาให้สามารถทราบ ถึงพัฒนาการของการแปลภาษาของมนุษย์จากการแพร่กระจายทาง วัฒนธรรมของคนกลุ่มหนึ่งไปอีกกลุ่มคนหน่ึงแล้ว และทาให้ทราบถึง ความสามารถในการแปลภาษาของกลมุ่ คนต่าง ๆ ในโลกนี้ได้ พฒั นาการของการแปลโดยยึดตามกลุ่มวัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1. พัฒนาการแปลภาษาของกลุ่มวัฒนธรรมตะวนั ตก 2. พฒั นาการการแปลของกล่มุ วัฒนธรรมตะวันออก พัฒนาการการแปลของกลุ่มวัฒนธรรมทั้ง 2 กลุ่มนี้มีลักษณะ ท้งั เหมือนและแตกต่างกนั ดังมีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1. พัฒนาการการแปลภาษาของกล่มุ วฒั นธรรมตะวันตก พัฒนาการการแปลภาษากลุ่มประเทศตะวันตก ปีเตอร์ นิว มาร์ค (Peter Newmark) ได้กล่าวถึงการเรม่ิ ต้นของการแปลไว้ว่า การ แปลเร่ิมมีต้ังแต่ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ตรงกับยุคสมัยของอาณาจักร เก่าของอียิปต์ (Peter Newmark, 1981 อ้างใน ดวงดา สุพล, 2531 : 1) ศูนย์กลางท่ีเจริญรุ่งเรืองของซีกโลกตะวนั ตกในสมัยก่อน หลักฐานที่ กล่าววา่ มีการแปลในระยะแรกกค็ ือ การแปลภาษากรีกเป็นภาษาละติน โดย ละวิอัส แอนโดรนิกัส แปลมหากาพย์ “โอดิซิอัส” ร้อยกรองกรีก เป็นภาษาละตินเมอ่ื ปี พ.ศ. 300 (ส.ศิวรักษ์, 2510) หลงั จากนน้ั ชาวโรมนั กร็ บั อิทธิพลทางศาสนาและอารยธรรม กรีก มีการแปลศิลปะวิทยาการจากภาษากรีกเป็นภาษาละติน โดยชาว โรมันเป็นผู้แปล ตัวอย่างเช่น แคททัลลัส (Catullus) และซิเซโร (Cicero) เป็นต้น ในระยะหลังราวพุทธศตวรรษท่ี 13 - 14 เมื่อพวก อาหรับเจริญรุ่งเรืองขึ้น ปรากฏว่ามีผู้แปลผลงานด้านปรัชญาของ อริสโตเติล (Aristotle) และเพลโต (Plato) งานทางการแพทย์ของกา เล็น (Gallen) และฮิปโปเครตีส (Hippocrates) และงานทาง ประวัติศาสตร์ของเฮโรโดตุส (Herodotus) ออกมาเป็นภาษาอาหรับ (เชวง จันทรเขตต์, 2528 : 5) ยุคน้ืถือว่ากรุงแบกแดด (Baghdad) เป็น ศนู ย์กลางของการแปลหนังสือทใี่ หญท่ ่สี ุด

-4- ในราวพุทธศตวรรษท่ี 17-18 ได้เกิดศูนย์การแปลแห่งโทเล โด (Toledo) ในสเปนมีการแปลผลงานทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ และปรัชญา จากภาษาอาหรับเป็นภาษาสเปน และมีการแปลงสืบทอด ออกไปเป็นภาษาอ่ืน ๆ อีกหลายภาษา นับแต่น้ันมาการแปลก็ เจริญกา้ วหน้ามาเร่อื ย ๆ จนถึงคริสตศ์ ตวรรษที่ 20 ซ่ึงถือว่าเป็นยุคของ การแปล (อจั ฉรา ไลส่ ัตรูไกล, 2550 : 5) แต่ปัญหาท่เี กดิ ขึ้นหลังจากการ แปลภาษามีจานวนมากและเจริญมากยิ่งข้ึน ก็คือ การแปลไม่ตรงกับ ต้นฉบับ มีการต้ังข้อสังเกตและมีการจุดตั้งหน่วยงานดูแลและควบคุม การแปลให้เป็นมาตรฐาน เช่น ในประเทศฝรงั่ เศสได้จัดตั้ง Academie Francaise หรือบัณฑิตยสถานแห่งฝร่ังเศส ซึ่งตั้งข้ึนในปี ค.ศ.1635 (อจั ฉรา ไล่ศัตรไู กล, 2550 : 6) ความสาคัญของการแปลในซีกโลกตะวันตกอีกอย่างหน่ึงก็ คือ การแปลคัมภีรท์ างด้านศาสนาเพ่ือประโยชน์ในการเผยแพร่ศาสนา เมื่อศาสนาคริสต์มีการเผยแพร่จากประเทศหน่ึงไปสู่ประเทศหน่ึง การ แปลพระคัมภีร์ไบเบิ้ล ทม่ี ชี ่ือเสยี งคือการแปลพระคมั ภรี ใ์ หม่ (The New Testament) ของ เซนต์ เจอโรม (St.Jerome) ภายใต้สันตะปาปา ดา มาซุส ในปี ค.ศ.384 (มณีรัตน์ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา, 2548 : 17-18) สาหรับการแปลพระคัมภีร์ไบเบิ้ลเป็นภาษาอังกฤษน้ัน โดยจอห์น ไวค ลิฟไฟต์ (John Wycliffite) เป็นผู้เริ่มก่อนที่ประเทศอังกฤษ ต่อเมื่อมี การก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนท์ขึ้นท่ีเยอรมันการแปลคัมภีร์ (เชวง จันทร เขตต,์ 2528 : 6) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการแปลมีพัฒนาการมาตามลาดับ ตั้งแต่ การใช้ความจาคาศพั ท์ พฒั นามาเป็นใช้พจนานกุ รมเปน็ เครือ่ งมือชว่ ยใน การแปล เมื่อก้าวมาสู่ยุคปัจจุบนั การแปลเริ่มใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่อื งมือ ประยุกต์ในการแปล (machine translation) พรอ้ มกบั การศกึ ษาวิธีการ แปลในหลากหลายรูปแบบ มีการศึกษาเกี่ยวกับการแปล สร้างแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการแปล และมองการแปลเป็นพหุสาขา กลายเป็นสาขา หนงึ่ ทส่ี ามารถเรยี นรูใ้ นเชิงทฤษฎแี ละวิจยั ได้

-5- 2. พัฒนาการการแปลภาษาของกลมุ่ วัฒนธรรมตะวันออก พัฒนาการการแปลภาษาในโลกตะวันออก อาศัยหลักฐาน การบันทึกด้วยตัวอักษรต่าง ๆ ซ่ึงมีพัฒนาการมาโดยลาดับของอักษร อินเดีย ได้แก่ อักษรพราหมี ขโรษฐี ปัลลวะ และเทวนาครี เป็นต้น อกั ษรเหล่าน้ีบันทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีเกดิ จากการสร้างสรรค์ผลงานและ การแปลภาษานักปราชญ์ชาวอินเดีย อย่างไรก็ตามแม้อักษรดังกล่าวแม้ จะเปน็ อักษรของชาวอินเดยี พัฒนาข้ึน แต่ ยอร์ช เซเดส์ นักปราชญ์ชาว ฝร่ังเศสท่ีเคยมาทางานในประเทศไทยและเป็นผ้เู ช่ยี วชาญทางด้านศิลา จารึกและอักขรวิทยาเอเชียอาคเนย์ มีความเห็นว่า “อกั ษรที่เรียกช่อื ว่า พราหมี อักษรชนดิ นแี้ ม้วา่ พวกพราหมณ์เป็นผ้คู ดิ แบบขนึ้ ก็จริง แต่อักษร พราหมีก็ไม่ใช่เป็นอักษรอนิ เดียแท้ทีเดียว พราหมณ์ได้แบบอยา่ งมาจาก อักษรเฟนิเซียนของพวกเฟนเิ ซียนมีภูมิลาเนาอยู่ท่ีแถบทะเลเมดิเตอร์เร เนียนตะวันออก การติดต่อส่ือสารกับของชาวเฟนิเซียนกับชาวอินเดีย โบราณ น่าจะใช้เกิดการแปลภาษาแล้วมีการพัฒนาอักษรเพ่ือบันทึก ถอ้ ยคาและความหมายเพือ่ การสื่อสารกนั ในสมัยนั้น การแปลภาษาในซีกโลกตะวันออก มีหลักฐานปรากฏตาม ศิลาจารึก ใบลาน และเอกสารโบราณ ส่วนใหญ่เป็นการแปลคาสอน ทางด้านศาสนา เชน่ การแปลภาษาบาลีเปน็ ภาษาไทย การแปลภาษา สนั สกฤตเป็นภาษาจนี และภาษาอน่ื ๆ ในกลุ่มประเทศท่ีนับถือศาสนา ด้วยกัน อาเธอร์ วาเลย์ (อ้างในเชวง จันทรเขตต์, 2528) ได้กล่าวไว้ว่า การแปลในยุคแรกอาจมีสานวนไม่ชัดเจนนัก เนื่องจากพระอินเดียมี ความรจู้ นี ไมด่ พี อ ส่วนพฒั นาการการแปลในประเทศไทยซึ่งแปลจากภาษาอื่น เป็นภาษาไทยตามหลักฐานเร่ิมมีมาตั้งแต่ปลายสมัยสุโขทัยและมี จุดประสงค์ของการแปลเพื่อการศาสนา โดยแปลคัมภรี ์พระพุทธศาสนา จากภาษาบาลี ดังเช่นจารึกวัดป่ามะม่วงท่ีมีทั้งคาจารึกภาษาเขมร ภาษาไทย และภาษาบาลี คาจารึกภาษาเขมรกับคาจารึกภาษาไทยมี เน้อื ความอย่างเดยี วกนั จามแี ตกตา่ งกนั เพียงเลก็ น้อย ในสมัยอยุธยาหลักฐานท่ีสะท้อนให้เห็นว่ามีการแปลก็คือ มหาชาติคาหลวง ซ่ึงสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงโปรดฯ ให้ราช

-6- บัณฑิตแปลและแต่งข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2025 ในยุคโบราณของไทยส่วนใหญ่ เป็นการแปลภาษาบาลี สันสกฤต และเขมรเปน็ ภาษาไทย ต่อมาในสมัย รัตนโกสินทร์ ได้มีการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยด้วยเหตุผล ทางศาสนาเชน่ เดยี วกนั ดงั เช่นศาสนาครสิ ต์แม้จะมกี ารเขา้ มาเผยแพร่ใน สมัยกรุงศรีอยุธยา คือในราวปี พ.ศ. 2110 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระ มหาธรรมราชา ประมาณ พ.ศ. 2127 โดยนิกายแรกที่เข้ามาเผยแพร่คือ นิกายโรมันคาทอลิก ซง่ึ มที ้ังคณะดอมินกิ ัน คณะฟรนั ซสิ กัน และคณะเย สุอิต บาทหลวงส่วนมากมาจากโปรตุเกส ระยะแรกท่ียังถูกปิดก้ันทาง ศาสนา มิชชันนารีจึงเน้นการดูแลกลุ่มคนชาติเดียวกัน (เสรี พงศ์พิศ, 2531) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประเทศไทยได้มี สมั พนั ธภาพอนั ดีกบั ฝร่งั เศส ตรงกบั รชั สมยั พระเจา้ หลุยสท์ ี่ 14 มีจานวน บาทหลวงเขา้ มาเผยแพร่ศาสนามากขน้ึ และสงั คมสงเคราะห์ มีการจัดตั้ง โรงพยาบาล ด้านศาสนา มีการตั้งเซมินารีคริสตัง เพ่ือผลิตนักบวช พ้นื เมือง (เสรี พงศพ์ ศิ , 2331) การแปลคัมภีร์ศาสนาน้ันเป็นการแปลอย่างไม่เป็นทางการ เน่ืองจากในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว ศาสนาคริสต์ไม่ได้ รับความสะดวกในการเผยแพรศ่ าสนา เพราะถูกจากัดขอบเขต ถูกห้าม ประกาศศาสนา ถูกห้ามเขียนหนังสือศาสนาเป็นภาษาไทย และภาษา บาลี ในสมัยอยุธยาตอนปลาย บาทหลวงถูกย่ายี โบสถ์ถูกทาลาย มชิ ชนั นารที ั้งหลายรบี หนีออกนอกประเทศ (สะอาด ไชยวณั ณ์, 2519) ต่อมาในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ชาวคริสต์อพยพเข้ามา มากข้ึน ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ 3 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ แปลคัมภีร์ศาสนาเป็นภาษาไทย และในรัชกาลท่ี 4 ทรงเปิดเสรีในการ นับถือศาสนา และทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาให้ทุกคนมีสิทธิในการ นับถือศาสนา ในรัชกาลท่ี 5 ทรงรับรองมิสซังโรมันคาทอลิกเป็นนิติ บุคคล ด้านสังคมสงเคราะห์ในรัชสมัยนี้ พระราชทานเงินทุนในการ ก่อสร้างโรงเรียน เกิดโรงเรียนอัสสัมชัญ ในพ.ศ. 2420 ภายหลังเกิด โรงเรียนอีกหลายแห่ง เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โรงเรียน

-7- เซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ และโรงเรียนพยาบาลเซนต์หลุยส์ (เสรี พงศ์พิศ, 2331) ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ที่แปลจาก ภาษาตา่ งประเทศหลายฉลยั ตอ่ มาในสมยั รชั กาลท่ี 6 ถอื วา่ เปน็ ยุคเฟ่อื ง ฟูของการแปลวรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ได้มีการแปลวรรณกรรม ตา่ ง ๆ เป็นจานวนมากท้ังท่ีเป็นนวนิยายและบทละคร ในชว่ งปลายสมัย รัชกาลท่ี 6 จนถึงสมัยเปล่ียนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 7 มี วรรณกรรมแปลจากภาษาอังกฤษทีไ่ ด้รบั การยกย่อง คือ วรรณกรรมทาง ศาสนาเรื่อง กามนิต ซ่ึงเสฐียรโกเศศและนาคะประทีปเป็นผู้แปลจาก ต้นฉบับภาษาองั กฤษช่ือ The Pilgrim of Kama-nita ต่อมาในช่วงกอ่ น และหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 มีการพิมพ์หนังสือแปลน้อยมาก เพราะ เป็นยุคเศรษฐกิจตกตา่ ทัว่ โลก 3. พฒั นาการการแปลภาษาไทย-เขมร และเขมร-ไทย นอกจากพฒั นาการการแปลของกลุ่มวัฒนธรรมตะวันตกและ ตะวันออกดังกล่าวข้างต้น ยังพบหลักฐานที่แสดงถึงพัฒนาการการ แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรและภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ดงั ต่อไปน้ี การแปลภาษาจากภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและภาษาเขมร เป็นภาษาไทยมีมาต้ังแต่ก่อนสุโขทัย พอมาถึงสมัยสุโขทัยและกรุงศรี อยุธยาตอนต้น ภาษาและวรรณกรรมเขมรนา่ อย่ใู นราชสานกั และศาสนา พบหลักฐานที่เป็นวรรณกรรมประเภทจารึกทั้งในสุโขทัยและอยุธยาซ่ึง แสดงใหเ้ ห็นถึงร่องรอยของการศึกษาภาษาและวรรณกรรมเขมรโบราณ ในเวลาน้ัน ดังเช่น ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร (ศลิ าจารกึ หลักท่ี 4) ตอนหนึ่งกล่าวถึงพระราชประวตั ิการขนึ้ ครองราชย์ของพระมหาธรรม ราชาท่ี 1 (พญาลไิ ท) การสร้างเทวรูปในหอเทวาลัยมหาเกษตร และการ ผนวชท่วี ัดป่ามะมว่ งของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) ภาษาเขมร ท่ีใช้ในจารึกหลักน้ีเป็นภาษาเขมรโบราณ ในสมัยเมืองพระนคร ต้ังแต่ พุทธศตวรรษท่ี 15-20 และน่าจะเป็นจารึกหลักเดียวในสมัยสุโขทัยท่ีใช้ ภาษาเขมรโบราณในการจารึก

-8- วรรณกรรมเขมรและไทยหลายเรื่องถูกแปลเป็นภาษาไทย และภาษาเขมร กระบวนการแปลภาษาจากวรรณกรรมทั้งเป็นไทยและ เป็นเขมรจะปรากฏร่องรอยทางภาษาไว้ให้เห็นเสมอ อาทิเช่น คาฉันท์ กล่อมชา้ ง ครัง้ กรงุ เกา่ บอกท่ีมาของเรอ่ื งไวว้ า่ “... ๐ แกก้ ลอนกมั พชุ ภาษา แจงแจง้ เอามา เปนสยามพากยพไิ สย ฯ ...” (//vajirayana.org/ดษุ ฎสี ังเวย เข้าถึงเมื่อ 15 มีนาคม 2562) หลักฐานดังกล่าวทาให้อาจสันนิษฐานได้ว่ามีการแปลภาษา เขมรเป็นภาษาไทยหรือภาษาไทยเป็นภาษาเขมรมานานแล้ว และ ข้อความในวรรณกรรมเรื่องคาฉันท์ดษุ ฎีสังเวยบางสว่ นทเ่ี ป็นภาษาเขมร มาแต่เดมิ ซ่ึงสามารถสันนษิ ฐานไดว้ า่ แตง่ เปน็ ภาษาเขมรลว้ นท้งั ลกั ษณะ คาประพันธ์ท่ีปรากฏก็เป็นคาประพันธ์ของเขมร ซึ่งไม่ใช่เป็นการแปล เพียงเน้ือหาสาระแต่มีการนาเอารูปแบบของภาษาและคาประพันธ์มา ด้วย ดังเช่นในบทอินทรวิเชียรฉันท์ ตอนหนึ่งของคาฉันท์ดุษฎีสังเวย กล่อมช้าง ของขนุ เทพกระวี เมืองสโุ ขทัย ตอนหน่ึงวา่ “... ๐ มานกาลวงิ แปร รูปกุมารมายา รโู ปตคณา โสดกมุ บเิ ดิรพรลบ อาจเดิรดาเนิรนกั กุมบิเดริ บเิ จรญิ จบ อาจเถวอบินกั สยบ กดมุ บิยอกจรลิฮอง ตรกเบญิ ดจราลกมึ ดทกึ วิทกึ ผอง มหาโพยมกนั ลอง ดศรีรไถงถา ฯ ...” (//vajirayana.org/ดษุ ฎีสังเวย

-9- เข้าถงึ เมอื่ 15 มีนาคม 2562) ตัวอย่างท่ีข้างบนน้ีแสดงให้เห็นว่ามีการแปลภาษาเขมรเป็น ภาษาไทยจากวรรณกรรมและใช้คาเขมรเป็นสว่ นใหญ่ บางวรรคเป็นคา เขมรท้ังหมด ด้วยความแตกต่างยุคสมัยและการเปล่ียนแปลงการใช้ ภาษาของคนไทย คนไทยจึงไม่สามารถเข้าใจคาเขมรท่ีปรากฏใน วรรณคดีดังกล่าวน้ีได้ จาเป็นต้องอาศัยพจนานุกรมหรือผู้รู้ภาษาเขมร เป็นผู้แปลอีกชั้นหน่ึง จึงจะสามารถเข้าใจได้ ไม่เพียงแค่นั้น การ แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรกป็ รากฏมเี ชน่ เดยี วกัน เชน่ เรอ่ื ง หงสย์ นต์ (ហង្សយន្)ត ความตอน หน่งึ เปน็ บทพรหมคีติว่า ตน้ ฉบับ “… ទ បើ ខ្ញុនំ ្ឹង្ស្រង្ស់ ្ាល់ ស្ាយអរ់អាថប៌ ្ស្បពាក្យពី ទរៀមប ស្ាក្ដ ី ជាពាក្យប្ខែរវញិ ទោង្ណា។ …” ฉบับแปล (អឹម-ភន្, ១៩៥៩ : ៣) ข้าพเจา้ จึงจะเลือกสรร บทกวีทั้งนั้นแปลภาษา จากสยามบทปรากฏว่า เปน็ ภาษาเขมรนั้นแล ตวั อย่างขา้ งตน้ นี้แสดงใหเ้ หน็ ถึงการแปลภาษาเขมรเปน็ ภาษา หรือแปลภาษาไทยเป็นภาษาไทย ปจั จุบันการแปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและการแปลภาษา เขมรเป็นภาษาไทยมีความสาคัญมาก เพราะไทยกับกัมพูชามีการ ติดต่อกันในหลายด้าน ทุกครั้งท่ีมีการติดต่อซึ่งกันและกันจะต้องมีการ แปลภาษาท้ังด้านเอกสาร การล่าม แปลบทโทรทัศน์ และการแปลเพ่ือ ธุรกิจอนื่ ๆ นอกจากน้ียังปรากฏวา่ มีการแปลเอกสารเพื่อการศึกษาท้งั ท่ี เป็นเอกสารโบราณ วรรณกรรม และงานวิชาการ ควบคู่กบั การเปิดการ เรียนการสอนภาษาเขมรในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทย อาทิเช่น

-10- มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นต้น จึงส่งผลให้มีงาน แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ดังมีรายละเอียดเรียงลาดับตามปีที่แปล และเผยแพร่ตอ่ ไปนี้ 1. พ.ศ. 2528 แกว้ อสิ ระ แปลเรอื่ ง คุกการเมอื ง บันทกึ ของ ผ้แู สวงหาอสิ รภาพชาวเขมร เผยแพรโ่ ดย โครงการแปลวรรณกรรมเพอื่ น บา้ น มลู นธิ ิเสฐียรโกศศ-นาคประทีป 2. พ.ศ. 2530 อาไพ คาโท แปลเรอ่ื ง ไตรภมู ฉิ บบั ภาษาเขมร แปลโดย อาไพ คาโท เผยแพร่โดยสานักหอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร 3. พ.ศ. 2540 อุไรศรี วรศะริน และคณะ แปลเรื่อง กุหลาบ ไพลนิ แตง่ โดย ญกุ แถม ในปีเดียวกันน้ี ประยูร ทรงศิลป์ ได้แปลเร่ือง ประชุมเร่ือง ตานานและนิทานพน้ื บา้ นเขมร ภาคที่ 1-9 ซ่งึ รวบรวมและเรียบเรียงโดย สถาบันพุทธศาสนบัณฑิตย์แห่งประเทศกัมพูชา จัดพิมพ์เผยแพร่โดย ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏ ธนบรุ ี 4. พ.ศ. 2545 ประยูร ทรงศิลป์ แปลเร่ือง นิทานพื้นบ้าน เขมร ภาคที่ 1 เผยแพร่โดย สานักพมิ พ์ชมรมเดก็ 5. พ.ศ. 2546 ประยูร ทรงศิลป์ แปลเรื่อง นิทานพื้นบ้าน เขมร ชุดตัดสนิ คดี เผยแพร่โดยสานักพิมพ์ชมรมเดก็ 6. พ.ศ. 2548 ภูมิจิต เรืองเดช แปลหนังสือจานวน 5 เร่ือง ไดแ้ ก่ เร่ือง จิตวิญญาณมารดาธิปไตย ในสังคมเขมร (ปรอลึง เมยี ดาธปิ เต็ย กน็อง สงั กุมขแมร์) แต่งโดย งวน ญลิ เรื่อง ระบาขแมร์ (Khmer Dances) แต่งโดย เพชร ตุ มกระวลิ เรื่อง ละครโขน (Khmer Mask Theater) ซึ่งแต่งโดย เพชร ตมุ กระวิล หนังสีและหนังเล็ก (Colour Leather and Shadow Pupet) แต่งโดย เพชร ตุมกระวลิ

-11- เรื่อง อองโกร์นครน้า แหล่งกาเนิดอารยธรรมขแมร์ แต่ง โดย นุด ณาราง 7. พ.ศ. 2549 อภิญญา ตะวันออก แปลเร่ือง เขียว สัมพัน : ประวัติศาสตร์กัมพูชากับจุดยืนที่ผ่านมาของข้าพเจ้า เขียนโดย เขียว สัมพนั จัดพมิ พ์สานกั พิมพ์มติชน 8. พ.ศ. 2550 ศานติ ภักดีคา แปลเรื่อง พระราชพิธีทวาทศ มาส หรือพระราชพิธีสิบสองเดือนกรุงกัมพูชา ภาค 1-3 พิมพ์เผยแพร่ โดยกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ในปีเดยี วกัน ศานติ ภกั ดีคา แปลเรอื่ ง กมั พูชาโกรม “อานาจ ไมม่ เี ขมรโกรม” เผยแพร่เช่นเดียวกนั 9. พ.ศ. 2553 ป ระยูร ท รงศิลป์ แปลและเรียบ เรียง วรรณกรรมคาสอนเขมร ในโครงการผลงานวิชาการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ธนบุรีเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรง ครองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี จัดพิมพ์เผยแพร่โดย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ธนบุรี 15. พ.ศ. 2560 นภัทร์ เชาว์นาม แปลกวีนิพนธ์เร่ือง บปุ ผาสี ดา แตง่ โดย โกย สารุน นอกน้ันก็มีการแปลวรรณกรรมเพื่อเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับ ปริญญาโท วชิ าเอกเขมรศกึ ษา ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี ไดแ้ ก่ 1. ผกาสรโพน : การศึกษาวิเคราะห์สังคม ประเพณี ความ เช่ือของชาวเขมร (ศักด์ิ เพชรประโคน, 2540) 2. การศึกษาเชิงวิเคราะห์หนังสือภาษาเขมรเร่ือง การก้าว ตรงไปยงั ทิศตะวันตก และอนิ โดจนี ในปี 2000 (บุญเรอื ง คชั มาย์, 2540) 3. พระอาทิตย์ดวงใหม่ขึ้นเหนือแผ่นดินเก่า : การศึกษา วิเคราะหค์ ุณค่าของนวนิยาย (ดวงสมร สิงห์ปรีชา, 2541)

-12- ภาพที่ 1 ตัวอยา่ งหนงั สอื แปลจากภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ทมี่ า : นทิ านพื้นบ้านเขมร ภาคท่ี 1 (ประยูร ทรงศิลป์, 2545) 3. การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรเร่ือง \"คล่ืนซัด ทราย\" พรรณศริ ิ เดชมณเฑยี ร, 2542) 4. การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรเร่ืองแรน-แณต (บัญญัติ สาลี, 2542) 5. การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรเรื่อง \"วาสนานาง มารีณา\" (ณัฐชญา อคั รยรรยง, 2547) 6. ลเบกิ อังกอร์วดั : การศึกษาเปรยี บเทียบวรรณกรรมและ ภาพสลักเล่าเรอ่ื งทป่ี ราสาทนครวัด (สธุ ีรัตน์ ด้วงเงนิ , 2548) 7. การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรท่ีได้รับรางวัลพระสี หนรุ าช ประจาปี ค.ศ. 1999 (ธนิดา พรหมประสทิ ธ์ิ, 2548) 8. การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเร่ือง \"กุหลาบ - สบุ นิ \" (ศภุ ธดิ า แสงนาค, 2548)

-13- 9. การศึกษาเชิงวเิ คราะห์วรรณกรรมเขมรแนวประวัติศาสตร์ ของ \"บีว ไฉเลียง\" (สกลสุภา ทองน้อย, 2548) 10. การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง \"ลืมไม่ลง\" (หงษ์ลดา กลา้ หาญ, 2548) 11. การวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรือ่ งภาระสุดท้าย (ศิริวรรณ ประสพสขุ , 2549) 12. การวเิ คราะห์ศลิ าจารึกสดกกอ็ กธมเชงิ วรรณกรรม (สจั ภมู ิ ละออ, 2549) 13. การศกึ ษาคาศัพทใ์ นวรรณกรรมเร่ืองตึกตวนเลสาบ (ยอน ชาง จอง, 2550) 14. การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเร่ืองกุหลาบศรี โสภณ (พิศมยั อินทรสทิ ธ์ิ, 2550) 15. การศึกษาวิเคราะห์การทาบุญในจารึกนครวัดสมัยหลัง พระนคร (ขนษิ ฐา อลังกรณ์, 2551) 16. การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์ใบลานเร่ืองดาโบนตูนเมียน (คาแนะนาส่ังสอน) (เกษม ดวงอนิ ทร์, 2551) 17. การศึกษาศัพท์เรียกผู้หญิงในนวนิยายเขมรสมัยปัจจุบัน (วนารัตน์ น้อยเลก็ 2556) วิทยานพิ นธ์ระดับปริญญาเอก มจี านวน 3 เลม่ ได้แก่ 1. วรรณศิลป์และภาพสะท้อนวัฒนธรรมเขมรในรามเกียรต์ิ ฉบับพุทธศาสนบัณฑิตย์ เล่มที่ 1-10 วิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยศลิ ปากร (บษุ บา เรืองศรี, 2548) 2. การศึกษาวิเคราะห์กวีนิพนธ์เขมรที่เก่ียวกับการฆ่าล้าง เผ่าพนั ธุ์ วิทยานิพนธ์ ระดบั ปรญิ ญาเอก มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร (ชาญชัย คงเพยี รธรรม, 2553) 3. การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์และเปรียบเทียบร่ายยาวเวสสันดร ชาดกกับมหาเวสสันดรชาดก ฉบับพุทธศาสนบัณฑิตย์ วิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วัฒนชัย หม่ันยิ่ง, นาวาโท., 2555)

-14- งานแปลจากภาษาอ่ืนท่ีเขียนเก่ียวกับเขมรท่ีมีการแปลเป็น ภาษาไทยกม็ ี เช่น “4 ปี นรกในเขมร” ต้นฉบบั เป็นภาษาญ่ีปุน่ เน้ือเรอ่ื ง และภาพประกอบเขียนโดย ยาสึโกะ นะอโิ ต (Yasuko Naito) แปลโดย อาจารย์ ผุสดี นาวาวจิ ติ พมิ พ์ถึง 9 ครง้ั ทฤษฎกี ารแปล ทฤษฎีการแปลเป็นส่ิงท่ีจะช่วยให้ผู้แปลสามารถเลือกวิธีการ แปลให้เหมาะสมกับงานเขียนประเภทต่าง ๆ ท้ังยังเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาการแปลและทาให้เข้าถึงความสัมพันธ์ของภาษากับความคิด และความหมาย เข้าถึงวัฒนธรรมอันจะทาหา้ สามารถตคี วามและเข้าใจ สารตา่ ง ๆ ได้ ทฤษฎที ถ่ี ือว่าเปน็ ทฤษฎหี ลักในการแปลภาษา ดังต่อไปน้ี 1. ทฤษฎสี โคพอส (skopos theories) ทฤษฎีนี้ที่ยึดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการแปลเป็น หลัก ผู้ริเริ่มทฤษฎีน้ีได้แก่ ฮานส์ เจ. แฟเมยี ร์ (Hans J. Vermeer) โดย มีความมุ่งหมายท่ีจะเข้าถึงการแปล โดยมีแนวคิดมุ่งท่ีหน้าที่ของตัวบท แปล (function) และสังคมวัฒนธรรม (socioculture) มากข้ึน ต่างจาก เดิมที่มุ่งเน้นเรื่องภาษาศาสตร์ซึ่งต่อมาได้ร่วมกับคาทาริน่า ไรส์ (Katharina Reiss) พัฒนาทฤษฎีนใ้ี หส้ มบรู ณย์ ง่ิ ข้นึ คาว่า Skopos มาจากภาษากรีกหมายถึงจุดประสงค์ เป้าหมายหรือเจตนา ในทฤษฎีน้ีหมายถึง วัตถุประสงค์ในการแปลงาน หรือการมุ่งหน้าที่ (function) ของการแปล วรรณา แสงอร่ามเรือง (2545) ได้สรุปหลักสาคัญของทฤษฎีการแปลของไรส์และแฟร์เมียร์ไว้ ดงั นี้ 1) การแปลต้องยึดหน้าทข่ี องงานแปลเปน็ หลกั 2) งานแปลเป็นการนาเสนอข้อมูลหน่ึงท่ีมาจากวัฒนธรรมต้น ทางและเขยี นเปน็ ภาษาตน้ ทาง 3) งานแปลเป็นการลอกเลียนแบบข้อมลู ทน่ี าเสนอในภาษาต้น ทางเปน็ ภาษาปลายทาง

-15- 4) งานแปลจะตอ้ งอ่านเขา้ ใจในตัวมันเอง 5) งานแปลจะตอ้ งสอดคล้องกับตวั บทตน้ ฉบบั ทฤษฎี Skopos เป็นทฤษฎีที่ยึดหลักทฤษฎีการกระทาซ่ึงมี แนวคิดว่าการกระทาทกุ อยา่ งต้องทราบวตั ถุประสงค์หรอื เป้าหมายของ ตนก่อนที่จะกระทาการใด ๆ การแปลเป็นการกระทาอย่างหนึ่งและมี ความซับซ้อนตัวบทต้นฉบับอยู่ในสถานการณ์หนึ่งซ่ึงเกิดข้ึน ก่อนการ แปลผู้แปลจะต้องทราบวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของตนก่อนแล้วจึง กาหนดวา่ จะแปลอยา่ งไร ทฤษฎีน้เี สนอข้อปฏบิ ัติในการแปล ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ประเมนิ วา่ ใครเปน็ ผรู้ ับสารปลายทาง 2) เม่ือทราบกลุ่มเป้าหมายแล้ว ผู้แปลสามารถช่ังน้าหนัก ความสาคัญของตัวบทต้นฉบับแต่ละส่วนก่อนการแปลได้อย่างถูกต้อง ตดั สินใจวา่ จะมีการเปล่ียนแปลงกอ่ นหรอื ระหว่างการแปลหรอื หลักการ แปล 3) การดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ตัวต้นฉบับจะต้องถูก ถ่ายทอดเป็นภาษาปลายทางไปยังผู้รับสารโดยประเมินตามความหวัง ของผรู้ บั สารนัน้ ทฤษฎีนี้ให้ความสาคัญกับผู้รับสารปลายทางมาก ในการแปล ทุกคร้ังผู้แปลจะต้องกาหนดผู้รับสารให้ได้ก่อน เพ่ือจะได้ประเมินความ คาดหวังหรอื พนื้ ความรู้ของผู้รบั สารและสถานการณ์ในการแปลได้อย่าง ถูกต้อง การแปลตามหลักทฤษฎี Skopos ไม่เพียงเป็นการถ่ายโอนตัว บทและองค์ประกอบไปยงั สภาพแวดลอ้ มอกี แบบหน่ึงทมี่ วี ัฒนธรรมและ ภาษาแตกตา่ งกัน แต่การแปลเป็นการผละออกจากวัฒนธรรมในตัวบท ต้นฉบบั ไปยังวัฒนธรรมปลายทาง เปน็ การสรา้ งตวั บทใหมข่ อง “สาร” ที่ ต้องการส่งเป็นการนาเสนอข้อมูลในอีกวฒั นธรรมหนึง่ ตามความตอ้ งการ ของสังคมใหม่ ซ่งึ ผ้แู ปลต้องคานงึ ถึงปจั จัยสาคญั ดงั ต่อไปน้ี 1) ผู้แปลต้องตีความต้นฉบับก่อนในฐานะที่ผู้รับสาร เพราะผู้ แปลไมไ่ ด้ทาหนา้ ทใ่ี นการส่งตอ่ เน้อื ความทม่ี ีอยู่ในตวั บทตน้ ฉบับเทา่ น้นั

-16- 2) ผู้แปลต้องเลือกหรือกาหนดหน้าท่ีสาหรับงานแปล เม่ือผู้ แปลเลือกหรือกาหนดหน้าที่ที่ต่างกันให้กับงานแปลช้ินหนึ่ง ๆ ก็ทาให้ ตอ้ งเลือกวธิ กี ารแปลท่แี ตกต่างกนั ไป 3) ปัจจัยด้านวฒั นธรรมเป็นปัจจัยที่สาคัญมาก ตัวบทต้นฉบับ หนึ่ง ๆ จะถูกสร้างข้ึนเพ่ือทาหน้าที่อย่างหนึ่ง เมื่อมีการแปลมาเป็นอีก ภาษาหนึ่งและผู้อ่านงานแปลอยู่ในอีกวัฒนธรรมหน่ึงไม่ใช่วัฒนธรรม เดียวกับตัวต้นฉบับแล้ว ผู้แปลจะต้องคานึงว่าควรจะให้งานแปล คง ความหมายเดมิ ให้มากทีส่ ดุ 2. ทฤษฎคี วามหมาย (Theory of Meaning) ทฤษฎีน้ีเป็นทฤษฎีท่ีได้รับความยอมรับอย่างกว้างขวางใน ปัจจุบัน เนื่องจากเป็นทฤษฎีที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานที่ว่า การแปลเป็นสิ่งที่ เป็นไปได้ทุกภาษา ตราบเทา่ ที่กระบวนการแปลเนน้ ไปที่ “ความหมาย” หรือ “สาร” ท่ีตอ้ งการจะสื่อ ไมใ่ ช่ “ภาษา” หรือ “ยึดตดิ อยู่กบั คาหรือ การถ่ายภาพคาในต้นฉบับ” (Fortunato Israet, 1900 : 43) เพราะคา หรือภาษาในต้นฉบบั มีหน้าที่เป็นเพียง “พาหนะ” นา “สาร” ไปเท่าน้ัน ตามทฤษฎีความหมาย กระบวนการแปลท่ีจะสัมฤทธิผลน้ัน จะต้องให้ ความสาคัญกับการทาความเข้าใจและการถ่ายทอด ไม่ได้มุ่งเน้นการ เทียบเคยี งสญั ลักษณท์ างภาษา โดยจะต้องเข้าใจให้ถอ่ งแทถ้ ึงความต้ังใจ ของผู้เขียน ก่อนท่ีจะถ่ายทอดไปยังผู้รับสาร ด้วยภาษาปลายทางที่เป็น ธรรมชาติและถกู ต้องตามแบบแผนของภาษาน้ัน ๆ โดยไม่มกี ารตัดทอน หรือแต่งเติมและทาให้ “สาร” ทต่ี ้องการจะส่ือน้ันผิดเพี้ยนไป จงึ จะทา ให้ “ผู้อ่านของเราเข้าใจสนิ่งเดียวกันกับเจ้าของภาษาท่ีอ่านต้นฉบับ สามารถรบั รถู้ ึงลีลาการเสนอในแบบเดียวกัน และได้รับผลกระทบท่ีเท่า เทยี มกนั ได้” (นพพร ประชากุล, 2541 : 10) การแปลในมุมมองของทฤษฎีความหมายน้ันเป็น “ปฏิบัตกิ าร ถ่ายทอดความหมายซึ่งยึดเอาตัวสารเป็นหลัก โดยนาเอารายละเอียด ของเนอื้ หา ลีลาการเขียนขอ้ ความและรสชาติด้านอารมณ์ความรสู้ กึ ทจ่ี บั ได้ท้ังหมดจากต้นฉบับมาถ่ายทอดอย่างเท่ียงตรงครบถ้ วนในภาษา ปลายทางด้วยแบบแผนท่ีเป็นธรรมชาติ ท้ังน้ีถ้อยคาและโครงสร้าง

-17- ประโยคท่ีเป็นผลปรากฏในบทแปลจะเทียบได้ตรงหรือต่างกับภาษ าต้น ทางมากน้อยเพียงใดก็ไม่มีประเด็นอีกต่อไป...” (นพพร ประชากุล, 2541 : 10) การแปลตามแนวทฤษฎีความหมายมขี น้ึ ตอนสาคญั 3 ขน้ั ตอน คือ การทาความเข้าใจตน้ ฉบับ การผละออกจากภาษา และการถ่ายทอด ความหมายในภาษาใหม่ 1) การทาความเขา้ ใจตน้ ฉบบั (comprehension) ข้ั น ต อ น น้ี เป็ น ขั้ น ต อ น ท่ี ผู้ แ ป ล จ ะ ต้ อ ง จั บ ป ร ะ เด็ น ห รื อ สาระสาคัญด้านความหมายที่ผเู้ ขยี นต้องการส่อื โดยใชบ้ ริบทภายในและ ภายนอกในการชว่ ยตีความหมายทาความเขา้ ใจ 2) การผละออกจากต้นฉบับ (verbalization) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ผู้แปลต้องละท้ิงสัญลักษณ์และ รูปแบบทางภาษาในตน้ ฉบบั เพื่อ“สกัด”เอาความหมาย “ให้เหน็ ภาพใน ความคิดอย่างชัดเจน ไม่ติดอยู่กับต้นฉบับ ภาพความจริงในความคิดท่ี กระจ่างชัด จะสามารถผลกั ดันให้ผแู้ ปลพบถ้อยคาในภาษาแปลได้อย่าง เป็นธรรมชาติ” (สิทธา พินิจภูวดล, 2542 : 34) การผละออกจาก ต้นฉบับอย่างสมบูรณ์จะทาให้ภาษาปลายทางไม่มีกลิ่นนมเนยซ่ึงเป็น ตวั การสาคัญทีท่ าลายความเปน็ ธรรมชาติของภาษาและอรรถรสของการ เสพงานวรรณกรรม 3) การถา่ ยความหมายในภาษาใหม่ (reexpression) เมื่อเข้าใจสาระของบทความต้นฉบับอย่างถ่องแท้และผ่าน กระบวนการผละออกจากภาษาโดยสมบูรณ์แล้ว ผู้แปลจะต้องสวม บทบาทนักเขียนที่นา “ภาพในความคิด” มาผสานกับทรัพยากรทาง ภาษาปลายทางของผแู้ ปล เพ่ือถ่ายทอดสาระให้ตรงกับต้นฉบับในภาษา ปลายทางที่เป็นธรรมชาติและตรงกับความนยิ มใช้ เพือ่ ให้เกิดการรับรใู้ น เนอ้ื หาและอรรถรสอย่างเท่าเทยี มกบั ต้นฉบบั การแปลตามแนวทฤษฎีความหมายน้ี โดยเนื้อแท้แล้วก็คือ การถ่ายทอด “สาร” ที่ใช้ “ภาษา” เปน็ เคร่อื งมือหรอื พาหนะในการนา “สาร” ไปยงั จุดหมายเพอื่ ก่อให้เกดิ ผลลพั ธ์ทีต่ รงกบั เปา้ ประสงคข์ องผู้ส่ง สาร และเม่ือใดก็ตามที่หัวใจของการแปลคือ ความหมาย ไม่ใช่ ภาษา

-18- และการแปลก็คือความเทา่ เทียมกันของผลลพั ธท์ างใจความและอรรถรส ไม่ใช่ความเท่าเทียมกันทางสัญลกั ษณ์ทางภาษา การแปลจึงย่อมเป็นไป ไดท้ กุ ภาษา เพราะภาษาไม่ใชอ่ ุปสรรคของการแปล นอกจากทฤษฎีหลักท่ีมีความสาคัญในการแปลภาษาแล้ว การ แปลภาษายังต้องใช้ศาสตร์ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการแปล เพราะว่า การแปลเป็นกระบวนการที่สลับซับซ้อน ต้องใช้ความรู้จากทฤษฎีและ ศาสตร์หลายสาขา พัชรี โภคาสัมฤทธ์ิ (2553 : 16) ได้กล่าวถึงทฤษฎี และศาสตร์ทส่ี าคญั ท่ีตอ้ งนามาประยุกต์ใชใ้ นการแปลภาษาไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ทฤษฎดี า้ นภาษาศาสตร์ การนาทฤษฎีทางด้านภาษาศาสตร์มาใชใ้ นการแปลน้ัน จะ ใชท้ ฤษฎที ่เี กยี่ วกบั คา วลี ประโยค ความหมายของคาทงั้ ความหมายตรง และความหมายแฝงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาศาสตร์กับสังคมหรือ ภาษาศาสตร์เชิงสังคม (sociolinguistics) และจิตวิทยาการใช้ภาษา (psycholinguistics) จะช่วยให้ผู้แปลเลือกใช้ถอ้ ยคาสานวนอย่างมีพลัง ศลิ ปะ และรสชาติ 2. ทฤษฎจี ติ วทิ ยา ทฤษฎีจิตวิทยาน้ีนามาใช้เพื่อให้ผู้แปลมีความรู้ความเข้าใจ ในพฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย์ทั้งชายและหญิง กลุ่มชนต่างเพศ ต่างวัย กลุ่มมีปัญหา คนที่มีสุขภาพจิตบกพร่อง เพื่อให้มีความเข้าใจตัว ละครในวรรณกรรม ข่าวหรอื บทความทน่ี ามาแปล 3. ทฤษฎีการตลาด ทฤษฎีการตลาดน้ีนามาใช้เพ่ือให้ผู้แปลตระหนักถึงความ ตอ้ งการของลูกค้าและการตอบสนองความต้องการ ทาให้ผู้แปลต้องทา ความรจู้ กั ผอู้ า่ นและผูซ้ ้ือหนังสือแปล เขา้ ถงึ จิตใจของผูอ้ ่านงานแปล น่ัน คือ รจู้ กั จติ วทิ ยาการตลาด

-19- 5. ทฤษฎีสอ่ื สารมวลชน ในปัจจุบันมีส่ือหลากหลายท้ังส่ือบุคคล ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงมีบทบาทสาคัญในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผู้แปล จะต้องเขา้ ใจวธิ กี ารสง่ สารและรับสารซ่ึงมผี ลตอ่ การปฏิบตั งิ านแปล ทฤษฎีและศาสตร์ต่าง ๆ ดังกลา่ วถือวา่ เป็นสิ่งท่สี าคัญท่ีผู้แปล จะต้องนามาพิจารณาและประกอบในปฏิบัติการแปลทุกคร้ังไปเพื่อให้ งานแปลเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขึน้ กระบวนการแปล กระบวนการแปลแบง่ ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ คือ 1. Intralingua Translation หรือ Rewording เป็นการแปล ในภาษาเดียวกัน หมายถึง การทาเนื้อความในภาษานั้นเองกระจ่างชัด และเขา้ ใจได้งา่ ยขน้ึ หรือแปลจากโครงสร้างลกึ (deep structure) เป็น โครงสรา้ งผวิ (surface structure) 2. Interlingua Translation หรือ Translation Proper คือ การแปลจากภาษาหนึง่ ไปอกี ภาษาหนึง่ 3. Intersemiotic Translation หรือ Transmutation คือ การแปลโดยใชส้ ัญญาณสื่อความหมาย ภาษาตน้ ฉบับ ผู้รับสารแปล วิเคราะห์ ปรับบท ภาพท่ี 2 แผนภูมิแสดงแบบจาลองกระบวนการแปล ทีม่ า : ดัดแปลงจาก ดวงตา สพุ ล (2541 : 11)

-20- กระบวนการของ สญั ฉวี สายบวั (2542 : บทที่ 3) ได้นาเสนอ กระบวนการท่ีประกอบดว้ ยกิจกรรมหลกั ๆ ทีผ่ ู้แปลต้องทาเป็นขั้นตอน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การวเิ คราะหต์ ้นฉบบั 2. การตีความและจับสารและรบั ทอดความหมายจากตน้ ฉบบั 3. การถา่ ยทอดเปน็ ภาษาฉบบั แปล 4. การทดสอบงานแปล นอกจากนี้ โวล์ฟกัง เลอร์เซอร์ (Wolfgang Lörscher) เสนอรปู แบบกระบวนการแปลไว้ 2 แนวทาง คือ กระบวนการแปลแบบ เน้นคาต่อคา (form / sign-oriented) และกระบวนการแปลแบบเน้น ความหมาย (มณีรัตน์ สวสั ดิวัตน์ ณ อยุธยา, 2548 : 70-73) ได้อธิบาย ไว้ดงั นี้ 1. กระบวนการแปลแบบเน้นคาตอ่ คา (form/sign-oriented) การแปลในลักษณะน้ีเน้นรูปแบบหรือชุดสัญญาณโดยการ แทนที่ด้วยชุดของสัญญาณของภาษา และการถ่ายโอนของสัญญาณน้ี ไม่ได้คานึงถึงความหมายของหน่วยท้ังสองภาษา การแทนท่ีส่วนใหญอ่ ยู่ ในระดับคาและเกิดจากเทียบคาศัพท์ที่ผู้แปลได้เรียนในภาษาที่จะแปล โดยไม่ไดพ้ ิจารณาส่วนอืน่ ประกอบดว้ ย การแปลในกระบวนการน้เี กิดข้นึ ได้ในกรณีแรกคือ การแปลที่ผู้แปลได้รับคาศัพท์หรือสารแล้วแปลโดย กะทันหนั หรอื แปลโดยทันที เปน็ กระบวนการหนึ่งท่ีเป็นการจบั คูค่ าศพั ท์ โดยอัตโนมัติ (automatic association) และกรณีที่สองก็คือ การแปล แบบตรงตัว (literal translation) หรือเรียกอีกอยา่ งหนงึ่ วา่ การแปล แบบคาต่อคา (word-for-word) การแปลแบบนี้จะคงโครงสร้างทาง วากยสัมพันธ์ของภาษาต้นฉบับไว้ แต่จะใช้วิธีการเทียบความหมาย ระหว่างภาษาทั้งสอง การแปลในลักษณะแบบนี้จะมีปัญหาเม่ือนามาใช้ ในการแปลสานวน โวหาร คาอุปมาอปุ ไมย และวรรณคดี แต่การแปลคา

-21- ต่อคานี้อาจใช้ได้ในงานแปลแบบกะทันหันหรือการแปลแบบล่าม ซ่ึง จาเป็นตอ้ งใช้เวลาคดิ และแปลอยา่ งรวดเรว็ แผนผังการแปลแบบเน้นรูปแบบหรือคา (form / sign- oriented) น้ี โวล์ฟกัง เลอร์เซอร์ (Wolfgang Lörscher) ได้เสนอไว้ ดงั น้ี สัญญาณ การเรียนรูแ้ ละจาความหมาย สัญญาณ ภาษา (SL Sign=TL Sign) ภาษา ต้นฉบบั ปลายทาง ภาพที่ 3 แผนภมู กิ ารแปลเน้นคา/รปู แบบ ทมี่ า : ดดั แปลงจาก มณีรตั น์ สวสั ดิวตั น์ ณ อยุธยา (2548 : 72) 2. กระบวนการแปลแบบเน้นความหมาย (sense oriented) กระบวนการแปลแบบเน้นความหมายนี้ ผู้แปลจะต้องทา ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความหมายของภาษาตน้ ฉบับ โดยศกึ ษาท่ีมา บรบิ ท สังคมและวัฒนธรรม และแยกความหมายออกมาจากตัวบทของต้นฉบับ โดยใช้วิธีการค้นหาสัญญาณท่ีเพียงพอ (adequate) การแยกสัญญาณ ออกจากความหมายนี้ ผู้แปลจะตอ้ งวเิ คราะห์พจิ ารณาตน้ ฉบบั หลายครั้ง หรือใช้วิธีการซ้าคาในต้นฉบับหลายคร้ัง แล้วผู้แปลจะต้องเรียบเรียง ภาษาข้ึนมาใหม่แต่ความหมายคงเดิม กระบวนการผู้แปลจะต้องมี ประสบการณ์จึงจะสามารถแปลภาษาไปพร้อม ๆ กับการรวบรวม ความหมายของรูปแบบภาษาเปา้ หมาย ผแู้ ปลจะตอ้ งเป็นผ้มู คี วามรู้และ ความสามารถในการใช้ภาษา มีประสบการณ์ในการแปล และเข้าใจ บริบทสงั คมและวัฒนธรรมของผูใ้ ชภ้ าษาตน้ ฉบบั จงึ จะแปลได้ดี แผนผังการแปลแบบเน้นความหมายนี้ (sense-oriented) โวลฟ์ กงั เลอรเ์ ซอร์ (Wolfgang Lörscher) ได้เสนอไว้ ดงั นี้

-22- สญั ญาณ สญั ญาณ ภาษาต้นฉบกับารวิเคราะห์ การวิเคราภะาหษ์ าต้นฉบับ ความหมาย ภาพที่ 4 แผนภูมกิ ารแปลเน้นคา/รูปแบบ ท่ีมา : ดัดแปลงจาก มณรี ตั น์ สวัสดวิ ัตน์ ณ อยธุ ยา (2548 : 73) ชนิดของการแปล ชนดิ ของการแปลอาจแบง่ ออกเปน็ 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. การแปลภาษาท่วั ไป การแปลแบบนี้ ดวงตา สุพล (2541 : 12) ได้แบ่งออกเปน็ 2 ประการคอื 1.1 การแปลโดยพยัญชนะ (literal translation) แยก ออกเป็น 2 ประการ คือ 1.1.1 การแปลคาต่อคา (word for word translation) วิธีนี้เป็นวิธีการแปลท่ีนิยมใช้ในการแปลพระคัมภีร์ ไบเบิ้ลในระยะแรก ผู้แปลจะรักษาโครงสร้างและความหมายของภาษาต้นฉบับและภาษา ฉบับแปลอย่างเครง่ ครดั ทาให้เน้อื ความของภาษาฉบบั แปลเข้าใจไดย้ าก มาก วธิ นี ีไ้ ม่เป็นทน่ี ยิ มแลว้ ในปัจจบุ ันนี้ 1.1.2 การแปลตรงตัว (literal translation) เป็นการ แปลโดยพยายามคงความหมายท่วงทานอง รปู แบบ และโครงสร้างของ ตน้ ฉบับไวม้ ากท่ีสุด มุ่งความถกู ต้อง ครบถ้วน และความแม่นยาแนน่ อน (accuracy) ของต้นฉบับเป็นสาคัญ ไม่นิยมการตัดทอนหรือแตง่ เติมคา หรือข้อความอื่นเลย ปัจจุบันนี้การแปลแบบนี้ยังคงใช้อยู่ มักเป็นการ แปลเพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่าง เช่น การแปลคัมภีร์ไบเบิ้ลในปัจจุบัน การแปลกฎหมายสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ประกาศของทางราชการ เปน็ ตน้ 1.2 การแปลโดยอรรถ (non-literal translation) การแปล ที่ไม่ได้มุ่งรักษาโครงสร้าง ความหมาย ท่วงทานอง หรือรูปแบบของ

-23- ต้นฉบับอย่างเคร่งครัด มีแปลโยกย้ายขยายความ ตัดทอน หรือ เปลี่ยนแปลงรูปคาหรือข้อความทางไวยากรณ์ได้ การแปลโดยอรรถนี้ รวมไปถึงการถอดใจความในภาษาเดียว (paraphrase) การแปลแบบน้ี ใช้กับเรื่องท่ีไม่จาเป็นต้องรักษาความถูกต้องแน่นอนของต้นฉบับ เช่น การแปลนวนิยาย เร่ืองสั้น และนิทาน เป็นต้น (ดวงตา สุพล, 2541 : 12) 2. ชนิดการแปลแบบ J.C. Catford (อ้างใน ดวงตา สุพล, 2541 : 16) แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 2.1 แบ่งตามขอบเขต (extent) ของการแปล ดงั นี้ 2.1.1 Full Translation การแปลทง้ั หมด 2.1.2 Partial Translation การแปลเพียงบางส่วน (ละตน้ ฉบับบางสว่ นไวไ้ ด้ ไม่ตอ้ งแปล) 2.2 แบ่งตามระดับ (levels) ของภาษาท่ีใช้ในการแปล ไดแ้ ก่ 2.2.1 Total Translation 2.2.2 Restricted Translation 2.3 แบ่งตามระดับ ชั้น (ranks) ของความห มาย เทยี บเคียงในการแปล (translation equivalence) เช่น เทียบเคียงกัน ในระดบั คา ระดบั กล่มุ คา หรือระดบั ประโยค ในระดบั น้ี การแปลยังแยก ออกได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ แบบ Rank-bound translation คือ การ แปลท่ีระดับความหมายเทียบเคยี งในการแปล เกิดข้ึนได้ระดับเดยี ว คือ ระดับคากับคาเท่าน้ัน และแบบ unbounded translation คือ การ แปลท่ีระดับความหมายเทยี บเคียงในการแปลซง่ึ มีอยู่หลายระดบั 3. การแบง่ ชนิดการแปลแบบ วรนาถ วมิ ลเฉลา (2539) ได้ แบง่ การแปลไว้ 2 รปู แบบ ได้แก่ 3.1 การแปลแบบตรงตัว (literal translation) เปน็ การ แปลที่เอาท้ังความ เอาทั้งคา เป็นการแปลที่มุ่งถึงความถูกต้องของ เนอ้ื ความในตน้ ฉบบั และรปู แบบท่วงทานองการเขียนของภาษาตน้ ฉบับ

-24- ด้วย เป็นวีการแปลที่ต้องอาศัยความละเอียดและเน้นความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นสาคญั เช่น เอกสารทางวชิ าการและกฎหมาย เปน็ ตน้ 3.2 การแปลแบบเสรหี รอื แบบเอาความ (free translation) คอื การแปลเอาความ เปน็ การแปลพอเขา้ ใจหรือแปลทจ่ี ะ เกบ็ รายละเอยี ดพอสมควร อาจจะมีลักษณะเสริมความดว้ ย จะมงุ่ รักษา ความหลักของตน้ ฉบับเอาไวเ้ ท่านนั้ แต่อาจจะตดั หรือตอ่ เติมข้อความท่ี ไม่สาคญั เพ่อื ความเขา้ ใจของผ้อู า่ นที่อา่ นฉบบั แปล เปน็ วธิ ีการแปลท่ีใช้ กับการแปลทไี่ มเ่ น้นความถกู ตอ้ ง เช่น นวนยิ าย การแปลขา่ วใน หนงั สือพมิ พ์ หรอื จดหมายตดิ ต่อ การแปลทั้ง 2 แบบข้างต้นสามารถอธิบายเพ่ิมเติมได้ว่าเป็น การแปลแบบเสรีนิยมท่ีใช้ในสื่อมวลชนทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อผู้รับสารต้องการข่าวสารข้อเท็จจริงในแงท่ ่ีเก่ียวข้องกับใจความและ สาระสาคญั ไมต่ ้องการความถกู ตอ้ งของการใชถ้ อ้ ยคา คือเพยี งแต่ให้รูว้ ่า ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน เม่ือไหร่ ทาไม อย่างไร เท่านนั้ สว่ นการแปลแบบคา ต่อคาหรือแปลแบบตามตวั อกั ษรน้ัน นยิ มใชใ้ นกลุ่มนักศึกษา นกั วชิ าการ หรือกลุ่มเฉพาะอาชีพ กลุ่มบุคคลดังกล่าวต้องการความถูกต้องของทั้ง สาระ ข้อเท็จจริง และการใช้ถ้อยคา เพื่อจุดประสงค์ในด้านการศึกษา ค้นคว้าหรือการนาไปปฏิบัติ (เชวง จันทรเขตต์ อ้างใน ดวงตา สุพล , 2541 : 17) 4. การทับศพั ท์ (transliteration) พมิ พันธ์ุ เวสะโกศล (2555 : 46) ได้กล่าวถงึ กลวธิ ีการแปล ไว้แบบหนึ่ง คือ การทับศัพท์ ซ่ึงหมายถึง การใช้ภาษาอังกฤษเขียนคา ไทย แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 4.1 การถ่ายเสียง (transcription) คือ การถอดอักษรไทย เป็นอักษรโรมันโดยให้ออกเสียงตรงกับภาษาไทย เช่น บ้านหม้อ Ban Mor, อยู่ไฟ Yu fai, Pa-nung ผ้านุง่ เป็นต้น 4.2 การถ่ายถอดอักษร (transliteration) คือ การแทน ตัวอักษรอย่างตรงตัว สามารถถอดกลับไปมาได้อย่างสะดวก แต่อ่าน ไม่ได้ เช่น มหิดล Mahidol ออกเสียงเป็น don แต่ใช้อักษร l แทน ล

-25- หรือ จักรพงศ์ chakralongse ออกเสียง bong แต่ใช้ se แทน ศ เป็นตน้ การทับศัพท์น้ันเป็นวิธีท่ีใช้สาหรับชื่อเฉพาะ อันเป็นชื่อ บุคคล ส่ิงของ อาคาร สถานท่ี ตลอดจนตาแหน่งหรือยศใสระบบของ ไทย เช่น Queen Saowapa สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี Mom Luang ตาแหนง่ หมอ่ มหลวง Wat Mahatat วัดมหาธาตุ เป็นตน้ ราชบัณฑิตยสถานได้ประกาศหลักการทับศัพท์ไว้อย่างเป็น ทางการ ทั้งจากภาษาอังกฤษไปเปน็ ภาษาไทย ซึง่ เป็นการทับศพั ท์แบบ ผสมทั้งถอดอักษรและถอดเสียง 5. การแปลเทียบหรือการเทียบความหมายในการแปล การแปลเทียบความหมาย (translation equivalence) หมายถึง หน่วยท่ีมีความหมายเท่าเทียมกันใน 2 ภาษา คาแปลเทียบดู ระดับความถูกต้องที่หน่วยทางภาษา เช่น คา โครงสร้างวากยสัมพันธ์ สามารถแปลไปสูภ่ าษาอน่ื ได้โดยไม่สญู ความหมาย การแปลในลักษณะนี้ แอนตัน โปโปวิช (Anton Popovich อ้างใน ดวงตา สุพล, 2541 : 34) กล่าวถึงความหมายเทียบเคียงในการแปลไว้ใน Dictionary for the Analysis of Literary Translation ว่า ความหมายเทียบเคียงในการ แปลแยกออกได้เปน็ 4 แบบ ได้แก่ 1) Linguistic equivalence ส่วนประกอบท่ีเทียบเคียง ได้ในทางภาษาศาสตร์ ทั้งภาษาตน้ ฉบับและภาษาฉบบั แปล หมายความ ถึง การแปลแบบคาต่อคานั่นเอง 2) Paradigmatic equivalence การเทียบเคียงกันใน องคป์ ระกอบทางไวยากรณ์ ในระดับสูงกว่าการเทยี บเคยี งกนั ในระดบั คา 3) Stylistic (translational) equivalence มีการเทียง เคียงกันในหนา้ ที่ (functional equivalence) ท้งั ของภาษาตน้ ฉบบั และ ภาษาฉบับแปล เพ่อื แสดงถึงส่ิงท่มี คี วามหมายเหมือนกนั 4) Textual (syntagmatic) equivalence การ เทยี บเคยี งกนั ทงั้ ทางโครงสร้างและรูปแบบของภาษาตน้ ฉบับและภาษา ฉบับแปล

-26- นอกจากน้ี ไนดา (อ้างใน ดวงตา สุพล, 2541 : 34) ได้แบ่งออก การแปลเทยี บความหมายออกเป็น 2 แบบ คอื 1) Formal equivalence มุ่งไปที่ตัวบท (Text) ทั้งในด้าน รูปแบบและเน้ือหา โดยรักษารูปแบบให้เหมือนต้นฉบับ เช่น ความคิด เทยี บกับความคิด ประโยคเทียบกบั ประโยค รูปแบบเช่นร้อยกรองเทยี บ กับร้อยกรอง ไนดาเรียกการแปลแบบนี้ว่า gloss translation มี จดุ ประสงคใ์ หผ้ ู้อ่านเขา้ ใจเนอื้ ความของภาษาตน้ ฉบบั มากที่สุด 2) Dynamic equivalence มุ่งย้าถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างคน อ่านฉบับแปลกับฉบับแปลว่าต้องอยู่ในระดับเดียวกันกับความสัมพันธ์ ระหว่างคนอา่ นตน้ ฉบับกบั ตน้ ฉบบั หมายถึง การถ่ายทอดภาษาต้นฉบับ ออกมาเป็นภาษาให้คนอ่านฉบับแปลเข้าใจฉบับแปลเท่าๆ กับคนอ่าน ต้นฉบับเข้าใจตน้ ฉบับน่ันเอง ในการแปลโดยใชก้ ารเทียบเคยี งกันแบบนี้ รูปแบบของตัวบทในภาษา ต้นฉบบั จะเปล่ียนแปลงไปในภาษาฉบับแปล ทั้งนเ้ี พือ่ ให้ผูอ้ า่ นภาษาฉบับแปลเขา้ ใจเร่ืองทอ่ี า่ นอยา่ งถ่ถี ้วน การเปล่ยี น รูปแบบในท่ีน้ีไม่ใช้เปล่ียนเนื้อหาของต้นฉบับ แต่เป็นการใช้ขอ้ ความใน ฉบับแปลให้สามารถส่ือความหมายให้ตรงกับต้นฉบับอย่างสมบูรณ์ต่อ ผอู้ า่ นฉบับแปล การแปลกับเครอ่ื งมอื การแปล การแปลถือว่าเปน็ วิทยาการแขนงหน่ึงทีจ่ ะต้องอาศัยเครอ่ื งมือ ประกอบหรือช่วยในการแปล เคร่ืองมือการแปลมีวิวัฒนาการมา ตามลาดับ องค์ความรู้หรอื ศาสตรเ์ ฉพาะบางศาสตรท์ ่ีผูแ้ ปลจาเป็นตอ้ งรู้ จดจา และเขา้ ใจเพ่ือประโยชนใ์ นการแปล ในอดตี ศึกษาค้นคว้าจากการ บอกเลา่ หรือเรยี นรูด้ ้วยวิธกี ารมุขปาฐะ คอื เล่าบอกปากต่อปาก หลังจาก มีการบันทึกเปน็ เอกสารต่าง ๆ แล้ว เอกสารต่าง ๆ ก็ถูกเก็บในห้องสมุด หรอื ทเ่ี กบ็ เอกสารเฉพาะทาง เช่น เอกสารโบราณเก็บไว้ตคู้ ัมภรี ์ท่ีวัด หอ ไตรในวัดวาอารามภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื หรืออีสาน หอพระไตรปิฎก เป็นต้น เอกสารดังกล่าวเหล่านั้นถือว่าเป็นส่ิงท่ีเปน็ เคร่ืองมืออย่างดีใน การศึกษาค้นคว้าความรู้ของผู้แปลในสมัยนั้น หลังจากนั้นมาเมื่อมีการ

-27- เก็บรวบรวมคาศัพทต์ ่าง ๆ ของแต่ละภาษา เพ่อื จัดทาและจัดพิมพ์เป็น รูปแบบพจนานกุ รม ปทานุกรมคาศพั ท์ อภธิ านศัพท์ และสารานกุ รม ทา ให้ผู้แปลสามารถค้นคว้าหาคาศัพท์ได้มากย่ิงข้ึน จนกระทั่งในปัจจุบัน วิทยาการการสื่อสารล้าสมัย สามารถค้นคว้าข้อมูลออนไลน์ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อวงการการแปลเป็น อย่างมาก นอกจากนกี้ ารค้นคว้าข้อมูลในอินเตอรเ์ น็ตสามารถมองเหน็ ได้ ทั้งตัวหนงั สือและรูปภาพทง้ั เป็นภาพนิง่ และเคลอื่ นไหวอีกด้วย ภาพที่ 5 แสดงตวั อยา่ งพจนานกุ รมสองภาษา ทม่ี า : พจนานุกรม ไทย-เขมร: ฉบบั คณะกรรมมาธิการร่วมไทย- กัมพชู า (อญั ชนา จิตสุทธิ และศานติ ภกั ดีคา. บรรณาธิการ, 2007) การพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการแปลมีวิวัฒนาการมาโดยลาดับ เม่ือ โลกอยู่ในยุคสมัยแห่งการส่ือสารไร้พรมแดนหรือโลกาภิวัตน์ เคร่ืองมือ ชว่ ยแปล (translator aid) มบี ทบาทสาคัญในการแปลเป็นอยา่ งมาก ซ่ึง เมื่อก่อนท่ีจะเป็นเคร่ืองมือช่วยในการแปลน้ี นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ ไดพ้ ัฒนาเครอ่ื งมือแปล (machine translation) มาแล้วหลายรุน่ แต่ใน

-28- ปัจจุบันเคร่ืองมือแปลเหล่าน้ันอาจไม่ใช่คาตอบและไม่ได้เป็นเครื่องมือ ช่วยในการแปลอย่างแท้จรงิ เน่ืองจากการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มพี ัฒนาการกา้ วหน้ามาโดยลาดับ การพัฒนาเครือ่ งมอื แปลภาษากา้ วหนา้ รวดเรว็ ไปคูก่ ับเทคโนโลยี สารสนเทศและอินเตอร์เน็ต ความจาเป็นในการติดต่อส่ือสารข้าม วัฒนธรรม ขา้ มภาษา และข้ามประเทศ จาเป็นต้องอาศัยการแปลอย่าง รวดเร็ว และมีความจาเป็นจะต้องแปลพร้อมกันหลายภาษา การแปล ผสมผสานกับระบบการกาหนดเอกสารหลายภาษาจึงจาเปน็ สาหรับคน ในโลกมากยิ่งข้ึน อินเตอร์เน็ตจึงมีอิทธิพลต่อการแปลเป็นอย่างมาก จานวนผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในการแปลภาษามีจานวนมาก จนกระทั่ง การใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตเพอื่ แปลภาษากลายเปน็ เสมือนวัฒนธรรมหน่ึงของคน ไปแล้ว ปจั จบุ นั มีเวบ็ เพ็จหลายตัวทเี่ ปดิ ให้บริการการแปลดว้ ยเครอื่ งใน ลักษณะเวบ็ ทา่ เครอื่ งมอื แปล (MT portal) ดงั เชน่ เวปไซตช์ ือ่ “ฉนั รกั แปล” (www.th.ilovetranslation.com) “แปลภาษา แปลประโยค” (www.thai-translator.com) และเวปไซตค์ า่ ยกูเกลิ้ (google) ช่อื ว่า “แปลภาษา” www.translate.google.co.th) เป็นต ภาพท่ี 6 เวปไซตแ์ ปลออนไลน์ ท่ีมา : www.th.ilovetranslation.com และ translate.google.co.th (เข้าถึงเมื่อ 14 เมษายน 2562)

-29- แม้วา่ เครื่องมอื ช่วยแปลจะพัฒนาที่สามารถแปลได้อย่างรวดเร็ว แต่การแปลของเคร่ืองช่วยแปลน้ันไม่ใช่เป็นการแปลของมนุษย์ จึงไม่ สามารถแปลได้อย่างถกู ต้องและมีคุณภาพเหมอื นการแปลดว้ ยธรรมชาติ หรือคนแปล ผู้แปลจะต้องเรียนรู้และใช้เครื่องมือช่วยแปลอย่าง ระมดั ระวัง นอกจากนี้การใช้เคร่ืองมือช่วยแปลนนั้ อยูใ่ นการทางานจากัด เฉพาะการต้องการค้นคว้าหาข้อมูลเพ่อื สร้างคลังภาษาและการช่วยแปล คาในเอกสารเท่านั้น ส่วนการแปลแบบตัวต่อตัวหรือการแปลแบบล่าม นั้น การแปลแบบธรรมชาติสามารถทาได้ดีกว่าเครอ่ื งชว่ ยแปล เนอื่ งจาก การแปลแบบล่ามน้ีประกอบ ด้วยบริบททางด้านสังคมวัฒนธรรม และ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่ไม่มีขอบเขตชัดเจนและตายตัว เช่น ดา้ นกฎหมาย ดา้ นการทูต และดา้ นการติดต่องานธุรกจิ ระหว่างประเทศ เปน็ ต้น บทสรุป ความรู้เบื้องต้นสาหรับการแปลเป็นสิ่งที่ผู้แปลจะต้องเรียนรู้ไว้ กอ่ นที่จะลงมือปฏบิ ตั ิการแปลไมว่ า่ จะเป็นภาษาใดใดก็ตาม ผู้แปลจาเป็น จะต้องมีความรู้ด้านความหมายของการแปล แนวคิดทฤษฎีการแปล กระบวนการแปล ชนิดของการแปล และเครื่องมือท่ีเกี่ยวข้องกับการ แปล เพื่อนาไปใช้เป็นความรู้พ้ืนฐานประกอบในการแปลภาษาทั้งการ แปลงานด้านเอกสารและการแปลแบบล่าม การท่ีผู้เขียนนาองค์ความรู้ ต่าง ๆ ท่ีได้นาเสนอมาข้างต้นน้ีทั้งหมดน้ันก็จะได้ให้ผู้อ่านหรือผู้ใช้ ประโยชนจ์ ากหนังสือเล่มนม้ี อี งคค์ วามร้พู ้ืนฐานในด้านการแปลซ่ึงจะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรียนร้กู ารแปลภาษาเขมรในบทถัดไป

-31- บทที่ 2 ลักษณะทางภาษาและวฒั นธรรมเพอ่ื การแปล บทนา ภ า ษ า แล ะ วั ฒ น ธ รรม เป็ น สิ่ ง ท่ี จา เป็ น ม า ก ส า ห รั บ นั ก แป ล เนื่องจากการแปลแม้จะเปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาแล้ว จะต้องอาศัยความเข้าใจทางวัฒนธรรมท้ังสองภาษาคือ ภาษาต้นฉบับ (source language) และภาษาแปล (receptor language) ความสามารถในการใช้ภาษาทั้งสองน้ีมีความหมายรวมถึงทักษะอ่าน ตีความ และการเขยี น ผแู้ ปลจะต้องอ่านภาษาต้นฉบบั อย่างลกึ ซึ้ง และ ในกรณีภาษาต้นฉบับมีการใช้ภาษาในเชิงสร้างสรรค์ (creative) หรือ ต้นฉบับมีการใช้ภาษากากวม (ambiguous) ผู้แปลจะต้องตีความ ต้อง เข้าถงึ ต้นฉบบั อย่างแท้จรงิ ถงึ จะถ่ายทอดความหมายอกเปน็ ภาษาแปลที่ เหมาะสมได้ การเข้าถึงต้นฉบับอย่างแท้จริง นอกจากจะมีความรู้ด้าน ภาษาแล้วแล้วจะต้องมีความลุ่มลึกด้านวัฒนธรรมโดยเฉพาะวัฒนธรรม ภาษา ในบทนี้ผูเ้ ขยี นจงึ นาเสนอข้อมลู ลกั ษณะทางภาษาและวัฒนธรรม ท้ังไทยและเขมรเปรียบเทียบกัน เพื่อเป็นประโยชน์ในการนาข้อมูล เหลา่ น้ไี ปประยุกต์ใชใ้ นการแปลต่อไป ภาษาและวฒั นธรรมกบั การแปล การแปลมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างน้อยสองภาษาและสอง วัฒนธรรม ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่สามารถแยก ออกจากกันได้ ภาษาเป็นสาขาวิชาหน่งึ ที่สาคัญทีส่ ุดในบรรดาสาขาวชิ า ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั วัฒนธรรม เพราะมนุษยต์ ้องใชภ้ าษาในการส่อื สารกัน ใช้ ภาษาในการถ่ายทอดวัฒนธรรม และการสร้างสรรค์งานทางวฒั นธรรม การเรยี นร้เู กี่ยวกบั ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาที่ใช้สื่อสญั ลกั ษณ์

-32- การแปลนั้นจะต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและ วฒั นธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมนั้นอาจมองได้ใน แบ่งเป็น 3 มิติ คือ มิติภาษาเป็นวัฒนธรรม มิติภาษามีลักษณะเดียวกัน กับวฒั นธรรม และมิติองค์ประกอบเดียวกันกับวัฒนธรรม แม้การแปลท่ี ไม่เก่ียวข้องกับงานด้านวัฒนธรรมก็ตาม เช่น งานแปลด้านธุรกิจ ด้าน ความบันเทิง และข่าวสาร เป็นต้น ก็เป็นงานแปลที่เก่ียวข้องและมี ลักษณะข้ามวัฒนธรรม แต่วัฒนธรรมของแต่ละชาติหรือแต่ละกลุ่มชาติ พันธ์ุ จะมีความแตกต่างกันไป เช่น วัฒนธรรมในการทาธุรกิจคน ตะวันตกมีการทาธุรกิจ “เชิงรุก” ในวฒั นธรรมไทยอาจตคี วามหมายที่ แตกต่างทางวัฒนธรรม คนไทยอาจให้ความหมายกับการทาธุรกิจแบบ ตะวนั ตกว่า “ก้าวรา้ ว” ผแู้ ปลจะต้องเข้าใจท้ังภาษาและวฒั นธรรมแล้ว แปลภาษาใหต้ รงกบั วฒั นธรรมไทย การแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่งอาจไม่สามารถถ่ายทอด ความหมายของภาษาน้ันได้ครบถว้ นท้งั หมด เพราะเหตุที่วา่ ความหมาย ที่ภาษาต้นฉบับมีกรอบภาษาและวัฒนธรรมของต้นฉบับอยู่ แต่ผู้แปล ตอ้ งพยายามในการนาความหมายของภาษาแปลใหม้ ีความหมายตรงกับ กรอบของภาษาและวัฒนธรรมภาษาต้นฉบับให้มากที่สุด ด้วยเหตุผล ท่วี ่าการแปลมีความสัมพันธก์ ับภาษาและวัฒนธรรม ผู้แปลต้องคานึงถึง ลักษณะทางวฒั นธรรมภาษาในแงม่ ุมตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ภาษาในสังคม สังคมของแต่ละชาติอาจมีความเหมือนกัน และแตกต่างกัน สังคมส่งผลให้มีการใช้คาในภาษาที่มีความหมายท้ัง เหมือนกันและแตกต่างกัน เชน่ สงั คมไทยกบั สังคมเขมรมีการใชภ้ าษาใน สังคมท่ีท้ังเหมือนกันและแตกต่างกันไป ตัวอย่างคาเรียกญาติใน สังคมไทยและเขมร คาเรียกญาติในภาษาไทยเรียกแบ่งตามฝ่ายพ่อและ แม่ แต่ภาษาทีใ่ ชส้ ังคมเขมรเรียกเหมือนกันท้ัง 2 ฝ่าย เช่น ไทยเรียกพ่อ และแม่ของแม่ว่า “ตาและยาย” เรียกพอ่ และแม่ของพอ่ วา่ “ปู่และย่า” ส่วนคาเรียกในสงั คมเขมรเรียกท้งั สองฝา่ ยว่า “ตาและยาย” เป็นตน้ อัน น้ผี ้แู ปลจะตอ้ งเขา้ ใจถึงภาษาทีใ่ ชส้ งั คม แวดวงภาษาในสังคม เช่น ความ เป็นทางการ การแตง่ กาย อาหาร ระดับภาษา เปน็ ต้น

-33- 2. ภาษาในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณี การ แปลภาษาในประเภทนี้มีศัพท์เฉพาะเยอะมาก การนาศัพท์เฉพาะมา แปลให้ถูกต้องหรือเป็นไปตามวัฒนธรรมประเพณีท้ังสองภาษาจะต้อง ศึกษาท้ังสองวัฒนธรรม การแปลภาษาในวัฒนธรรมไทยและเขมรก็ เชน่ เดียวกัน วฒั นธรรมบางอย่างมีลักษณะคลา้ ยคลงึ กัน คาศัพท์มคี วาม คลา้ ยคลึงก็สามารถแปลได้ง่าย แต่ก็มีหลายคาศพั ทท์ ่ีแตกต่างกันและไม่ ปรากฏว่ามีในวัฒนธรรมของตนเอง การแปลอาจต้องใช้คาอธิบายหรือ หาคาศัพท์ที่มคี วามใกล้เคียงกนั มากที่สุด วัฒนธรรมการใช้ภาษาต่าง ๆ เช่น สานวน ภาษติ และคาพังพวย เป็นต้น ผแู้ ปล 3. ภาษาเก่ียวกับศาสนา ความเช่ือ ความรู้สึก และความนึกคิด ภาษาท่ีส่ือใหเ้ ห็นความรสู้ กึ ของแต่ละชาติแตกต่างกันไป ภาษาทส่ี ะท้อน ให้เห็นความรู้สึกของคนไทยและคนเขมรที่เหมือนกันก็มี เช่น สีขาว แสดงถึงความสะอาดและบรสิ ทุ ธ์ิ และสดี าแสดงถึงความช่ัวรา้ ย เปน็ ต้น 4. ภาษาเฉพาะด้าน ในสังคมวัฒนธรรมแตล่ ะชาตมิ ีการใชภ้ าษา เรยี กชอ่ื เฉพาะด้านแตกตา่ งกันไป แลว้ แต่วัฒนธรรมและมโนทัศน์ของคน ในชาติ เช่น การเรียกชอื่ ภมู ิประเทศ การเรียกส่ิงแวดลอ้ ม การเรียกส่งิ ท่ี เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และการเรียกช่ือสิ่งสถานที่ท่ีมนุษย์สร้างขึ้น เป็น ต้น การใช้ภาษาเฉพาะด้านของไทยและของเขมรบางคาใช้เหมือนกัน บางคาก็แตกต่างกันไป นอกจากน้ีการแปลเป็นการส่ือสารข้ามวัฒนธรรมชนิดหน่ึง ผู้ แปลภาษาจะต้องคานึงถึงความหมายของคาในภาษาว่ามีความสัมพันธ์ กับภูมิหลังของแต่ละวัฒนธรรมอย่างไร อย่างไรก็ตามการแปลภาษาที่ เก่ี ย ว ข้ อ งกั บ วัฒ น ธ ร รม นี้ อ าจ มี ปั ญ ห า ห ล าย อ ย่ า งท่ี ผู้ แ ป ล ค ว า ม ห า แนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาการการแปลของตนเองให้ได้คาแปล ท่ีเหมาะสมกับความหมายต้นฉบับมากย่งิ ขึ้น การแปลภาษาที่เกี่ยวข้อง กับวฒั นธรรมน้ีเรียกวา่ “การแปลด้วยส่ิงทดแทนทางวัฒนธรรม” ก็ได้ ลักษณะทางภาษาไทยและภาษาเขมร ภาษาไทยกับภาษาเขมรถูกจัดให้อยใู่ นตระกลู ภาษาแตกต่างกัน คือภาษาไทยอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ส่วนภาษาเขมรซึ่งจัดอยู่ใน

-34- ตระกูลออสโตรเอเชียติก และหากกล่าวถึงแบบลักษณ์ทางภาษา (linguistic typology) ชนิดคาแล้ว ภาษาไทยจดั อยใู่ นกลุ่มภาษารูปคา โดด (isolating language) ไม่มีการสร้างคาด้วยการเติมหน่วยคาเติม หน้า เติมหลัง หรือเติมกลาง หรอื ไมม่ ีระบบหนว่ ยคาแปลง สว่ นชนดิ คา ในภาษาเขมรมีแบบลักษณ์ทางภาษาสองกลุ่ม คือ กลุ่มภาษาคาโดด (isolating language) และภาษาคาติดต่อ (agglutinative language) เพราะคาในภาษาเขมรมีทั้งเป็นคาโดด และมีการเติมหน่วยคาเติม (affixation) มีทั้งการเติมหน่วยคาเติมหน้า (prefix) รวมถึงการเติม หนว่ ยคาเตมิ กลาง (infix) อย่างไรกต็ ามลกั ษณะทางภาษาไทยและภาษา เขมรมีทั้งท่ี เหมือนกนั และแตกตา่ ง ดงั ตารางเปรยี บเทยี บตอ่ ไปน้ี ลักษณะ ภาษาไทย ภาษาเขมร ตระกลู ภาษา ตระกลู ภาษาไต-กะได ตระกูลภาษาออสโตรเอเชยี ติค กลุม่ ภาษามอญ-เขมร กลุม่ มอญ- เขมรตะวนั ออก แบบลักษณ์ ภาษาคาโดด ภาษาคาโดดและคาตดิ ตอ่ ทางภาษา รปู อกั ษรและ อกั ษรชนดิ เดียว มกี าร อักษรมี 2 ชนดิ คอื อักษรมูล การเขียน เขยี น และอักษรเชรียง หน่วยเสยี ง มหี น่วยเสียงพยัญชนะ 21 มีหนว่ ยเสยี งพยัญชนะ 21 พยัญชนะ หนว่ ยเสียง มีรปู พยญั ชนะ หน่วยเสียง มีรปู พยัญชนะ 33 และรปู 44 รปู ไมม่ ีพยัญชนะเชิง รูป มพี ยัญชนะเชิง 32 ตัว พยญั ชนะ หน่วยเสยี ง มหี น่วยเสยี งสระ 24 มหี นว่ ยเสียงสระ 28 หนว่ ยเสียง สระและรูป หนว่ ยเสียง มรี ูปสระ 32 มรี ปู สระลอย 14 รูป รปู สระจม สระ รปู 24 รปู หน่วยเสยี ง มหี น่วยเสียงสระ 5 หน่วย ไมม่ ี วรรณยกุ ต์ เสยี ง มรี ปู วรรณยุกต์ 4 และรปู รปู วรรณยุกต์

-35- ลักษณะ ภาษาไทย ภาษาเขมร การสรา้ งคา การประสมคา การซ้าคา การซ้อนคา การสมาส การประสมคา การซา้ คา การ ชนิดของคา การสนธิ การบัญญัติ การ ซ้อนคา การสมาส การสนธิ การ ผสาน และการยืมคา บญั ญตั ิ การผสาน การแผลงคา (เตมิ หน้าคา และเตมิ กลางคา) นาม สรรพนาม กริยา และการยืมคา วเิ ศษณ์ สันธาน บุพบท นาม สรรพนาม กรยิ า วเิ ศษณ์ อทุ าน สันธาน บพุ บท อุทาน การเรียงคา ประธาน - กรยิ า - กรรม ประธาน – กรยิ า – กรรม ในประโยค การเรียง ประธาน – กรยิ า เช่น หัว ประธาน-กรยิ า-กรรม เช่น อกรรมกริยา แตก, ฉัน แตก หัว บางตวั ใน ประโยค ประธาน – นาม – กรยิ า ฉนั หัก ขา ลกั ษณะนาม ฉนั หวั แตก ฉนั ขาหกั วรรคและ มลี กั ษณะนามไวเ้ พ่อื บอก มลี ักษณะนามเช่นเดยี วกบั ไทย ตอน ตัวเลขและ ลักษณะของนามหรอื เพอื่ แต่ในบางครง้ั ไมไ่ ด้ใชใ้ นก็ได้ เช่น การนับ แสดงรปู ลกั ษณแ์ ละชนิด พระหนง่ึ มคี วามหมายวา่ พระ ระดับภาษา ใหช้ ัดเจน มักจะอย่หู ลงั หนง่ึ รปู จานวนนบั เชน่ พระ 1 รูป แมวหนึง่ มคี วามหมายวา่ แมว แมว 2 ตวั หนึ่งตัว ไม่มเี ครอ่ื งหมายสดุ มีเครอ่ื งหมายการสนิ้ สดุ ประโยค ประโยค คือ สญั ญาขนั ธ์ ฯ มีตวั เลขไทย ๐-๙ และมี มีเลขเขมร ๐-๙ มรี ะบบการนบั การนบั จานวนตัง้ แต่ศูนย์ การนับต้ังแตศ่ นู ยถ์ งึ ลา้ น ในอดตี ถึงลา้ น และ ๑๐ ล้านใน มีใชค้ าว่า โกฏิ (๑๐ ลา้ นเท่ากบั อดีตมีใช้คาวา่ โกฏิ (๑๐ ๑ โกฏ)ิ ล้านเท่ากับ ๑ โกฏ)ิ มกี ารใชภ้ าษาเพ่ือการแบง่ มกี ารใช้ภาษาเพ่อื การแบง่ ภาษา

-36- ลกั ษณะ ภาษาไทย ภาษาเขมร ราชาศัพท์ ภาษาเปน็ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ เปน็ 5 ระดับ ได้แก่ ระดับพิธี ระดับพธิ ีการ ระดบั การ ระดบั ทางการ ระดบั กงึ่ ทางการ ระดับกงึ่ ทางการ ทางการ ระดบั สนทนา ระดบั ระดับสนทนา ระดบั กนั เอง กนั เอง มรี าชาศพั ท์สาหรับ มรี าชาศัพท์สาหรับ พระมหากษัตรยิ ์ พระบรม พระมหากษตั รยิ ์ พระบรมวงศา วงศานวุ งศ์ พระภิกษุ ขุน นวุ งศ์ พระภิกษุ ขนุ นาง นางขา้ ราชการ และ ขา้ ราชการ และสุภาพชน สภุ าพชน หากเปรียบเทียบในรายละเอียดด้านหน่วยเสียงแล้ว จะเห็นว่า ภาษาไทยกับภาษาเขมรมีหน่วยเสียงสระและพยัญชนะคล้ายคลึงกัน แต่ แตกต่างกันด้านหนงึ่ เสียงวรรณยุกต์ ดงั นี้ 1. พยญั ชนะไทยกับพยญั ชนะเขมร รูปและเสียงพยัญชนะในภาษาไทยกับภาษาเขมรมีไม่เท่ากัน รูป พยัญชนะไทยมีจานวนมากกว่า แต่เสียงพยัญชนะไทยมีจานวนน้อย ดังตาราง เปรียบเทียบรูปและเสียงพยัญชนะไทยและเขมร ดงั นี้ อักษรเขมร เสยี งอา่ น อักษรไทย เสยี งอ่าน อักษรมูล อักษรเชรยี ง kɑ: ก kɔ: កក khɑ: ข khɔ: kɔ: ค khɔ: ខខ khɔ: ฆ khɔ: ŋɔ: ง ŋɔ: គគ cɑ: จ cɔ: ឃឃ ងង ចច

อักษรเขมร เสียงอ่าน อักษรไทย -37- อกั ษรมูล อกั ษรเชรียง chɑ: ฉ เสยี งอ่าน ឆឆ cɔ: ช ជជ chɔ: ฌ chɔ: ឈឈ ɲɔ: ญ chɔ: ញញ dɑ: ฎ chɔ: ដដ thɑ: ฐ yɔ: ឋឋ dɔ: ฑ dɔ: ឌឌ thɔ: ฒ thɔ: ឍឍ nɑ: ณ thɔ: ណណ tɑ: ต thɔ: តត thɑ: ถ nɔ: ថថ tɔ: ท tɔ: ទទ thɔ: ธ thɔ: ធធ nɔ: น thɔ: នន bɑ: บ thɔ: បប phɑ: ผ nɔ: ផផ pɔ: พ bɔ: ពព phɔ: ภ phɔ: ភភ mɔ: ม phɔ: មម yɔ: ย phɔ: យយ rɔ: ร mɔ: ររ lɔ: ล yɔ: លល rɔ: lɔ:

อักษรเขมร เสียงอ่าน อกั ษรไทย -38- อกั ษรมูล อกั ษรเชรยี ง wɔ: ว เสยี งอา่ น វវ sɑ: ส hɑ: ห wɔ: សស lɑ: ฬ sɔ: ʔɑ: อ hɔ: ហហ lɔ: ʔɔ: ឡឡ អអ ตารางเปรียบเทียบรูปและเสียงพยัญชนะไทยและเขมร ข้างบนน้ี ยึดตามรูปพยัญชนะและเสียงพยัญชนะเขมรเป็นหลัก จะเห็น วา่ ไดว้ า่ รูปพยัญชนะไทยไม่ปรากฏในตารางมีจานวน 11 ตวั คือ ฃ ฅ ซ ฏ ด ศ ษ ป ฝ ฟ และ ฮ เนอ่ื งจากเสียงเหล่านีเ้ ปน็ เสยี งท่ีเหมือนกับเสยี ง พยัญชนะอื่นท่ีมีอยู่แล้ว ในภาษาเขมรปัจจุบันจึงไม่ได้ใส่รูปพยัญชนะท่ี สามารถเปรียบเทียบโดยรูปดังกล่าวนี้ไว้ ส่วนเสียงพยัญชนะภาษาเขมร กว่าพยญั ชนะไทย 1 เสียง คือไมม่ ีเสียง ញ / ɲ / 2. สระไทยกับสระเขมร รปู สระเขมรที่เทียบกับรปู สระไทยในตารางดังกล่าวข้างลา่ ง นี้ รูปสระไทยส่วนใหญ่เทียบได้กับรูปสระจมในภาษาเขมร สัทอักษร ภาษาเขมรใช้ตาม វចនានុក្កមបញ្ចេញសំញ្ឡងភាសាខ្ខែរ ของ Jean-Michel Filippi และ Hiep Chan Vicheth (2016) ดังตอ่ ไปน้ี รูปสระ รปู สระเขมรประสมกบั รูปสระเขมรประสมกบั เขมร ไทย รูปพยัญชนะกลมุ่ ออ รปู พยัญชนะกลุ่ม โอฺ มูล เชรียง อา a: เอยี iə เอะ e อิ i ា ា อา ា ា อิ

-39- รูปสระ รปู สระเขมรประสมกับ รูปสระเขมรประสมกบั เขมร ไทย รูปพยัญชนะกลมุ่ ออ รปู พยัญชนะกล่มุ โอฺ มูล เชรียง เอะฮ eh เอ็ย ɘy ាា ាា - เออะ ɘ อิฮ ih เออะฮ ɘh อี i: ា ា อี เออ ɘ: อึ ɨ โอะ o อึฮ ɨh ា ា อึ โอะฮ oh อือ ɨ: โอว์ o: อุ u ាា ាា - อัว uɜ อุฮ uh เออ aɜ อู u: ា ា อื อัว ua เออะฮ aɜh เออ aɜ: ា ាុ อุ เอีย iɜ เออะฮฺ aɜh ុុ ាាុ - เอือ ɨɜ เอย์ e: เอีย iɜ ា ា อู เออื ɨə เอะฮ eh เอ e: ា ា อัว แอย์ ɛ: เอะฮ ih ើា ញ្ា เอ-ิ เอ็ ai โอ ao แอ ɛ: ញ្ា - เอาะฮ ɔh อึย ɨy ើាា โอ o: อวั ะฮ ɔh ា ើា ញ្ា เอีย ើា ញ្ា เออื ើា ញ្ា เอ ញ្ា - ើាា ា ែា ខ្ា แอ ៃា ៃា ไอ ើា ញ្ា โอ ើា ា ញ្ា เอาะ

-40- รูปสระ รปู สระเขมรประสมกับ รปู สระเขมรประสมกับ เขมร ไทย รปู พยญั ชนะกลุม่ ออ รปู พยญั ชนะกลุ่ม โอฺ มูล เชรยี ง เอา aʊ อึว ɨʊ อ็อม ɑm อุม um ា อม om อุม um อัม am อ็วม oam ើា ញ្ា เอา อะฮ ah เอียะฮ iɜh อะ a เอยี ะ iɜ ា ាំ - ាា ាាុ ំ - ា ា ា ាំ อา ាា - ា ា อะ เมื่อเทียบรูปสระแล้วจะเหน็ ได้วา่ รปู สระในภาษาไทยมนี ้อยกว่า รูปสระในภาษาเขมร เนื่องจากเสียงสระในภาษาเขมรมีจานวนมากกว่า และแตกตา่ งจากเสยี งสระในภาษาไทย เสียงสระในภาษาไทยไมม่ ีเสียง ฮฺ / h / และเสียงสระอีกหลายเสียง อีกประการหนึ่ง รูปสระเกินใน ภาษาไทยสามารถเทียบกับสระลอยในภาษาเขมรได้เช่นเดียวกัน แต่ไม่ ครบทั้งหมด รูปสระลอยภาษาเขมรทั้งหมดมี 14 รูป ดังรายละเอียด ตอ่ ไปนี้ สระเขมร เสยี งอ่าน สระไทย เสยี งอา่ น - អអ ʔɑ: - - អា អា ʔa: - - ឥឥ ʔə - - ឦឦ ʔəy - - ឧឧ ʔɔ - - ឱឱ ʔao - - ឪឪ ʔoʊ -

สระเขมร เสยี งอา่ น สระไทย -41- ฤ បញ បញ rɨ เสียงอ่าน ឬឬ rɨ: ฤๅ ឭឭ lɨ ฦ rɨ ឮឮ lɨ: ฦๅ rɨ: ឯឯ ʔɛe - lɨ ពធ ពធ ʔai - lɨ: ឳឳ ʔaʊ / ʔɨʊ - - - - ก าร เป รีย บ เที ย บ ภ า ษ าเข ม รกั บ ภ าษ า ไท ย ด้ า น รูป แ ล ะ เสี ย ง พยัญชนะและสระน้ี ทาให้ได้ความรู้เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาไทยกับภาษาเขมร และเพ่ือเป็นประโยชน์ในการแปลภาษาเขมร เป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาเขมร เน่ืองจากบางคาศัพท์มีการ เขียนและออกเสียงละม้ายคล้ายคลึงกัน ความสัมพันธ์และลักษณะท่ี คล้ายกันน้ีเอง นักวิช าการห ล ายท่ านได้ให้ความเห็นเก่ียวกับ ความสมั พันธร์ ะหว่างภาษาไทยและภาษาเขมรไว้ เช่น บรรจบ พนั ธุเมธา (2523 : 15) ได้กล่าวถึงลักษณะของภาษาเขมรกับภาษาไทยว่า ภาษา เขมรเป็นภาษาที่มีรูปลักษณะกลุ่มภาษาติดต่อ และจัดอยู่ในตระกูล ภาษามอญ-เขมร ลักษณะสาคัญท่ีทาให้นักภาษาศาสตร์กาหนดเป็น ภาษาคาติดต่ออยูท่ ่ีคาและการสร้างคา ส่วนประโยคและการเรยี งลาดับ คามีลักษณะใกล้เคียงกันกับกลุ่มภาษาคาโดด และเม่ือเทียบกับ ภาษาไทยก็นับว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกันอย่างย่ิง นอกจากน้ี กาญจนา นาคสกุล ยังได้กล่าวถึงความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษาไทยกับภาษาเขมรใน ลักษณะเดียวกันไว้ว่า ภาษาเขมรดูจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทย หลายประการ เช่น การลาดับคาเข้าประโยค การใช้ลกั ษณะนาม การใช้ ราชาศัพท์ เปน็ ตน้ ย่งิ กวา่ นน้ั ภาษาไทยและภาษาเขมรตา่ งก็เปน็ ลกู ศษิ ย์ แขกด้วยกัน คาท่ีใช้ในภาษาเป็นจานวนมากท่ีมีรากศัพท์มาจากภาษา บาลีและสันสกฤตเช่นเดยี วกนั (กาญจนา นาคสกลุ , 2511 : 704-705)

-42- การถา่ ยถอดตัวอักษรเพือ่ การแปล การถ่ายทอดตัวอักษร (transliteration) หรือเรียกว่า การ ปริวรรต มคี วามสาคัญในการแปลโดยเฉพาะการแปลช่ือเฉพาะ เช่น ช่ือ บุคคล ช่ือสถานที่ ชื่อศิลปกรรม ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อเทคโนโลยี เป็นต้น ภาษาไทยและภาษาเขมรมีการถ่ายถอดตัวอักษรเป็นอักษรโรมัน เพื่อ ประโยชนต์ ่อการส่อื สารกับคนตา่ งชาติอ่นื ๆ ที่ใช้อักษรโรมนั ในการเขยี น ชื่อเฉพาะ อักษรโรมนั เรยี กว่า “អកសរឡាតំង” (อกั ษรละตนิ ) การถอดอักษรตามวิธีเขียน (transliteration) ซึงการถ่ายถอด เชน่ น้เี ปน็ การถอดอกั ษรตามวิธีเขียนผู้ทีถ่ อดจะต้องถอดตามตัวอกั ษรทกุ ตัวท่ีมีอยู่ในคาหรือประโยคนั้น เราสามารถสะกดคาและสามารถถอด อักษรกลับไปยังคาเดมิ ได้ การทบั ศัพท์จากภาษาตา่ งประเทศเปน็ ภาษาไทยและภาษาเขมร มีการใช้ท้ังการถ่ายถอดอักษรและเสียง การถ่ายถอดในภาษาไทยและ ภาษาเขมรแตกต่างกันบา้ งในบางตัวอักษร ทาให้เกิดความสับสนในแปล ช่ือเฉพาะท่ีเขียนด้วยอักษรโรมันทั้งในภาษาไทยและภาษาเขมร เช่น นามสกลุ “สาลี” ถา่ ยถอดจากอักษรไทยเป็นอักษรโรมันเป็น “SALEE” แตใ่ นภาษาเขมรถ่ายถอดเป็น “SALY” ในทานองเดียวกนั น้ี การทับศพั ท์ ภาษาต่างประเทศเปน็ ภาษาไทยและเขมรก็มีความแตกต่างกัน เช่นการ ทับศัพท์คาว่า “computer” ในภาษาไทยใช้ว่า “คอมพิวเตอร์” ใน ภาษาเขมรใชว้ ่า “កំពយូទ័រ” หากอา่ นออกเสยี งกจ็ ะแตกตา่ งกัน นอกจากน้ี ยงั มกี ารถอดตวั เลขดว้ ย แสดงให้เหน็ วา่ ไม่ว่าจะเปน็ ภาษาไทยและภาษา เขมรกใ็ ชว้ ิธีการถ่ายถอดตวั อักษร (transliteration) ท่ีอาศัยทั้งหลักการ เทียบอักษรและเสียงของภาษาต้นฉบับ จึงเปรียบเทียบการถ่ายถอด อักษรไทยและเขมรเป็นอักษรโรมัน เพ่ือให้เห็นความเหมือนและความ แตกตา่ งในการถ่ายถอดอกั ษรของไทยและเขมร อันจะเป็นประโยชน์ต่อ การแปลภาษาทงั้ สองในโอกาสต่อไป การถ่ายถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน ประเทศไทยได้ยึดตาม หลักเกณฑ์การถ่ายถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) ส่วนการถ่ายถอดอักษร

-43- เขมรยึดตามราชบัณฑิตยสภากัมพูชา ( )រាជបណឌ តយសភាកមពុជា, ២០២០ ดงั ต่อไปน้ี การถา่ ยถอดพยญั ชนะเขมรและไทย พยัญชนะ เขมร ทา้ ย พยัญชนะ ไทย ทา้ ย ต้น kก ต้น ក k ខ k k k គ kh k ឃ k kh ข,ฃ kh k ង kh ng ច ng k ค,ฅ kh t ឆ ch t ជ chh kh ฆ kh t ឈ ch t ញ chh ng ง ng n ដ nh t ឋ d ch จ ch t ឌ th t ឍ d chh ฉ ch t ណ th n ត n ch ช ch t ថ t t th chh ฌ ch nh ญ y d ฎ, ด d th ฐ th d ฑ d, th th ฒ th nณ n t ตฏ t th ถ th

พยัญชนะ เขมร ทา้ ย พยัญชนะ ไทย -44- ต้น tท ต้น ទ th ธ ทา้ ย ធ t nน th ន th bบ th t ប n ph ผ n t ផ b pพ b n ព ph ph ภ ph p ភ p mม ph p ម ph yย ph p យ m -ร m p រ y lล y m ល r vว r - វ l h สศษซ l n ស v - หฮ w l ហ s lฬ s - ឡ h h t អ l - l - ប៊ a, or l ប៉ b b p ហគ p p ហន g pป ហែ n m g n m

พยัญชนะ เขมร ท้าย พยญั ชนะ ไทย -45- ต้น ตน้ ทา้ ย ហល l l f p ហវ p ฝฟ ហស f j j การถา่ ยถอดสระในภาษาเขมร สระจม รปู สระ กลมุ่ ออ กลุม่ โอ รูปสระ กลุ่ม ออ กลมุ่ โอ អ a or ា a ea ា e e ា ei,ey ey ា oe oe ា eu eu ាុ o u ា au,o ou ា au,o ou ញ្ា oeu oeu ញ្ា oeur oeur ញ្ា ie ញ្ា e e ខ្ា ie e ៃា ai ey ញ្ា e o ញ្ា ao eou ាាុ ំ or um ា ាំ am oam ាំ om oum ា as eah ាុា am ous ញ្ាា es es ញ្ា ា os uos ា a ea as,o

สระลอย -46- รูปสระ โรมนั รปู สระ โรมนั รปู สระ โรมัน អ a អា a ឥ e ao ឦ ei, i ,e ឧ o, u ឱ roe leu ឪ ov ឰ ai ឫ ឬ reu ឭ loe ឮ ឯ ae ឳ uv การถ่ายถอดสระในภาษาไทย ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน รูปสระ โรมนั รูปสระ โรมัน อะ, -ั , รร (มตี วั สะกด), อา a รร (ไม่มตี วั สระกด) an อา am อ,ิ อี i u อ,ึ อื ue อุ, อู ae oe เอะ, เ-็ , เอ e แอะ, แอ ua ao โอะ,(โอะลดรปู ), โอ, เอาะ, ออ o เออะ, เ-ิ , เออ oi ueai เอียะ, เอีย ia อวั ะ, อวั , -ว- io aeo ใอ, ไอ, อยั , ไอย, อาย ai เอา, อาว rue อุย ui โอย, ออย เอย oei เอือย อวย uai อิว เอว็ , เอว eo แอ็ว, แอว เอยี ว Iao ฤ (ร)ึ

รูปสระ โรมัน รปู สระ -47- ฤ (ร)ิ ri ฤ (เรอ) โรมัน ฦ, ฦๅ lue roe ส่ิงทดแทนทางวัฒนธรรมกับการแปล ส่ิงการทดแทนทางวัฒนธรรม(cultural substitution) หมายถึง แปลภาษาภาษาต้นฉบับท่ีวัฒนธรรมเฉพาะเป็นภาษาแปลโดยใช้คา แทนที่มีความหมายเหมือนกันหรือมีความหมายเท่ากัน การแปลใน ลกั ษณะน้ีถือวา่ เป็นการแปลที่ดีที่สุดเพราะเป็นการแปลที่วเิ คราะห์และ คานึงถึงวัฒนธรรมของภาษาต้นฉบับและภาษาแปลว่ามีความแตกต่าง กนั อย่างไร จะปรบั ใหเ้ ป็นวัฒนธรรมของภาษาแปลอย่างไร ผแู้ ปลจงึ ตอ้ ง มีความรู้ท้ังด้านภาษาและวัฒนธรรมของภาษาต้นฉบับและภาษาแปล อยา่ งล่มุ ลกึ มิเชน่ นั้นจะทาให้การแปลเกดิ ความผิดพลาดได้ ซึง่ การแปล ชนิดน้ีถือว่าเป็นสิ่งที่ยาก แต่หากปฏิบัติได้จะทาให้งานแปล ท่ีดี เช่น สรรพนามวา่ “ผม” ในภาษาไทย แต่จะต้องแปลว่า “ខញំុករណុ ា” หรือ “ខញុំ ក្នន” เม่ือใช้กับพระสงฆ์ในภาษาเขมร ซ่ึงจะไม่ใช้คาว่า “ខញំុ” หรอื “ខញុំបាទ” ผแู้ ปลจะต้องคานึงถึงบริบท สถานะของคานั้น ๆ ว่ามีความหมายและ หมายถึงสงิ่ ใด จะต้องใช้คาทดแทนซ่ึงมีสถานะเท่าเทียมกนั พัชรี โภคาสัมฤทธิ์ (2555) ได้รวบรวมการแปลด้วยสิ่งทดแทน ทางวัฒนธรรมท่ีพบในเอกสารแบ่งออกเป็น 10 ชนิด ได้แก่ 1. การแปล บุคคล 2. การแปลสตั ว์ 3. การแปลส่ิงของ 4. การแปลศาสนาและความ เชือ่ 5. การแปลเวลา ช่ัว ตวง วดั 6. การแปลสถานท่ี 7. การแปลอาหาร 8. การแปลคาอุทาน 9. การแปลสุภาษติ 10. การแปลสานวน นอกจากนี้ พัชรี โภคาสัมฤทธิ์ (2555 : 47) ยังได้อภิปรายไว้ว่า เทคนคิ ทผี่ แู้ ปลใช้มากทีส่ ุดกค็ ือ การแปลตรงตัว และทกุ คนเห็นวา่ การใช้ เทคนิคการแปลด้วยสิ่งทดแทนทางวัฒนธรรมนั้นทาได้ยากท่ีสุด แต่ทุก คนท่ีเป็นนักแปลจะต้องเคยใช้เทคนิคการแปลด้วยสิ่งทดแทนทาง วัฒนธรรม

-48- การนาเทคนิคการแปลด้วยสิ่งทดแทนทางวัฒนธรรมในระหว่าง ภาษาเขมรกับภาษาไทย เนื่องจากวัฒนธรรมไทยและเขมร บางอย่างมี ความละม้ายคล้ายคลึงกัน แต่บางอย่างก็มีมุมมองและมโนทัศน์ทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป ในที่นี้จึงนาข้อมูลการแปลโดยใช้ส่ิงทดแทน ทางวัฒนธรรม โดยนาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เอกสาร งานวิจัย พจนานุกรม และเวปไซต์ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาบทละคร เรื่อง “ปดวิ รดั า” เปน็ ละครที่มกี ารแปลบทและเผยแพร่ในประเทศกมั พูชาโดย สถานี โทรทัศน์ PNN พนมเปญ สาหรับการแปลด้วยสิ่งทดแทนทาง วฒั นธรรมในทน่ี ้ีใชแ้ นวทางของ พชั รี โภคาสัมฤทธ์ิ (2555) ท่ีไดร้ วบรวม ไว้มาศกึ ษาวิเคราะห์การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและไทยเป็นเขมร ดังตอ่ ไปน้ี 1. การแปลเกี่ยวกับบุคคล การชือ่ ยศ ตาแหน่ง คานาหนา้ บุคคลในตานานและวรรณคดีจะ แปลโดยมีการปรับบทจากภาษาต้นฉบับเป็นฉบับแปลโดยใช้คาทดแทน ทางวฒั นธรรม เช่น 1.1 การแปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาต้นฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล ញ្ោកជំទាវបណឌ តសភាចារយក្បធាន นายกราชบณั ฑติ สภากมั พูชา រាជបណឌ តសភាកមពុជា รฐั มนตรีกระทรวงศึกษาธกิ าร ឯកឧតតមរដមឋ ន្តនកត ្កសងអប់រំ យុ វជន เยาวชน และกีฬา នងកឡា ឯកឧតតមក្បធាននាយកដ្ឋឋនរប់របំ ាន ทา่ นผอู้ านวยการกองการศกึ ษา អញ្ចជញមកដល់ ញ្ហយ។ มาถงึ แล้ว ឯកឧតតមនាយឧតតមញ្សនយ៍នន សំណាងមានពាកយបញ្ជជ ដល់ឧតតម พลเอกนวน ซอ็ มณางมีคาสง่ั ให้พล ញ្សនយ៍ឯកជំុ ស៊នុ ណាងដឹកនាំពលញ្ទា โทจุม ซุนนาง พาพลทหารท้งั หมด ไปสมรภมู ิ ពលឯកទាងំ អស់ញ្ៅសមរភម។

-49- 1.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาต้นฉบบั (ภาษาไทย) ภาษาแปล อธิบดีกรมความรว่ มมือระหวา่ ง ประเทศเป็นประธานเปดิ การ ញ្ោកជំទាវអគគនាយកនាយក្ឋននសហ ประชุมความรว่ มมอื ระหวา่ งไทยกบั ក្បតបតតក្នរអនតរជាតបានអញ្ចជញជា กมั พชู า អធបតកនុងកចកេ ្បជំុញ្ន កចេសហ ក្បតបតតក្នររវាងក្បញ្ទសកមពុជានងៃថ។ พลตารวจเอกจกั รทพิ ย์ ชัยจินดา ผู้ ឯកឧតមត នាយឧតតមញ្សនយ៍ចក្កធប บญั ชาการสานักงานตารวจแหง่ ชาติ ឆ័យចនាត អគគសនងក្នរនគរបាលជាត สั่งให้เจ้าหน้าทตี่ ารวจเอาใจใส่และ បញ្ជជ កមាល ំងសមតថកចេនគរបាលឱយយក รับผดิ ชอบเพ่ือรกั ษาความสงบสขุ ចតតទុកដ្ឋក់ នងទទលខុសក្តូវខពស់ របស់ ของประชาชน កមាល ំងសមតថកចេនគរបាលខ្ថរកាសនត ริน : นคี่ ่ะท่านเจา้ คุณ นคี่ ่ะ សខុ ជនក្បជាពលរដឋ។ คณุ หญงิ (ปดวิ รดั า) រន ៖ ញ្ន បា៉ក់រន ញ្ន ញ្ោកជំទាវ (ឧតមដ ភរយា) การแปลดว้ ยส่ิงทดแทนทางวัฒนธรรมด้านการแปลบุคคลน้ีจะมี ตาแหน่ง ยศ และฐานะทางสังคมวัฒนธรรมทั้งไทยและเขมรมีใช้ท้ัง เหมือนกนั และแตกต่างกันไป เช่น คาว่า ឯកឧតតមក្បធាន และ ញ្ោ កជំទា វក្បធាន เป็นตาแหน่ง หัวหน้างาน แต่ในราชบัณฑิตสภากัมพูชา ได้แต่งต้ังตาแหน่งอีกหนึ่ง ตาแหน่งคือ បណឌ តសភាចារយ จึงใช้คาว่า ញ្ោកជំទាវបណឌ តសភាចារយក្បធាន หากเป็นผู้ชายจะใช้คาว่า ឯកឧតតមបណឌ តសភាចារយក្បធាន สาหรับในสา งานงานราชบัณฑิตยสภาไทยใช้คาว่า นายกราชบัณฑิตยสภา เม่ือแปล จากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยอาจแปลว่า นายกหรือประธาน แต่จะไม่ แปลว่า ฯพณฯ นายกราชบัณฑิตสภา

-50- คาว่า ឯកឧតតម เป็นคานาหน้าเรียกผู้ชาย และคาว่า ញ្ោកជំទាវ เป็ น ค า น าห น้ า เรี ย กผู้ ห ญิ ง ซึ่ง ด ารงต า แห น่ งเป็ น หั ว ห น้ าห น่ วย งา น ใน หน่วยงานราชการระดับกองในประเทศกัมพูชาขึ้นไป ซ่ึงแปลจากคา อังกฤษวา่ H.E. (His/her Excellency) แต่เมือ่ นามาแปลเป็นภาษาไทย ต้องดูตาแหน่งว่าสมควรแปลว่า ท่าน หรือ ฯพณฯ เพราะไทยใช้คาว่า ฯพณฯ ในเป็นคานาหน้าเรียกบุคคลดารงตาแหน่งในระดับประธาน องคมนตรี นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ประธานศาล และประธานรัฐสภา สว่ นตาแหน่งนอกน้ีให้แปลวา่ ท่าน เชน่ ឯកឧតមត ក្បធាននាយកដ្ឋឋន... ผอู้ านวยการกอง..... ឯកឧតតមអគគនាយកនាយក្ឋនន... อธิบดกี รม.... ឯកឧតតមសាកលវជិ ាជ ធក្នរ อธกิ ารบดี 2. การแปลสตั ว์ 2.1 การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล มีชา้ งหน่ึงตัวใหญ่กว่าตัวอื่น មានសតដថ រំ មយកាលធជំ ាងញ្គ។ ឆ្ែមមនខ្លលចកណត រុ ញ្ទ ។ แมวไม่กลัวหนูหรอก បងងគ กุ้งชนดิ ใหญ่ เชน่ กุ้งกุลา ก้ามกราม បង្គគ และก้งุ หลวง เปน็ ตน้ កំពស กุง้ ขนาดเล็ก សតកវ ្ត, ក្ត กุ้งฝอย ปลา

-51- 2.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาไทย) ภาษาแปล ฉันได้ปลามาหน่งึ ตวั ខញបំុ ានក្តមយ។ ฉนั เลี้ยงชา้ งหนงึ่ เชอื กไว้ในสวน ខញចំុ ចមជ សតដវ ំរមយកាលញ្ៅកនុងសនឆា។ 3. การแปลสิ่งของ 3.1 แปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาต้นฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล เครอ่ื งใช้ในครวั เรือนอาจทาใหห้ ญงิ របស់របរញ្ក្បក្បាស់កនុងផទ អាចញ្ធវន្តសមត ានៃផទ ตงั้ ครรภแ์ ทง้ ได้ ញ្ពា រលតកនបាន។ កុំពយូទ័រគជាមា៉សនុ ខ្ដលអាចឲ្យញ្យងញ្ធវ คอมพิวเตอร์เปน็ เคร่อื งมอื ทีท่ าใหเ้ รา ក្នរង្គរបានយាង៉ ញ្ក្ចនដចជា វាយអតថបទ ทางานได้มากมาย เช่น การพมิ พ์ ជាញ្ដម។ บทความ เป็นต้น 3.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาไทย) ภาษาแปล ศรัณย์ : นี่เสอ้ื ผ้าหลอ่ นรึ សរន័ ៖ ញ្ន ជាញ្ខ្លអាវរបស់អនកនាងខ្មន (ปดิวรัดา) ញ្ទ? (ឧតមដ ភរយា) บราลี : เราไมไ่ ด้ว่าคณุ พ่อ เราวา่ បារន ៖ ញ្យងមនបានថាឱយញ្ោកបា៉ក់ ខ្ត สัญญาคลมุ ถุงชนนน้ั มินา่ ละ ញ្យងថាកចសេ នាផសំផញំត ្នា អចងេ ทาไมคุณแม่ถงึ เรง่ รดั เร่อื งฉัน ថាបានអនកបងខំខ ញនុំ ងញ្ោកផនត กับคณุ พณิชนกั (ปดิวรดั า) ខ្លលងំ ញ្មល៉ ។ (ឧតមដ ភរយា) ริน : พอดวี า่ หนูจะไปสถานรี ถไฟขอ រន ៖ ខញុសំ មញ្ដ្ឋសារញ្ដ្ឋយសារញ្ឡងសាថ នយ៍ ตดิ รถไปดว้ ยได้ไหมคะ่

-52- (ปดวิ รัดา) រថញ្ភលងបានញ្ទ? (ឧតមដ ភរយា) ริน : รถไฟไปพระนครจะออกอีก រន ៖ រញ្ទ ញ្ភងល ញ្ៅក្ព នគរនងញ្ចញដញំ ្ណរ คร่ึงช่วั โมง นม่ี ันไมใ่ ช่ทางไป កនល ញ្មា៉ងញ្ទ តញ្ន មនខ្មនផូលវញ្ៅ สถานรี ถไฟ นี่ นค่ี ณุ ศรณั ย์คุณ សាថ នយ៍ញ្ទ ញ្ោកសរន័ ញ្ោកចងន់ ាខំ ញុំ จะพาฉนั ไปไหนเนยี่ (ปดวิ รดั า) ញ្ៅណា? (ឧតមដ ភរយា) การแปลข้อความทเ่ี กีย่ วข้องกับสง่ิ ของ บางคร้ังมีการใชค้ าหลาย คาในความหมายเดียวกันเช่น คาว่า รถไฟ ในภาษาไทย ในภาษาเขมร ใช้ได้หลายคา คือ រថញ្ភលង រញ្ទ ញ្ភលង และบางครั้งการมโนทัศน์ในการมอง สิ่งของเคร่ืองใช้ของเขมรอาจมีการมองแตกต่างกันกับไทยในบางเร่ือง เชน่ คาว่า เสอ้ื ผ้า หากแปลตรงตัวกค็ ือ អាវសពំ ត់ แตห่ ากจะแปลอย่างนนั้ ไม่ได้ ต้องใช้คาทดแทนทางวฒั นธรรมคือ ខអាវ ซึง่ แปลเทยี บกลบั คาไทย วา่ กางเกงเสอ้ื เป็นต้น 4. การแปลศาสนาและความเช่อื 4.1 แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ภาษาต้นฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล พระคณุ เจา้ นมิ นตไ์ ปไหนครับ/ค่ะ ញ្តជគុណនមនញត ្ៅណា? អនកភមកំពុងបជាសពញ្ោកក្គូ។ ชาวบา้ นกาลงั ฌาปนกจิ ศพคุณครู ក្ព ញ្តជគុណក្ព ក្គូមានដីក្នថាសមឱយ ញាតញ្ញាមជយគ្ននសាងសង់ក្ព វហិ ារ។ ทา่ นพระครไู ด้กล่าววา่ ขอให้ญาติโยม ช่วยกันสรา้ งพระวิหาร 4.2 แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมร ภาษาต้นฉบับ (ภาษาไทย) ภาษาแปล เสนอ : หรือลักยมแกลง้ (ปดิวรดั า) ញ្សន ៖ ឬក៏ក្នរញ្ធវបាបគ្នន ។ (ឧតមដ ភរយា) รนิ : ผบี ้านผีเรือนมากวา่ រន ៖ វាមនក្គប់បញ្ក្ចនជាង ។ (ឧតមដ

-53- (ปดิวรัดา) ភរយា) ញ្សន ៖បកសវាប៉មមក។ កំខ្បលងបានញ្ហយ เสนอ : นกยกั ษ์ นกยกั ษ์คาบมา ตลก พอแล้ว เศร้าดีกวา่ (ปดิวรดั า) ញ្ក្ក មញ្ក្ក្នមវញិ ណាស់។ (ឧតមដ ភរយា) แจว๋ : นีจ่ ะ๊ เออ่ ทาไมพ่รี ินต้องกราบ ខ្ចវ ៖ ញ្ន ចាា៎ ញ្អ! ញ្ហតអុ បានជាបងរនសំ พระหา้ คร้งั ดว้ ยละ ព ក្ព ចនំ នក្បាំដង (ឧតមដ ភរយា) จะ๊ (ปดิวรัดา) รนิ : พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ រន ៖ ក្ព ពុទធ ក្ព ធម៌ ក្ព សងឃ បាក៉ ់នង พอ่ และแม่ ของฉนั ไม่มีพ่อแม่ មា៉ក់ ញ្តខញំុគ្ែននបា៉ក់មា៉ក់ បាក៉ ់មាក៉ ់ พอ่ แม่ของฉันกค็ ือ ท่านเจ้า ខញគំុ បាក៉ ់រននងញ្ោកជំទាវញ្នា ញ្អយ (ឧតមដ ភរយា) คุณกับคุณหญงิ ไงจ๊ะ (ปดวิ รดั า) คาศัพท์เรียกช่ือบุคคลในศาสนาและความเช่ือในสังคมเขมรกับ ไทย มีหลายคาท่ีสามารถแปลแบบเทียบคาหรือแปลตรงตัวได้เลย เช่น คาว่า พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ก็แปลเป็นภาษาเขมรวา่ ក្ព ពុទធ ក្ព ធម៌ ក្ព សងឃ ญาติโยม แปลว่า ញាតញ្ញាម เป็นต้น แต่ก็มีหลายคาที่ไม่ สามารถเทียบได้ เช่น ลักยม ในสังคมเขมรอาจไม่นิยมหรือไม่มี ก็ต้อง แปลเป็นอย่างอื่นแปลเป็น ក្នរញ្ធវបាប และคาว่า ผีบ้านผีเรอื น แปลเป็น វា មនក្គប់ប ดังตัวอยา่ งทไ่ี ดย้ กไว้ 5. การแปลเวลา ชง่ั ตวง วัด 5.1 แปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาต้นฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล ពកញ្យងនយាយគ្ននថាញ្ចញដំញ្ណរញ្មា៉ង พวกเราพดู กันวา่ ออกเดินทางตี 5 แต่ วา่ ผมตน่ื เวลา 05.15 นาที คงต้องรอ ៥ ក្ពក ខ្តខញំុញ្ក្ក្នកញ្មា៉ង ៥:១៥ នាទ พบกนั กอ่ น 7 โมงเชา้ แล้วค่อยออก ទក្មាំខ្តចាជំ ុំគ្ននញ្មា៉ងជិត៧ញ្ទបញ្យង

-54- ញ្ចញដំញ្ណរញ្ៅ។ เดินทาง មា៉សុនវាស់កក្មតខ្ផសងពុលកនុង បរយាក្នស រមចំខ្ណករកាបរសាថ នញ្ៅ เครือ่ งวดั ควนั ดาในอากาศมีสว่ นรว่ ม តំបន់អងរគ ។ (เวปไซต์) ในการรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี มือง គ្នត់ វាល់ ក្សូវទុកញ្ឃញថាផលក្សូវថយ พระนคร (อังกอร)์ ញ្ក្ចន។ แกตวงขา้ วไวเ้ ห็นวา่ ผลผลติ ขา้ ว ลดลงมาก 5.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาต้นฉบบั (ภาษาไทย) ภาษาแปล ชัย : ไดค้ รบั รอสักครู่นะครบั ถ้า ៃឆ ៖ បាទ អចងេ សចំុ ាំមយបនចត ណាញ្ៅ อยา่ งน้นั ผมไปถามพนักงาน សរបុគលគ កសនមកញ្មាង៉ បុ៉នាែ ន។ ก่อนวา่ เจา้ ของ มากี่โมงครบั (ឧតមដ ភរយា) (ปดวิ รัดา) មាក៉ ់សរន័ ៖ សនានងមា៉ក់ខ្បបញ្ន ញ្ធវ คณุ หญงิ แก้ว : อมื รับปากแมอ่ ย่างน้ี ដញំ ្ណរសបាយចតញត ្ៅខ្ហកឋនិ คอ่ ย เดนิ ทางสบายใจ เด๋ยี วจะ ជាមយភរយាញ្ោកឮអភបាល ไป ทอดกฐนิ กับภรรยาท่าน ក្សុកបានបនក្បាៃំ ថសៃ រន័ មាន นาย อาเภอสกั ส่ีหา้ วัน ศรัณย์ ក្បពនញធ ្ៅញ្មលខុសក្តូវញ្ៅណា มี เมยี คอยดูแลไปไหนมาไหน មកណាសបាយចតបត នចត ។ ค่อยสบายใจหน่อย (ปดวิ รัดา) (ឧតមដ ភរយា) การนบั เวลาของเขมรกับไทยมที ัง้ เหมือนแตกต่างกนั คาว่า เวลา ในภาษาเขมรใชค้ าวา่ ញ្មា៉ង และการวางคาว่า ញ្មា៉ង ในประโยคบอกเวลา คือหากวางไว้ข้างหน้าเลขบอกเวลาจะหมายถึง เวลา หากวางหลัง หมายถึงระยะเวลา อีกประการหน่ึงในภาษาเขมรใช้ระบบการนับ แบ่งเป็น 12 ช่ัวโมง ในภาษาพูดก็ไม่มีคาว่า ตีและทุ่มเหมือนภาษาไทย

-55- ดงั น้ัน คาว่า เวลาตหี ้า ในภาษาไทยจะต้องแปลเป็นภาษาเขมรว่า ញ្មា៉ង ៥ ក្ពក หรือ ញ្មាង៉ ៥ ទាបភល 6. การแปลสถานท่ี 6.1 แปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาต้นฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล สถานทีท่ ่องเที่ยว 3 แห่งดงึ ดดู តបំ ន់ញ្ទសចរណ៍ ៣ ទាក់ទាញញ្ភៀញ វញ្ក្ចន นกั ท่องเทีย่ วมากท่ีสุดในจังหวดั โพธิส์ ัต បំផតុ ញ្ៅញ្ខតញត ្ពាធស៍ិ ាត់។ រកញ្ឃញរបមនសត ាងសង់ក្បាសាទសម័យ ค้นพบสูตรการสร้างปราสาทสมัยพระ អងរគ นคร ញ្ហតអុ វបានជាក្បាសាទអងរគ វតសត ាងសង់ ខ្បរមុខញ្ៅទសខ្លងលច។ เพราะเหตใุ ดปราสาทนครวัดจงึ สร้าง ផទ លកខណ ខ្បបណាញ្ទបក្តូវតមកបួនហុ ង หันหน้าไปทางทิศตะวนั ตก សយ៊ុ ลักษณะบา้ นแบบใหนจงึ จะถูกต้องตาม ตาราฮวงจยุ้ 6.2 แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมร ภาษาต้นฉบบั (ภาษาไทย) ภาษาแปล กานนั : เฮย้ พูดให้มนั ดๆี ใช่ว่าเป็น ញ្មឃុំ៖ ឯងញ្លកនយាយញ្ៅមនខ្មនបា៉ឡាត់ ปลัดจะ พดู หมาๆ แบบน้ีได้ មកនយាយខ្បបញ្ន បានញ្ទអនក คนแถวเนี่ยมนั แรงรไู้ วด้ ว้ ย ញ្ៅទញ្ន វាខ្លលំងឲ្យវាដឹងផង។ (ปดวิ รดั า) (ឧតមដ ភរយា) เสอื บาง : ถึงเวลาตายแล้วไอป้ ลดั ไปลง ខ្លលបាង៖ ដល់ញ្វោសាល ប់ញ្ហយអាបា៉ឡាត់ นรกซะเถอะมงึ (ปดวิ รดั า) ញ្ៅចុ នរកណាឯា៎ ង។ (ឧតមដ ភរយា)

-56- สถานท่ีในภาษาเขมรกบั ภาษาไทยอาจแปลตรงตัวได้เลย เพราะ มีภูมิประเทศติดกัน สถานท่ีบางอย่างทั้งไทยและเขมรรู้จักมักคุ้นเป็น อย่างดี แตก่ ม็ ีบางคาทใี่ ชค้ าเดียวกนั แต่ความหมายแตกต่างกัน เช่นคาวา่ តបំ ន់ ในภาษาเขมรมีความหมายถึงพ้ืนที่และบริเวณ แต่ในประเทศไทย ใช้ในความหมายเป็นเขตการปกครอง 7. การแปลอาหาร 7.1 แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล อาหารและเครอ่ื งดื่มที่ควรหลกี เล่ียง អាហារ នងញ្ភសជជ ខ្ដលគរខ្តញ្ជ សវាង ตอนต้ังครรภ์ ញ្ៅញ្ពលមានៃផញទ ្ពា ។ ក្នរលក់ញ្ភសជជ ញ្ៅកមពុជាកំពុងញ្កនញ្ឡង การขายเครอื่ งดืม่ ในกมั พูชากาลงั ขยายตวั เพิ่มข้ึน ញ្ភសជជ កនុងក្សុកមយញ្ន មនខ្លលចបង្ាគញ เครื่องดม่ื กัมพชู ายี่ห้อหนึง่ ไมก่ ลัวท่ีจะ លខតបញ្ជជ ក់គណុ ភាព។ เขียนคาบรรยายคุณภาพของเครื่องดืม่ ទទលទានញ្ភសជជ បញ្ងនក ថាមពលអាច ផលត ់ ផលអាក្កក់ដល់ញ្ប ដង នងញ្ធវឱយសមាព ធ ดืม่ เคร่อื งดืม่ ชกู าลังอาจสง่ ผลร้ายกบั หัวใจและทาให้ความดนั สงู ឈាមញ្កន 7.2 แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมร ภาษาตน้ ฉบบั (ภาษาไทย) ภาษาแปล สาย : ฮมึ ! ไอ้นา้ พริกลงเรอื มันจะ សាយ ៖ ហ! អាញ្ក្គ ងបុកនងវាញ្ៅពបាកអ ไปยาก อะไร โถเอย! มาน่ี ពុញ្ទាធ ញ្អយចាញំ ្មលណា ញ្យងញ្ធវក៏ បានខ្ដរអាទកញ្ក្គ ងបុកញ្នា ញ្ទ។ เลยฉนั กท็ าได้ น้าพรกิ ลงเรือ (ឧតមដ ភរយា) (ปดิวรดั า) สาย : กใ็ สน่ ไี่ งหอม หอมก็ សាយ ៖ ដ្ឋក់ខទមក្កហម ចលគ្ននបង្គគញ្ក្ក ម เหมือนกัน นี่ กุง้ แห้งใส่ลงไป ដ្ឋក់បុកចលគ្ននញ្ហយ បុកៗៗ អា៎យ

-57- ก็ โขลกๆๆ โถเอ่ยไมเ่ หน็ จะ ពុញ្ទាធ ញ្អយវាមានញ្ៅពបាកអ ยากอะไรเลย คดิ ว่าทาเป็น សាែ នថាញ្ច ញ្ធវខ្តមាេ ក់ឯងហា៎ ញ្យង คนเดยี ว ของฉนั อร่อยเร่อื ง ក៏ញ្ច បុកខ្ដរ ។ (ឧតមដ ភរយា) ชื่อเลย (ปดวิ รัดา) ញ្សន ៖ អនកក្សមនខ្មនខ្ថខ្តសនចារខ្ត เสนอ : คณุ นายไมใ่ ชท่ าสวนอยา่ ง មា៉ងញ្ទ ទកញ្ក្គ ងខ្ដលញ្ោក เดยี วหรอกครับ นา้ พริกที่ ក្បសុ ចលចតញត ្ខ្លអាវនងញ្ក្គ ងផទ คุณหนูชอบ ผา้ ทอ่ี บและก็ សខំ ្បង ជាញ្ធវញ្ដ្ឋយអកន ក្សទាងំ พวกเครื่องเรือนใน บา้ น អស់ទាន។ (ឧតមដ ភរយា) ฝมี อื คุณนายทงั้ หมดครบั (ปดิวรดั า) อาหารในวัฒนธรรมการกินของไทยและเขมรมีท้ังเหมือนและ แตกต่างกันไป เช่น มโนทัศน์เก่ียวกับช่ือเรียก น้าพริก ของคนไทยกับ เขมรแตกต่างกัน หากแปลตรงตัวก็จะไม่ได้ความหมาย ก็ต้องใช้คาว่า ញ្ក្គ ងបុក หรือ ទកញ្ក្គ ង และคาว่า กุ้ง ในวัฒนธรรมเขมรแบ่งออกเป็นอยา่ ง ถ้า กุ้งแห้ง ในวัฒนธรรมไทยเป็นกุ้งท่ีทาจากกุ้งขนาดเล็ก เขมรเรียกกุ้ง แห้งประเภทนี้ว่า បង្គគ ภาษาพูดเรียกว่า ហប៊ី แต่ถ้ากุ้งสดขนาดเล็ก เรียกว่า កំពស กุ้งสดขนาดกลาง เรียกว่า បង្គគ และกุ้งสดขนาดใหญ่ เรียกว่า បងងគ หากใชค้ าผิดความหมายก็ผดิ เพี้ยนไปดว้ ย “น้าพริกลงเรอื ” ไม่มีในวฒั นธรรมเขมร เม่ือแปลเปน็ ภาษาเขมร จงึ ต้องเลือกสรรคาเก่ียวกับอาหารท่ีมีลักษณะคลา้ ยคลึงกันมากท่ีสดุ จึง แปลวา่ ទកញ្ក្គ ងបុក หากแปลตรงตัวความหมายผิดเพ้ียนไป 8. การแปลคาอุทาน 8.1 แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาเขมร) ภาษาแปล អ! កនញ្ន សាា តណាស់ញ្ត។ โอ! ลูกคนนี้สวยมากเลย

-58- ภาษาตน้ ฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล ពុញ្ទាធ !ផទ គ្នត់ក្តូវញ្ភលងញ្ឆ អស់បាត់ញ្ៅ โธเ่ อย๋ ! บ้านของเขาถกู ไฟไหม้หมดแล้ว ញ្ហយ។ อืม! น่ีเองคือความสุขใจอนั แทจ้ รงิ ของ ឱ! ញ្ន ញ្ហយគជាញ្រ ងសបាយពត ฉนั ក្បាកដរបស់ខញំុ។ (សខុ ចានផល, 2008 : 10) เฮ่ย! เอง็ จะเดนิ ไปไหนละ ញ្អ! ឯងញ្ដរញ្ៅណាហន ង? (សខុ ចាន ផល, 2008 : 10) 8.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาตน้ ฉบบั (ภาษาไทย) ภาษาแปล ริน : โอ้ย รินเต้นไม่เปน็ ค่ะคุณหนู រន៖ ខញុំមនញ្ច រាំញ្ទអនកនាង។ (ឧតមដ ភរយា) (ปดวิ รัดา) ញ្ោកជំទាវខ្កវ ៖ សមបខ្តបាយក្សួលក៏ធុម คณุ หญิงแก้ว : อืม เฮอ แม้แต่ข้าวสวย កលនក្បក្កត អាហារអនកវាំងខ្មន ยังหอมกว่าปกติ อาหารชาว ញ្ទ ។ (ឧតដមភរយា) วังใช่ไหม (ปดวิ รัดา) រន ៖ ញ្អយៗ (ឧតដមភរយា) ริน : โอย๊ ๆ ๆ ๆ (ปดิวรดั า) ញ្សម ៖ ហា៎ ! គបងក្បាប់ (ឧតដមភរយា) เสรมิ : เอ้า ! กพ็ ี่บอก... ញ្សម៖ អា៎យ! ខ្ខសខ្ភកន ដចជាសភុ ាពនារ (ปดิวรดั า) (ឧតមដ ភរយា) เสนอ : โหย !! สายตาพฆิ าตนารี សរន័ ៖ ហ! ខញញុំ ្ឆយល ថាមនចលចតត ខ្តញ្គមន (ปดิวรดั า) បានសរថាខញុំក្សោញន់ ាងញ្ទ ខ្ត ញ្បសរខញនំុ ងក្បាប់ខ្ម៉សាយថា ศรณั ย์ : อืม ฉนั ก็ตอบวา่ ไม่ได้ชอบ យា៉ងញ្ម៉ចញ្ៅ (ឧតមដ ភរយា) แตเ่ ขาไม่ได้ถามน่ีวา่ ฉนั ชอบ หลอ่ ไหมถา้ เขาถามฉันจะ ตอบสายว่า...ไม่แน!่ (ปดวิ รัดา)

-59- โธ่เอย๋ ไมเ่ ห็นจะยากอะไร(ปดวิ รดั า) អា៎យពុញ្ទាធ ញ្អយវាមានញ្ៅពបាកអ។(ឧតដម ភរយា) การเปล่งเสียงอุทานคนไทยกับคนเขมร ถ้าเป็นสังเกตในการใช้ ภาษาพูดท่ัวไปก็ใช้คาเดียวกัน เช่นคาว่า โอย อ้อ เออ และอูย เป็นต้น แล ะ ใน บ า ง ค ร้ัง เมื่ อ มี ก า ร ใช้ วัฒ น ธ ร รม ศ า ส น า เ ข้า ม า ใช้ ก็ เห มื อ น กั น ยกตัวอย่างเช่น พุทโธ่ เขมรใช้ว่า ពុញ្ទាធ แต่เมื่อการใช้คาอุทานในบริบท สังคมและวัฒนธรรมและภาษาเขียนแล้ว การใชค้ าอุทานจะแตกต่างกัน ไป เชน่ โอ๊ย ๆ ๆ ๆ แปลเป็น ញ្អយៗ โหย !! แปลเป็น ហា៎! อืม แปลเป็น ហ! โธเ่ อย๋ แปลเปน็ អា៎យពុញ្ទាធ ញ្អយ 9. การแปลสุภาษิต การแปลสุภาษติ นัน้ ผแู้ ปลจะต้องมกี ารตีความและวิเคราะห์ให้ดี เพราะสุภาษิตท่ีใช้ในแต่ละวัฒนธรรมซึง่ เป็นการสะทอ้ นให้เห็นมโนทัศน์ ของวัฒนธรรมนั้น ๆ แตห่ ากจะแปลด้วยการรักษารูปศัพท์หรือแปลตรง ตัว ผอู้ ่านฉบับแปลอาจไม่เข้าใจสุภาษิตนั้นได้ เพราะวัฒนธรรมแตกตา่ ง กัน ดังตัวอย่างต่อไปน้ี 9.1 แปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาตน้ ฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล ควายหายจึงทาร้ัว ตรงกับภาษิต ក្កបបាត់ញ្ទបញ្ធរវ បង។ ไทยว่า ววั หายล้อมคอก ឆ្ែមមនញ្ៅ កណត ុរញ្ឡងរាជយ។ แมวไม่อยู่ หนูเถลิงราชย์ ตรงกับ ภาษติ ไทยวา่ แมวไมอ่ ยู่ หนูร่าเริง នយាយឱយក្កបសាត ប់។ พูดให้ควายฟัง ตรงกับภาษิตไทย วา่ สซี อใหค้ วายฟัง

ជិ ដំរចាប់កណត រុ ។ -60- ข่ีช้างจับหนู ตะรางกับภาษิตไทย ว่า ข่ชี ้างจับตกั๊ แตน 9.2 แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาต้นฉบบั (ภาษาไทย) រន ภาษาแปล รนิ : ไม่ขนาดน้นั หรอกค่ะ ไก่งาม ៖ មនអាចខ្នលតញ្នា ញ្ទ មាន់សាា ត เพราะขนคนงามเพราะแตง่ ค่ะ (ปดิวรัดา) ញ្ក្ពា ញ្រាម មនសុ សសាា តញ្ក្ពា ពាក់ខលួនចាសា៎ ។ (ឧតមដ ភរយា) ตวั อย่างการแปลสานวนในวรรณกรรม การแปลภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ภาษาต้นฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล มึง สมองหมา ปญั ญาควาย អាខ្ហា ង ខកាលបងងគ การแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาษาต้นฉบับ (ภาษาไทย) ภาษาแปล “ฉนั จากบ้านมาไกลตอ้ งมาเจอกบั อะไรบา้ งนะ ข้างนอกมีเสือสาง ข้างใน “ខញខុំ ្បកមកពផទ ខ្សនឆ្ៃមយមកជបអវខល ញ្ទ ត มคี นใจร้าย” (ปดิวรดั า) ខ្លងញ្ក្ៅមានខ្តខ្លលដរំ ញ្ៅខ្លងកនងុ មានខ្ត ចតអត ាក្កក់ ។” (ឧតមដ ភរយា) รนิ : ไม่ขนาดนนั้ หรอกค่ะ ไก่งาม រន ៖ មនអាចខ្នលតញ្នា ញ្ទ មាន់សាា តញ្ក្ពា เพราะขนคนงามเพราะแตง่ ค่ะ (ปดวิ รดั า) ញ្រាម មនសុ សសាា តញ្ក្ពា ពាក់ខលួន ចាសា៎ ។ (ឧតមដ ភរយា)

-61- การแปลชอื่ สัตว์ในสานวนด้วยคาทดแทนทางวัฒนธรรมเป็นการ นามโนทศั น์เก่ียวกบั สัตวม์ าเปรียบกับพฤตกิ รรมของคน เช่น การใช้คาวา่ ក្កប (กระบือหรือควาย) ในสานวนไทยใช้คาว่า วัว และการเปรียบเทียบ ระดับมันสมองของคนในภาษาเขมรเปรียบกับสมองกุ้ง ส่วนไทยเปรียบ กบั สุนขั และกระบือ เปน็ ตน้ ส่วนคาวา่ “เสือสาง” ในภาษาไทยเป็นสานวนหมายถึงสัตว์ร้าย และส่ิงล้ีลับท่ีเป็นอันตรายต่อชีวิตคน ไม่จาเพาะเจาะจงเพียงเสืออย่าง เดียว แต่เมื่อแปลเป็นภาษาเขมร แปลเป็น ខ្លលដំរ เสือและช้าง แสดงให้ เห็นว่า เสือและช้างเป็นสัตว์ท่ีคนเขมรให้ความหมายว่าเป็นสัตว์ที่ อันตราย แต่บางคาท่ีเก่ียวกับสัตว์แม้จะเป็นสานวนของไทยก็ตาม การ แปลแบบตรงตัวก็สามารถใช้ได้ เช่น สานวนเก่ียวกับไก่ คนเขมรก็ สามารถเขา้ ใจไดเ้ ชน่ เดยี วกัน สุภาษิตไทยและสุภาษิตเขมรบางสานวนก็สามารถเปรยี บเทียบ ความหมายกันได้ แต่บางสานวนก็ไม่สามารถเทียบกันได้ ซึ่งผู้แปล จะต้องศึกษาภาษิตไทยและเขมรให้ลุ่มลึก เพราะการแปลประเภทน้ี จะต้องอาศัยการตีความหมายและความเข้าใจในวัฒนธรรมการใช้ภาษา ของท้งั ไทยและเขมร ดังตัวอย่างท่ไี ด้ยกมาข้างบน เราสามารถแปลได้ 2 อย่าง คอื ประการแรกคือแปลโดยใช้ภาษติ ไทยทดแทน เชน่ ក្កបបាត់ញ្ទប ញ្ធរវ បង។ แปลโดยใช้ภาษิตไทยทดแทนว่า “วัวหายล้อมคอก” ประการท่ี สองหากแปลภาษิตน้ีตรงตามตัว ว่า “ควายหายแล้วจึงลืมคอก” ก็ สามารถเข้าใจได้เช่นเดียวกัน อีกประการหนึ่งภาษิตที่สะท้อนถึงมโน ทัศนเ์ ก่ยี วกบั สตั ว์มีความแตกตา่ งกัน สุภาษิตเก่ียวกับความงามท่ีว่า “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะ แต่ง” ในเร่ือง ปดิวรัดา ท่ีแปลเป็นภาษาเขมรในเรื่อง ឧតដមភរយា ดัง ตัวอย่างข้างต้นนั้นเป็นการแปลสุภาษิตล้อตามสุภาษิตไทย อาจจะใช้ ถ้อยคาแปลให้ตามบริบทในบทละคร แต่หากแปลโดยใช้สุภาษิตเขมร ทดแทน จะแปลเป็น មានលាញ្ក្ពា ញ្រាម របញ្ឆ្មមលាញ្ក្ពា ខ្តង។ (សមាគមស ញ្មតច ជន ណាត, 2015)

-62- 10. การแปลสานวนทั่วไป 10.1 แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ภาษาต้นฉบบั (ภาษาเขมร) ภาษาแปล ผมยิ้มทัง้ ดวงตาท่ขี ุ่นเคอื ง ខញញុំ ញមជាមយខ្កវខ្ភនកដព៏ សពុល (សខុ ចាន់ផល, យល់សបត, 2014 : 8) เธออยากยุติความสนใจของผชู้ ายท่ี នាងចងប់ ចឈប់ចណំ ាប់អារមែណ៍ របស់ มกั จะมองท่ตี ัวนางเหมอื นขมิ้นกับปนู បុរសខ្ដលខ្តងខ្តញ្មលមកនាង ដច«ក្កប (ควายกบั กลว้ ย) នងញ្ចក» ឈាមខ្ក្សកខ្សបកហបានញ្កតញ្ឡងមយ กรรมตามทนั (เลือดรอ้ งหนงั เรยี ก) ได้ ករណញ្ទ តញ្ហយ เกิดขนึ้ อกี กรณีหน่ึงแลว้ 10.2 แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมร ภาษาตน้ ฉบับ (ภาษาไทย) ภาษาแปล ริน : เหมอื นล้ินกบั ฟัน រន ៖ ដចអណាត តនងញ្ធែញ ។ (ปดวิ รัดา) (ឧតមដ ភរយា) เสือขาว : ไอ้ปลัดมันคงคิดว่ามันฉลาด ខ្លលស៖ អាបា៉ឡាត់វាអាចគតថាវាឆ្លមតខ្តមាន ក់ อยู่คนเดียว มันดูถูกพวกเรา វាញ្មលក្សាលពកញ្យងញ្ពក ខញុំ ม า ก เกิ น ไ ป แ ล้ ว ข้ า ว า ง แ ผ น ញ្រ បចខំ ្ផនក្នរបកក្ក្នយវាទកុ (ឧតមដ ភរយា) ตลบหลังมันไว้เรียบร้อยแล้ว (ปดิวรดั า) เสอื ขาว : ค่ามืดปานน้ีมันยังไม่กลับมา ខ្លលស ៖ ងងឹតខ្នលតញ្ន វាមនក្តឡប់មកវញិ อีกว่ะ โถ่เวย้ ! (ឧតដមភរយា) (ปดิวรัดา) เสือขาว : มันฆ่าพี่น้องเรา ถึงเวลาท่ี ខ្លលស៖ វាសមាល ប់បងបាូនញ្យង ដល់ញ្ពលញ្យង เราจะบุ ก ไป ห ามั น บุ ก ไป

-63- เหยียบจมูกมัน บุกเข้าเมือง សរំ ប់ញ្ៅរកវា ញ្ៅញ្ចា កាលវា บกุ เขา้ เมอื ง ក្គប់ក្គងទក្កុង សរំ ប់ចលទក្កងុ (ឧតដម (ปดวิ รัดา) ភរយា) ខ្លលស៖ ហ! ញ្ពលញ្វោខ្ដលញ្យងញ្រស នង เสอื ขาว : ฤกษท์ ี่ข้าเลอื กกับแผนท่ขี ้า ខ្ផនក្នរខ្ដកញ្យងគតទុក នងញ្ៅញ្ចា เตรยี มไว้ จะเหยยี บจมกู ไอ้ កាលអាបាឡាត់សរន័ នងក្កុងញ្នា ទ ปลดั ศรัณย์และเมอื งน้ที ัง้ เมือง ទាងំ ក្កងុ ហាហាហា (ឧតមដ ភរយា) ฮะฮะฮ่า (ปดิวรดั า) เสอื ขาว : ข้าวปลาอาหารท่พี วกมึง ខ្លលស ៖ បាយទកខ្ដលពកឯងសុ ញ្យងដ្ឋក់ថាន ំ กนิ กูใส่ยาสงั่ เอาไว้ ใครท่ี បញ្ជជ អនកណារាត់ញ្ចាលញ្យង ញ្យង ท้ิงกู กจู ะทอ่ งมนต์ใหย้ าส่ัง សក្តឱយថាន បំ ញ្ជជ ញ្ចញឫទធ ញ្ឈ មហរ ออกฤทธิ์ เลอื ดจะออกทุก តមរងរហតដល់សាល ប់ ทวารจนตาย (ปดิวรัดา) (ឧតមដ ភរយា) การแปลสานวนไทยกับเขมรคล้ายกับการแปลสุภาษติ สามารถ แปลแบบเทยี บเคยี งภาษาและมคี วามหมายเหมอื นต้นฉบับ ดงั ตัวอย่างท่ี ไดย้ กมาขา้ งบน แตก่ ็มบี างสานวนของต้นฉบบั ภาษาไทยก็ต้องใชส้ านวน ทดแทนทางวัฒนธรรมในภาษาแปล เช่น คาว่า “เหยียบจมูก” แปลเป็น “ញ្ចា កាល” คาวา่ “ข้าวปลาอาหาร” แปลเป็น “បាយទក” เปน็ ต้น บทสรปุ ภาษาและวฒั นธรรมถอื ว่าเปน็ สว่ นหน่งึ ทสี่ าคัญในการแปลภาษา ในท่ีนี้จึงเปรียบเทียบระหว่างตัวอักษรไทยกับตัวอักษรเขมร เพ่ือให้ผู้ที่ จะเร่ิมแปลภาษาไทยและภาษาเขมรได้เข้าใจในภาษาผ่านตัวอักษรว่ามี ความเหมือนและต่างกันอย่างไร นอกจากน้ียังได้นาเอาวิธีการแปลด้วย การใช้สิ่งท ด แท นทางวัฒ นธรรมมานาเสนอพร้อมตัวอย่าง ซึ่งจะ เป็ น ประโยชน์ต่อผู้เรียนวิธีการแปลภาษาภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและ วิธีการแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร

-65- บทท่ี 3 ไวยากรณ์กบั การแปล บทนา ความเข้าใจเรื่องความสมั พนั ธ์ของคาในประโยคของแต่ละภาษา ถอื วา่ เป็นสง่ิ สาคญั มากสาหรับการแปลภาษา การจะนาคาศพั ท์แต่ละคา มาประกอบเปน็ ประโยคทีม่ ีความหมายในการแปลใหผ้ ู้ท่รี ับสารการแปล นั้นเข้าใจจะต้องอาศัยการเรียนรู้หลักไวยากรณ์และวากยสัมพันธ์ของ ภาษาท้ังต้นฉบับและภาษาแปลอย่างลุ่มลึก การท่ีนักแปลอาศัยความรู้ แต่เพียงคาศัพท์เพียงอย่างเดียวนั้น แต่ไม่เข้าใจระบบคา ความหมาย และวากยสัมพันธ์ อาจทาให้การแปลภาษาของนักแปลไม่ประสบ ความสาเร็จและอาจไมท่ าใหถ้ า่ ยทอดความหมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ในบทนจ้ี งึ นาองค์ประกอบของวากยสมั พันธ์ในภาษาไทยและภาษาเขมร มาศึกษาเพ่ือการแปล อันได้แก่ ชนิดของคาและโครงสร้างประโยค ภาษาไทยและภาษาเขมร ชนิดของคากบั การแปล ก า รจ า แ น ก ช นิ ด ข อ ง ค า ใน ภ า ษ า ไท ย แ ล ะ ภ า ษ า เขม ร มี ก า ร นักวิชาการหลายท่านจาแนกไวแ้ ตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะเน้นนาชนิด ของคาเขมรและเขมรมาเปรยี บเทยี บกันเพื่อประโยชนต์ อ่ การแปล ดงั น้ี 1. คานาม คานามในภาษาเขมรกับคานามในภาษาไทยมีลักษณะและ ความหมายเดียวกัน คือ เป็นคาท่ีใช้เรียกช่ือคน สัตว์ ที่ ส่ิงของ และ สถานท่ี แบ่งเป็นคานามท่ีเป็นคาเรียกชอ่ื ท่ัวไปและช่ือเฉพาะ ทาหน้าท่ี เป็นประธานและกรรมในประโยค ถ้าเป็นประธานจะเรยี งไว้ต้นประโยค อยู่หน้ากริยา ถ้าเป็นกรรมจะอยู่ท้ายประโยคหรือหลังกริยา และมี ตาแหน่งอยู่หน้าคาขยายคานามหรือคาวิเศษณ์เสมอ ตัวอย่างการแปล คานามในภาษาเขมรและภาษาไทย

-66- 1.1 การแปลคานามทั่วไป คานามท่ัวไประหว่างภาษาไทยและภาษาเขมรมีท้ังคาใช้ เรียกช่ือแตกต่างกันไป แต่ก็มีหลายคาเช่ากันที่ใช้คาเดียวกัน เรื่องจาก การยืมคา ทั้งการยืมคาบาลีสันสกฤต และการยืมคาไทยของภาษาเขมร และการยืมคาเขมรในภาษาไทย เชน่ 1.1.1 คานามทวั่ ไปทเ่ี ป็นคาเขมรแท้และคาไทยแท้ เช่น ដំរី ช้าง ទន្លេ แม่น้า ពពក เมฆ ស្រែ นา ផ្ះទ บา้ น,เรอื น 1.1.2 คานามทว่ั ไปที่เป็นคายืมภาษาบาลสี ันกฤต เชน่ បុរែុ บุรษุ ស្តែីរ สตรี មលុែស มนุษย์ ែត្វ สัตว์ ររូ ครู 1.1.3 คานามทวั่ ไปที่เป็นคายมื ไทยในภาษาเขมร เชน่ (រត្ី)ប្េលធូ ปลาทู ក្រតរន្ ៀល กระดานดา ចុត្ហ្មា យ จดหมาย ហ្ា ដំរី ควาญชา้ ง ភីន្ ៀង พ่ีเลี้ยง ន្ភឿល เพอื่ น

-67- 1.1.4 คานามทว่ั ไปที่เปน็ คายืมเขมรในภาษาไทย เชน่ กระทอ่ ม ទម กระดาน ខ្រតរ กระจก កញ្ចក់ ขนุน នុរ ถนน ថ្ន ់ จมูก រចន្ ះ 1.2 การแปลคานามเฉพาะ การแปลคานามเฉพาะหรอื ชอ่ื เฉพาะเช่น ช่ือคน สถานท่ี และสง่ิ ของ เป็นตน้ โดยใชว้ ิธกี ารแปลแบบทบั ชื่อเฉพาะที่มีการใช้กันจนคุ้นเคย หมายถึง ชื่อบุคคล สถานท่ี และส่ิงของท่ีเคยใช้ในภาษาไทยและภาษาเขมร ในปัจจบุ ันก็ใช้ คานนั้ อย่างเปน็ ทางการทัง้ ในภาษาไทยและภาษาเขมร เมอ่ื แปลโดยการ ทับศัพท์ช่ือเฉพาะดังกล่าวก็ใช้ตามเดิม สว่ นใหญ่เป็นชอ่ื สถานท่ี เช่น 1.2.1 ชื่อสถานที่ ន្ ត្រប្លត្់ដំបង จงั หวดั พระตะบอง ន្ ត្របន្ទទយ លជ័យ จังหวดั บนั ทายมชี ยั ន្ ត្រន្ែៀមរាប จังหวดั เสียมราฐ ន្ ត្ររ ពះវហិ ្មរ จังหวดั พระวหิ าร ភំនន្ពញ พนมเปญ กัมพูชา កមពុជា กรุงเทพฯ រកងុ ប្លងកក สุโขทัย ែនុ ្ខ្តទ័យ อยุธยา អយុ ធា ประเทศสยาม របន្ទែន្ែៀម

-68- ชื่อบคุ คลท่ีใชก้ นั มาตั้งแต่อดตี และค้นุ เคยกบั คาเหลา่ นั้น ในภาษาไทยจงึ ใชค้ านั้นและใชอ้ ยา่ งเปน็ ทางการในปจั จุบัน เชน่ 1.2.1 ช่อื บุคคล ជលជាត្ិស្ ារ คนเขมร លន្រាត្ដម រណរទិ ធ นโรดม รณฤทธิ์ ព ពត្ พอล พต ន្ ៀវ ែំផ្ល เขยี ว สัมพัน ហ្ុ ល ស្ែល ฮนุ เซน ែម រងសីុ สม รังสี ส่วนในภาษาเขมรสว่ นใหญ่เมือ่ แปลชอื่ คนไทยโดยวธิ กี าร ทบั ศัพท์สว่ นใหญใ่ ช้เทยี บระหว่างอักษรไทยและอกั ษรเขมรหรอื เทยี บ จากอกั ษรโรมนั เชน่ เปรม ตณิ สลู านนท์ ន្រពម ទីលែូឡាណុ ល ทกั ษณิ ชนิ วตั ร ថាក់ែីុល ែីណុ ាវរ៉ា ា ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา រប្លយុទធ ចាល់អូចា ยง่ิ ลกั ษณ์ ชนิ วัตร យិងឡាក់ ែីណុ ាវ៉រា ា อภิสทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ អាប់ភីែតីុ ្ ន្វចាជីវា៉ พนิดา สายสู่ ផ្ៈលិដា សាយែូ เฉลมิ ศักดิ์ ประไวย์ ឆៈន្ ើមសាក់ របៈវវ៉ា สนั ตชิ ัย หมายทอง សាល់ទិវឆ ៉ាយថ្ង 1.3 คานามทว่ั ไปท่ีเปน็ ศพั ท์บญั ญัติ การแปลคาศัพท์บญั ญตั ใิ น ภาษาไทยและภาษาเขมร อาจแบ่งเปน็ 2 ประการ ได้แก่ 1.3.1 ศัพท์บัญญัติท่ีเหมือนกัน คือ ศัพท์ท่ีบัญญัติศัพท์ เพ่ือแทนคาศัพท์จากต่างประเทศ ในภาษาไทยและภาษาเขมรมีคาและ ความหมายของคาเหมือนกัน แต่หากใช้ในการแปลแบบล่ามซ่ึงจะต้อง ออกเสียงด้วย การออกเสียงศัพท์บัญญัติดังกล่าวอาจแตกต่างกันตาม ลักษณะของแต่ละภาษา เชน่

-69- นายกรัฐมนตรี ន្ទយករដមឋ ស្តលីរ รฐั มนตรี រដមឋ ស្តលីរ ประชาธิปไตย របជាធិបន្ត្យយ สงั คมศาสตร์ ែងមគ សាស្តែរ มนษุ ยศาสตร์ មលុែសសាស្តែរ โทรทัศน์ ទូរទែសល៍ วิทยุ វទិ យុ คมนาคม រមន្ទរមល៍ 1.3.2 ศัพท์บัญญัติที่แตกต่างกัน คือ ศัพท์ท่ีบัญญัติเพื่อ แทนคาศัพทจ์ ากต่างประเทศมคี วามแตกตา่ งกนั ระหวา่ งการบญั ญตั ศิ ัพท์ ในภาษาไทยและภาษาเขมร เช่น มหาวทิ ยาลัย សាក វទិ ា ័យ โลกาภิวตั น์ សាក ភាវបូ លីយកមា การพัฒนาชมุ ชน អភិវឌ្ឍល៍ជលបទ ไฟฟา้ អរិគែលី ไฟฟา้ พลังนา้ វរអី រីគែលី เครอ่ื งยนต์ ៉ាែីុល ตเู้ ย็น ទូទឹកកក แอร์ ៉ាែីលុ រត្ជាក់ 1.4 การแปลอาการนามในภาษาไทยและการสร้างคาในภาษา เขมรมีท้ังเหมือนกันและแตกต่างกันไป การแปลคานามประเภทนี้มี วิธกี ารแปลโดยแบ่งเปน็ 2 ประการ ดงั น้ี 1.4.1 การแปลอาการนามในภาษาไทยเป็นภาษาเขมร ซงึ่ มกี ารใชค้ าว่า “การ” นาหน้าคากรยิ าเช่นเดยี วกัน เชน่ การเรียน ក្តរន្រៀល การนอน ក្តរន្ដក

-70- การยิม้ ក្តរញញឹម การพดู ក្តរលិយាយ การเป็นอยู่ ក្តររែ់ន្ៅ อาการนามในภาษาไทยที่มีคาว่า “ความ” นาหน้า เม่ือมี ความหมายตรงกับภาษาเขมรว่า ន្ែចករី สามารถใช้คานี้แปลนาหน้าคา ไดท้ ้งั คากรยิ าและคาวิเศษณ์ เช่น ន្ែចករីរែឡាញ់ ความรัก ความหวัง ន្ែចករីែងឃឹម ความสุข ន្ែចករីែុ ความทุกข์ ន្ែចករីទុកខ ความเจริญ ន្ែចករីចន្រមើល ความเชอ่ื ន្ែចករីជំន្លឿ ความสาเรจ็ ន្ែចករីែន្រមច แต่คาว่า “ន្ែចករី” ในภาษาเขมรนั้นสามารถแปลเปน็ อาการนาม ภาษาและมีความหมายเดยี วกนั กับคาวา่ “การ” ในภาษาไทย เชน่ ន្ែចករីជូលដំណឹ ង การประกาศ ន្ែចករីែលិដន ាឋ ល การสันนิษฐาน ន្ែចករីអំពាវន្ទវ การขอร้อง ន្ែចករីស្ណន្ទំ การแนะนา ន្ែចករីរបក្តែ การประกาศ ន្ែចករីស្កត្រមូវ การแก้ไข ន្ែចករីបំភឺេ การอธบิ าย นอกจากน้ีคาว่า “ន្ែចករី” ยังสามารถใช้ในความหมายเกี่ยวกับ คาพูด เน้ือความ และรายละเอียดซ่ึงสามารถใช้เป็นคาอิสระในประโยค เช่น

-71- “ ្ុំែមូ ន្ទំមកលូវបទែ ា ែល៍ជាមួយលិងអត្ីត្អនកជាប់រុកន្ៅាវល លងិ ន្ក្តះ យង លន្ែចករីដូចត្ន្ៅន្លះ។” “ผมขอนาบทสัมภาษณ์ของอดีตผู้ต้องโทษจาคุกที่ตาไนและ เกาะขยองมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี” “រដធឋ មាលុញ្ ញ លន្ែចករីដូចត្ន្ៅ។ “รัฐธรรมนญู มีเนื้อหาดงั ตอ่ ไปนี้ 1.4.2 การแปลคาแผลงหรือการเติมหน้าคาและกลางคาใน ภาษาเขมร การสรา้ งในภาษาเขมรมีการสร้างคาท่แี ตกตา่ งจากภาษาไทย คือ การสร้างคาโดยวิธีการเติมคาซึ่งมีกระบวนการสร้างคาโดยใช้ คากริยามาเติมหน่วยคาเติมทาให้เกดิ คาใหมท่ ี่มีความหมายแตกต่างจาก เดิมหรือมหี น้าทแี่ ตกตา่ งจากคาเดมิ ชนิดของคาท่ไี ดจ้ ากการสร้างคาด้วย การเติมคานี้คือ คานามคาวิเศษณ์ และคากริยาการีต มีวิธีการแปล ดังต่อไปนี้ 1.4.2.1 การแปลคานาม เช่น កំន្ណើត្ การเกดิ ជំងឺ การป่วย ជំន្លឿ ความเชื่อ ដំន្ណើរ การเดิน ចន្រមើល ความเจริญ 1.4.2.2 การแปลคาวเิ ศษณ์ท่ีขยายคานาม เชน่ លិែែិ សជំងឺ นสิ ิตผู้ปว่ ย អនកកន្ឆោ ត្ คนเขลา ស្ សកណាដ ច់ เชือกท่ีขาด មលែុ សកំប្លក់ន្ជើង ខ ង คนขาหกั หนงึ่ ขา้ ง អាថ្៌កំប្លងំ ส่ิงเร้นลับ, สง่ิ ลล้ี บั បងចបង พ่คี นโต

-72- 2. คาสรรพนาม คาสรรพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนคานามเพื่อไม่ต้องใช้ชื่อซ้า หรือไมต่ ้องการเรยี กชื่อน้ันโดยตรง คาสรรพนามในภาษาไทยและภาษา เขมรมีความคล้ายคลึงกัน การแปลสรรพนามน้ันอาจแบ่งตามชนิดของ สรรพนาม ไดด้ ังน้ี 2.1 บุรษุ สรรพนาม หมายถงึ สรรพนามใช้แทนผู้พดู ผู้ฟัง และผทู้ ่ีกลา่ วถงึ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 2.1.1 บุรษุ ท่ี 1 บรุ ุษที่ 1 สามญั ทว่ั ไป กู អញ เรา ឯង ผม ฉนั ្ុំ กระผม ្ុំប្លទ กระผม ្រំុ បប្លទ (ไม่เปน็ ทางการ) กระผม ្ុំរពះប្លទ (เปน็ ทางการ) เกล้าฯ กระผม ្រំុ ពះប្លទ ច ែ់ ดฉิ นั ន្ទង ្ំុ เรา ន្យងើ พวกเรา ពួកន្យើង ขา้ พเจา้ ន្យងើ ្ំុ บรุ ษุ ท่ี 1 พระสงฆ์และราชาศัพท์ อาตมา អាាា อาตมภาพ អាាា ភាព กระผม ្កំុ ូណា (ไม่เป็นทางการ) กระผม ្ំកុ រណុ ា (เป็นทางการ) ขา้ พเจา้ ្ុំរពះករណុ ា ขา้ พระพุทธเจ้า ្ុំរពះករណុ ាវថ្េវនិ ្ែែ

-73- ข้าพระพทุ ธเจ้า ្រំុ ពះអងនគ ្រក្តមអអងធុ ីរពះប្លទ 2.1.2 บรุ ุษที่ 2 ឯង អាឯង ស្អែង บุรุษท่ี 2 สามัญทวั่ ไป มงึ มงึ ហ្ង ហ្ងឯង ผหู้ ญิง คณุ , ทา่ น ន្ោក (ผู้ชาย) คุณ ន្ទង (ผหู้ ญงิ เด็กกว่า) คุณ, ทา่ น អនក (ทงั้ ชายและหญงิ ) คุณ ន្ោករែី คณุ , ท่าน (ใชก้ ับผหู้ ญงิ ดว้ ยความ เคารพ) គាត្់ (ไม่เป็นทางการ) ทา่ น ទាល (ใช้ด้วยความ เคารพ ไมเ่ ปน็ ทางการ) บรุ ุษท่ี 2 ราชาศพั ทแ์ ละพระสงฆ์ พระคุณเจา้ ន្ត្ជរុណ(ไม่เป็น พระคุณเจา้ ทางการ) រពះន្ត្ជរុណ ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท រពះអងគ ใต้ฝา่ ละอองธลุ พี ระบาท រពះអងគ 2.1.3 บรุ ุษที่ 3 บุรษุ ที่ 3 สามัญทว่ั ไป มนั វ เขา ន្រ ทา่ น (เรียกผ้มู อี ายแุ ละศกั ดสิ์ ูงกวา่ ) គាត្់

-74- บรุ ษุ ที่ 3 ราชาศพั ทแ์ ละพระสงฆ์ พระคุณเจา้ ន្ត្ជរុណ (ไม่เปน็ ทางการ) พระคุณเจา้ រពះន្ត្ជរុណ ฝ่าละอองธุลีพระบาท រពះអងគ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท រពះអងគ 2.2 นยิ มสรรพนาม หมายถงึ คาสรรพนามท่ีใช้แทนคานาม ชี้เฉพาะเจาะจง หรอื บอกความใกลไ้ กล ทีเ่ ปน็ ระยะทางให้ผพู้ ดู กบั ผฟู้ งั เข้าใจกัน ได้แก่ นี่ ន្លះ นั่น ន្ន្ទះ โน่น ន្ន្ទះ นี้ ន្លះ นั้น ន្ន្ទះ โนน้ ន្ន្ទះ 2.3 อนยิ มสรรพนาม หมายถึง สรรพนามใช้แทนนามบอก ความไม่ช้เี ฉพาะเจาะจงทีแ่ นน่ อนลงไป ไดแ้ ก่ ใคร ใคร ๆ អនកណា លរណា อะไร อะไร ๆ អីវ ท่ีไหน ทไี่ หน ๆ ឯណា ผูใ้ ด ผ้ใู ด ๆ អនកណា លរណា ตัวอยา่ งเช่น ต้นฉบับ “ใคร ๆ กบ็ นิ ได้” ฉบบั แปล “អនកណាក៏អាចន្ធវើដំន្ណើរាមយលនរ ្ហ្មះប្លលស្ដរ។” ต้นฉบบั “อยู่ทีไ่ หนกเ็ หมอื นกัน” ฉบบั แปล “ន្ៅឯណាក៏ដចូ គាន ។”

-75- 2.4 ปฤจฉาสรรพนาม หมายถงึ สรรพนามท่ีใชเ้ ป็นคาถาม ไดแ้ ก่ ใคร អនកណា លរណា อะไร អីវ ไหน ឯណា ណា การใชส้ รรพนามคาถามนใ้ี นภาษาไทยไมม่ ีเครอ่ื งหมาย / ? / หลงั ประโยคคาถาม แต่ในภาษาเขมรจะมีเครอื่ งหมาย / ? / เสมอ เช่น ตน้ ฉบับ “ใครเปน็ ครูของคณุ ” ฉบับแปล “លរណារឺជាររូរបែ់អនក?” ต้นฉบับ “คณุ จะไปไหน” ฉบับแปล “ន្ោកលឹងអន្ញ្ើចញន្ៅណា?” ต้นฉบบั “เขาแจกใบปลวิ อะไร” ฉบับแปล “ន្រស្ចកចាយ ិត្រប័ណណ អីវ?” 2.5 วภิ าคสรรพนาม หมายถึง คาสรรพนามทใ่ี ช้แทนนาม ขา้ งหนา้ เพอื่ ให้รวู้ า่ นามนั้นแยกไดเ้ ป็นสว่ น เชน่ ตน้ ฉบับ “พวกเขาเถยี งกัน” ฉบับแปล “ពួកន្ររបស្កកគាន ។” ต้นฉบบั “นกั เรยี นมอบดอกไม้ใหแ้ ก่กนั และกนั ” ฉบับแปล “លិែិែសរបរ ់ផ្ាកគាន ន្ៅមកន្ៅវញិ ។” ต้นฉบับ “เด็ก ๆ บ้างกเ็ ลน่ บา้ งก็เรยี น” ฉบับแปล “ន្កនង េះន្ ងន្ហ្ើយន្កាង េះក៏ន្រៀល។” 2.6 ประพนั ธสรรพนาม หมายถึง สรรพนามทใ่ี ชเ้ ป็นบท เชื่อมขอ้ ความหรอื ประโยค ทาหน้าทีเ่ ชอ่ื มท้งั คานาม สรรพนาม และ ประโยค มจี านวน 3 คา ได้แก่ ท่ี ស្ដ , ដ៏ ซง่ึ ស្ដ , ដ៏ อนั ស្ដ , ដ៏

-76- ตัวอยา่ งเชน่ ตน้ ฉบบั “แมวท่ีอยใู่ นรา้ น” ฉบบั แปล “ែត្វឆ្ាមស្ដ ន្ៅរែ់កនុងរាល។” ตน้ ฉบับ “สาลีอยกู่ ล่มุ คนที่มอี านาจ” ฉบับแปล “សា ីែតិថ ្ន្ៅកនុងចំន្ណាមមលុែសដ៏ លអំណាច។” ต้นฉบบั “กมั พชู ากม็ นี ักศกึ ษาท่ีมผี ลการชิง เหรียญรางวลั เชน่ กนั ” ฉบบั แปล “កមពុជាក៏ លែិែសស្ដ ល ទធភាពដន្ណដ ើមន្មដាយ ជ័យោភីស្ដរ។” 3. คากริยา การแปลคากรยิ าในภาษาไทยและภาษาเขมรสามารถแบง่ แปลตามชนดิ ของคากริยา เชน่ 3.1 สกรรมกริยา หมายถงึ คากริยาทต่ี ้องมกี รรมมา รองรับ เพราะคากรยิ านไี้ ม่มีความสมบรู ณ์ในตวั เอง เช่น กิน ញុ ំ เหน็ ន្ ើញ ทา ន្ធវើ ตี វយ 3.2 อกรรมกริยา หมายถงึ คากรยิ าท่ีไมต่ อ้ งมกี รรมมา รองรับ มีความสมบรู ณใ์ นตวั เอง เช่น นอน ន្ដក ยนื ឈរ นั่ง អងុយគ คิด រិត្ 3.2 วกิ ตรรถกริยา หมายถึง คากริยาทไ่ี ม่มคี วามหมายใน ตวั เอง ต้องมคี าอ่นื มาประกอบจึงจะไดค้ วาม ไดแ้ ก่ คือ រឺ

-77- เป็น ជា រឺជា เหมือน ដចូ คลา้ ย រែន្ដៀង เท่า ន្ែើា ตัวอยา่ งเช่น ตน้ ฉบบั “เสอื เปน็ สตั วป่า” ฉบับแปล “ែត្វខ្េតរឺជាែត្វវ រព។” ต้นฉบับ “เขาคอื ผ้ชู นะ” ฉบบั แปล “ន្ររឺជាអនកឈនះ។” 3.4 กรยิ านุเคราะห์ หมายถึง คากริยาทที่ าหนา้ ที่ชว่ ยคากริยา สาคญั ในประโยคให้มีความหมายชัดเจนข้ึน เช่น จง ចវូ กาลัง កំពុង จะ លងឹ ย่อม ពិត្ជា คง មុ ជា របស្ហ្ ជា ยัง ន្ៅ ถูก រត្ូវ เถอะ ចះុ ตวั อยา่ งเชน่ ต้นฉบับ “เขากาลงั กินขา้ ว” ฉบบั แปล “ន្រកំពុងពិសាប្លយ។” ต้นฉบบั “นสิ ติ จะไปเรยี น” ฉบับแปล “លិែិែសលឹងន្ៅន្រៀល ។” 3.5 คากรยิ าการีต เปน็ กรยิ าชนดิ หน่งึ ทเ่ี กดิ จากการเตมิ หน่วยคาเติมในภาษาเขมร แปลวา่ “ทาให้” แต่เม่อื แปลจากคากริยา

-78- การตี เขมรเปน็ ภาษาไทย อาจต้องใชค้ ากรยิ าภาษาไทยทมี่ ีความหมาย ตรงกันกบั คากรยิ าการตี ในภาษาเขมร เช่น បន្រងៀល สอน (ทาให้เรยี น) បន្ងើតា ្ กอ่ ต้ัง สรา้ ง (ทาใหเ้ กิด) បររា ប ปราบปราม (ทาให้กราบ,ราบ) បស្ងរវ สร้าง, ประดษิ ฐ์ (ทาใหห้ ัน) បលថយ ลด (ทาใหถ้ อย) បស្លមថ เพม่ิ เติม (ทาให้เพ่ิม) បលាប ถอนพิษ (ทาใหจ้ ืด) បន្ទទល់ ฉกุ เฉิน ดว่ น (ทาให้ทัน) ตวั อยา่ งเชน่ ต้นฉบับ “คุณครกู าลังสอนภาษาไทย” ฉบับแปล “ន្ោកររូកំពុងបន្រងៀលភាសាវថ្។” ตน้ ฉบบั “นายสาลไี ด้ก่อตงั้ บรษิ ทั ” ฉบบั แปล “ន្ោកសា ីប្លលបន្ងតើា ្រកុមហ្ុ លមួយ ។ 3.6 คาซ้อน หมายถึง คาเกดิ จากการซอ้ นคาระหวา่ งคาทม่ี ี ความหมายเหมอื นกนั ใกล้เคยี งกนั หรอื ตรงกนั ขา้ มกนั เม่ือนามาซอ้ น กนั แลว้ ทาใหม้ ีความหมายใหม่ คาซอ้ นมที ง้ั ในภาษาไทยและภาษาเขมร การแปลคาซอ้ นน้ีตอ้ งพิจารณาการใช้คาซอ้ นของแตล่ ะภาษาซงึ่ อาจจะ ใช้คาทีเ่ หมอื นกันหรือแตกต่างกนั ก็ได้ 3.6.1 คาซอ้ นในภาษาเขมร เชน่ ន្មើ ន្ ើញ เห็น ន្រៀលន្ចះ เรียนรู้ ក់ដាច់ ขายออก ន្ដក ក់ นอนหลบั សារ ប់ឮ ไดย้ นิ

-79- 3.6.2 คาซอ้ นในภาษาไทย เชน่ คดั เลือก ន្រជែើ ន្រើែ ดูแล ស្ថ្រកា, ររប់ររង ลา้ งผลาญ បំផ្ិេចបំផ្េកញ หน้าตา មុ ត្់ ใหญ่โต ធំន្ធង 4. คาสนั ธาน คาสันธาน หมายถึง คาที่ใช้เช่ือมคา ข้อความ วลี และ ประโยคให้ติดต่อเป็นเร่ืองเดียวกัน ภาษาเขมรเรียกคาสันธานว่า ឈ្នន ប់ นอกจากน้ียังสามารถเรยี กว่า ែន្ធទលែពទ ចណំ ង และในตาราไวยากรณ์ใช้ คาว่า លិប្លត្ែពទ การใช้คาสนั ธานหรอื คาเชือ่ มน้ีทาให้มีความกระชับและ สละสลวย โดยเฉพาะการเช่ือประโยค คาเชื่อมท้ังภาษาไทยและภาษา เขมรมีลักษณะการใชค้ าที่เหมือนกนั บางคาแปลตรงตัวได้เลย แต่บาง คาจะต้องพิจารณาความหมายและการใช้ภาษา การแปลคาสันธานใน ภาษาไทยและเขมรเปน็ สงิ่ ท่ีสาคัญในการแปลมาก ซึง่ นอกจากจะทาให้ การแปลมีความหมายสมบรู ณ์แล้ว คาสันธานยงั ทาให้การแปลสละสลวย อกี ด้วย ตัวอย่างคาสนั ธานทั้งสองภาษา ดงั ต่อไปนี้ 4.1 คาสันธานในภาษาไทย คาสันธานในภาษาไทยแบ่ง 4 ชนิด ดงั น้ี 4.1.1 คาสันธานท่เี ช่อื มความคลอ้ ยตามกัน เช่น และ, กับ លងិ ตวั อยา่ ง ตน้ ฉบับ “มาลีและมาลยั ไปเรียนดว้ ยกนั ” ฉบับแปล “ ៉ា ី លិង ៉ាវៃន្ៅន្រៀលជាមួយគាន ។” ทั้ง...และ ទាងំ ....លិង ตวั อยา่ ง ต้นฉบบั “ทง้ั แมแ่ ละฉันชอบทะเลเหมอื นกนั ” ฉบับแปล “ទាំង រ យ លិង ្ុំចូ ចិត្រែមុរទដចូ គាន ។”

-80- พอ...ก็ ន្ព …ក៏ ตวั อย่าง ต้นฉบับ “พอกินขา้ วเสร็จก็เขา้ นอน” ฉบบั แปล “ន្ព ពិសាប្លយន្ហ្ើយ ្ុំក៏ន្ៅន្រង។” ครนั้ ...จงึ ន្ព ...ប្លល ตัวอย่าง ต้นฉบับ “ครัน้ ถงึ เวลาผมจึงข้นึ เคร่อื งบิน” ฉบบั แปล “ន្ព ដ ់ន្ ៉ាង ្ំុប្លលន្ៃើងយលនរ ្ហ្មះ។” แล้ว...ก็ ន្ហ្ើយ...ក៏ ตัวอย่าง ต้นฉบับ “กนิ ข้าวแลว้ กไ็ ปเรียน” ฉบับแปล “ ្ុំញុ ំប្លយន្ហ្ើយក៏ន្ៅសាោ។” 4.1.2 คาสนั ธานที่เชอ่ื มความขดั แยง้ กัน เช่น แต่ แตว่ ่า ស្ត្, បស្លរ ตวั อย่าง ต้นฉบบั “นิสติ คนนี้เขียนหนังสอื ไม่สวย แต่แต่ง บทกวดี ี” ฉบบั แปล “លិែិែសន្លះែរន្ែរមិលែវូ អន្ទ ប៉ាស្លរស្ត្ង ตน้ ฉบับ កំណាពយប្លល អ។” ฉบบั แปล “ผมเรียนทุกวนั แต่จาไมไ่ ด้เลย” “ ្ំុន្រៀលន្រៀងរា ់វថ្ៃ បស្លរ ្ុំចាំមិលប្លលន្សាះ។” ถงึ ...ก็ ន្ទាះបី...ក៏ ตัวอยา่ ง ตน้ ฉบับ “แม้จะเป็นคนพกิ าร กไ็ มย่ อมเดนิ ขอทานเขาหรอก”

ฉบบั แปล -81- กวา่ ...ก็ “ន្ទាះបីជាជលពិក្តរ ក៏មិលស្ដ ន្ដរើ ែមូ ទាលន្រ ตวั อย่าง ต้นฉบับ ស្ដរ។” ฉบับแปล ទរ ំ...ក៏ “กว่าจะเรียนจบ เขากไ็ ปแล้ว” “ទរ ំលឹងន្រៀលចប់ ន្រក៏ន្ៅន្ហ្ើយ ។” 4.1.3 คาสันธานที่เชื่อมข้อมความใหเ้ ลือก เชน่ หรือ ឬ ตวั อย่าง ต้นฉบับ “คณุ จะยนื หรอื จะนง่ั ” ฉบบั แปล “អនកលឹងឈរឬអងុយគ ។” หรือไม่ก็ ឬក៏ ตัวอยา่ ง ต้นฉบับ “คณุ จะกนิ หรือไมก่ ต็ าม ฉันไมว่ ่าหรอก” ฉบบั แปล “អនកលងឹ ញុ ំឬក៏ាម ្មំុ ិលថាន្ទ។” มฉิ ะนน้ั ន្បើមិលអញ្ឹងច ន្ទ ตัวอยา่ ง ต้นฉบับ “คณุ ตอ้ งทางาน มิฉะนน้ั เขาจะไลอ่ อก” ฉบับแปล “អនករត្ូវន្ធវើក្តរ ន្បើមិលអញ្ឹងច ន្ទន្រលឹងន្ដញ អនកន្ចញ។” 4.1.4 คาสันธานท่ีเช่ือมความท่ีเปน็ เหตเุ ป็นผล เชน่ เพราะ เพราะว่า ន្រពាះ, ពិន្រពាះ เหตเุ พราะ เหตวุ ่า

ตวั อย่าง ตน้ ฉบับ -82- ฉบบั แปล “ผมไปไมไ่ ด้ เพราะผมรักคุณ” “ ្ំុន្ៅមិលប្លលន្ទ ន្រពាះ ្ំុរែឡាញ់អនក។” เพราะ...จึง ន្រពាះ...ប្លលជា เพราะฉะนน้ั ...จงึ ន្រពាះអញ្ឹងច ...ប្លលជា ตวั อย่าง ตน้ ฉบบั “เพราะเขาพูดมาก เขาจึงถูกต”ี ฉบบั แปล “ន្រពាះន្រលិយាយន្រចើល ប្លលជាន្ររត្ូវវយ។” 4.2 คาสันธานในภาษาเขมร แบง่ เป็น 2 ชนดิ ตามหนา้ ท่ีของคา ดังนี้ 4.2.1 คาสันธานเช่ือมคา คาสนั ธานชนดิ นใ้ี นภาษาเขมร เรียกวา่ ឈ្នន ប់ចង สาหรบั เชื่อมระหวา่ งคากับคา วลกี ับวลี ประโยคกับ ประโยค เชน่ และ លិង ន្ហ្ើយ และ, แลว้ ឬ หรอื ឬក៏ หรอื ก็ ស្ត្ បុ៉ាស្លរ แต่, แตว่ า่ ជាមួយ และ, กบั ឯ, រឯី สว่ น, ฝา่ ย ตัวอย่าง ต้นฉบบั “រឯី ន្ោកែងឃស្ដ ន្ៅកនុងវត្រន្ន្ទះប្លលន្ទគំ ាន ฉบบั แปล ែរូ ត្មល។រ ” “สว่ นพระสงฆท์ ่อี ยใู่ นวัดนั้นก็พากันสวด มนต์” 4.2.1 คาสันธานเชอ่ื มประโยค แบง่ ออกเปน็ 2 ประการ ได้แก่

-83- 4.2.1.1 คาสนั ธานเชอ่ื มระหวา่ งประโยคกับ ประโยค ภาษาเขมรเรยี กคาเชอ่ื มชนดิ นวี้ า่ ឈ្នន បឃ្លេ เชน่ ថា ว่า ជា เปน็ ตัวอยา่ ง ต้นฉบับ “គាត្់រប្លប់ ្ំុថាបងគាត្់ន្ៅផ្ារ។” ฉบบั แปล “ท่านบอกผมว่าพีข่ องทา่ นไปตลาด” 4.2.1.2 คาสนั ธานสาหรบั เช่อื มไว้หนา้ ประโยค เช่น ពីន្រពាះ, ន្រពាះ เพราะ, เพราะวา่ ន្ដាយ, ន្ដាយសារ, ន្ដាយន្ហ្ត្ុ เพราะ, เพราะว่า ន្ដមើ បី, ន្ដើមបីលងឹ , ន្ដើមបីឱ្យ เพอื่ ន្បើ, ន្បើែលិ , របែលិ ន្បើ ถา้ , หาก ះុ , ក្ត ណា, កឹគ ណា เมอ่ื ន្ទាះបី, ថ្ីវត្បិត្, ថ្វីន្បើ แม้, แมว้ ่า, ถงึ จะ กลุ่มคาอีกกลุ่มหน่ึงที่ทาหน้าที่เหมือนคาสันธานในภาษาไทย เรียกวา่ “អាយត្លបិ ្លត្” คาอายตนิบาตในไวยากรณ์เขมรจานวนหน่ึงซ่ึงทา หนา้ ทเ่ี ชื่อมเหมือนคาสันธานและกรยิ าช่วยในภาษาไทย ดงั นี้ ក្តល់ ยัง, สู่ ចនំ ្ពាះ ม่งุ , เฉพาะ ក្ត เมอื่ ជាង กว่า ក្ត ស្ដ เม่อื ជិត្ ใกล้ កនងុ ใน ដ់ របបី ควร ន្ដាយសារស្ត្ ถงึ ចាក จาก ាម เพราะว่า ตาม, ตามท่ี

-84- រត្ង់ ตรง រង់ស្ត្ คงจะ ន្ទៀប ន្ទ ใกล้, เกอื บ រួរស្ត្ น่าจะ, ควร ន្ទក្ត លវូ ที,่ ยัง ាមស្ត្ ตามแต่, ตาม វល បណារ ในเวลา រត្ូវស្ត្ จะตอ้ ง, น่าจะ បំរងុ ពធដ៏ ซ่งึ ន្ទបើ ស្ត្ เพ่งิ , เพงิ่ จะ ន្រពាះ របែ់ แห่ง ទា ់ស្ត្ จนกระทัง่ , จนถงึ រី ន្ ើ บรรดา ន្ៅស្ត្ ยัง អំពី เตรียม ស្ត្ង ที่, ยัง លស្ត្ มแี ต,่ มเี พียง ស្ត្ងស្ត្ เพราะ ក្តល់ស្ត្ ของ ន្ ើកស្ត្ เว้นแต,่ ยกเว้น រតឹ ្ស្ត្ ฝา่ ย ែងឹ ស្ត្ บน ន្ ើកន្ ងស្ត្ เวน้ แต่, ยกเวน้ រគាល់ ស្ត្ เรอื่ ง มักจะ ន្វៀរស្ត្ ยกเว้น លស្ត្ มกั จะ កំពុងស្ត្ ยง่ิ ែងឹ ស្ត្ เกือบ, ล้วนแต่ ន្រៅស្ត្ ย่ิง, ย่งิ กวา่ เกอื บ, แทบ ែទុ ធស្ត្ ลว้ นแต่ เพียงแต่, แค่ มีแต,่ เทา่ นนั้ ែមូ បីស្ត្ แม้แต่ กาลงั , ขณะที่ นอกจาก, ยกเว้น រសាប់ ស្ត្ พอด,ี ทนั ใดนน้ั ស្ត្ แต่ว่า, แต่ ស្ត្ ំ มิเชน่ นัน้ ស្ត្មួយ เพียงส่งิ เดยี ว เพียงอันเดียว ស្ត្មរង เลย, เสียท,ี ครั้งเดียว ស្ត្ ន កឯង เพยี งคนเดยี ว ស្ត្ឯង เพียงคนเดียว

-85- ตวั อย่างเชน่ ตน้ ฉบับ រពី រដឋទាំងឡាយ របបីរកាលវូ សាមរីគធម៌។ ฉบับแปล ส่วนพลเรือนทัง้ หลาย (ก็) ควรรักษาไวซ้ ่งึ สามคั คี ธรรม 5. ลักษณะนามและการนับจานวน 5.1 ลักษณนาม หมายถึง คาบอกลักษณะของคานาม เพื่อ แสดงรปู ลักษณะและชนิดของสิ่งต่าง ๆ ให้ชัดเจนมากยิ่งข้นึ มกั เขยี นอยู่ หลังจานวนนับ การแปลลักษณะนามของทั้งสองภาษานี้สามารถใช้ วิธกี ารแปลแบบเทยี บเคียงภาษาไทยเลย เชน่ คน ន្ទក់ มัด ដំុ รูป អងគ จาน ចាល ตน អង(គ ឥែីមួយអង)គ ขวด ដប ตวั កា คู่ រូ ใบ ែលឹកេ เม็ด រគាប់ กอง កង ชนั้ ជាល់ วง (ดนตรี) រកុម อยา่ ง យាង៉ា วง (แหวน) វង់ หอ้ ง បលទប់ แผน่ ែលឹកេ ฉบบั ជាប់ ผืน រកណាត្់ ดา้ ม ន្ដើម เสน้ បន្ទទត្់ การใช้ลกั ษณะนามของภาษาเขมรแตกต่างจากภาษาไทยบ้าง คือบางคร้ังในภาษาเขมรไมใ่ ช้ลกั ษณะนามไวห้ ลังจานวนนับก็สามารถ เขา้ ใจกนั ได้ เช่น រកបីបី ควายสามตวั រកបីបីកា ควายสามตวั

-86- យកសបី ยกั ษ์สามตน យកសបីកា ยกั ษส์ ามตน 5.2 การนบั จานวน การนับจานวนเลขทวั่ ไปทง้ั ในภาษาไทยและภาษาเขมรมี การนับเหมือนกนั โดยเฉพาะการนับจานวนตง้ั แต่เลข 30 เปน็ ตน้ ไป ใน ภาษาเขมรมกี ารใช้ภาษาไทยนบั จานวนดว้ ย เช่น សាមែិប สามสบิ ន្ែែិប สีส่ ิบ ហ្មែិប หา้ สบิ นอกจากน้ีตวั เลขไทยและเลขเขมรเขยี นเหมอื นกัน ทาให้ การแปลการนับจานวนสะดวกมากยงิ่ ขึน้ แต่เขยี นและการอา่ นออกเสียง หรอื การบอกเลขโทรศัพท์ เวลา และเลขจานวนเงิน โดยเฉพาะจานวน เงินแมจ้ ะเขยี นดว้ ยตวั เลขทเ่ี หมอื นกนั หรอื เขยี นดว้ ยเลขอารบิค แตก่ ็มี เขียนเคร่อื งหมายแตกตา่ งกนั ตวั อย่างหมายเลขโทรศัพทภ์ าษาเขมร (855) 23 994 3xx อา่ นจานวนหลกั สบิ และร้อย เชน่ រប្លំបី រយហ្មែិបរប្លំ មឹាយបី ន្ៅែិបរប្លំបួល ន្ែែិបបី xx 069 666 xxx อา่ นว่า ែូលយរប្លំមួយ ន្ៅែិបរប្លមំ ួយ ហ្កែបិ រប្លំមួយ xxx หากเขียนเปน็ เลขโทรศพั ทต์ ามรูปแบบการเขยี นของไทย จะไดเ้ ป็น (855) 23- 994xxx, 06-9666xxx อา่ นเรยี งตัวเลข ตวั อยา่ งการเขียนเวลาในภาษาเขมร ន្ ៉ងា 9:30-10:30 ន្ទទី រពឹក หรือ ន្ ៉ងា 9:30-10:30 AM ภาษาไทย ตวั อย่างการเขยี นจานวนเงิน 1,000,000.00฿ ภาษาเขมร หน่งึ ล้านบาทถว้ น 1.000.000,00 ฿

-87- หน่ึงแสนหา้ หมื่นบาท 150.000,00 ฿ 150,000.00฿ ประโยคกับการแปล ประโยค หมายถึง ถอยคาหลายคาที่นามาเรียงกันแลวเกิด ใจความสมบูรณซึ่งประกอบไปดวย การเรียงคาในประโยคของท้ัง ภาษาไทยและภาษาเขมรมกี ารเรยี งเหมือนกนั คอื ประธาน + กรยิ า + กรรม ประธาน + กริยา ด้วยเหตุนี้ นักแปลภาษาท้ังภาษาไทยเป็นเขมรและภาษาเขมร เป็นไทย จึงมคี วามสะดวกเป็นอย่างมากในการเทียบเคยี งประโยคทง้ั สอง ภาษา แต่ถึงกระน้นั การเรียงคาในประโยคก็มีความแตกตา่ งกนั บา้ ง เชน่ เขมร ន្រស្បកកា ។ = ន្រ + ស្បក + កា ไทย เขาหัวแตก = เขา + แตก + หวั เขมร ន្រដួ ប្លក់ន្ជើង។ = เขา + หัว + แตก ន្រ+ដួ +ប្លក់+ន្ជើង ไทย เขาล้มขาหกั เขา +ลม้ + หกั + ขา เขาล้มหักขา เขมร ដាច់ន្ភេើង។ = ដាច់ + ន្ភេងើ ไทย ไฟฟา้ ดบั ขาด + ไฟ ไฟฟา้ + ดบั การเรยี งคาในประโยคทยี่ กตวั อยา่ งมาขา้ งบนนแ้ี สดงใหเ้ หน็ ความแตกต่างในการเรียงคาในประโยคบางประโยคทเ่ี รยี งคากรยิ าใน ตาแหนง่ ท่ีแตกตา่ งกนั ระหวา่ งภาษาไทยกบั ภาษาเขมร ดังน้ันการ แปลภาษาบางคนสบั สนและแปลตรงตามการเรยี งประโยค ทาให้ ความหมายแตกตา่ งกันไป การเรียงคาดงั กลา่ วนี้จะเกดิ ข้นึ เฉพาะ อกรรมกริยาบางคาเท่าน้นั ส่วนสกรรมกริยากเ็ รยี งคาในตาแหนง่ ท่ี เหมอื นกนั เช่น

-88- ស្ឆាខ្តំ ្ុំ។ ประธาน + กรยิ า + กรรม หมากัดฉัน = ស្ឆា + ខ្តំ + ្ំុ = หมา + กัด + ฉนั การวเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคเพื่อการแปล การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคของภาษาเป็นส่ิงสาคัญในการ แปลภาษา ทั้งนี้นอกจากจะทาให้รู้ถึงองค์ประกอบของภาษาแล้ว สามารถทาให้รู้ลักษณะการเรียงคาและความสัมพันธข์ องคาในประโยค ผทู้ ี่นาแนวคดิ ภาษาศาสตร์โครงสรา้ ง (structure) มาวเิ คราะหภ์ าษาไทย คือ วจิ ินต์ ภาณพุ งศ์ (2536) ไดน้ ามาวิเคราะห์โครงสรา้ งภาษาไทยซึ่งถือ วา่ คณุ ูปการในการศึกษาวเิ คราะห์โครงสร้างทางภาษาเป็นอย่างมาก ใน ท่ีน้ีจึงนาวิธีการวิเคราะห์นี้วิเคราะห์โครงสร้างทั้งสองภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาเขมร ดังตอ่ ไปนี้ 1. ส่วนมูลฐานของประโยค ตามหน้าท่ีของคาในประโยค สามารถกาหนดหน้าท่ีของคานามและคากริยาซึ่งเป็นส่วนประกอบ สาคญั ในประโยคได้ 7 ชนิด ดังนี้ 1.1 หน่วยประธาน (subject = S) เชน่ นกบนิ បកសីន្ហ្ើរ។ 1.2 หน่วยกรรมตรง (object = O) เช่น กินข้าว ញុ ំប្លយ។ 1.3 หน่วยกรรมรอง (indiect object = IO) เช่น เขาให้ขนมเด็ก ន្រឱ្យលំុន្កាង។ 1.4 หน่วยนามเดยี่ ว (noun = N) เช่น แม!่ พอ่ ! រ យ! ឪពុក! 1.5 หนว่ ยอกรรมกริยา (intransitive verbs = V1)เชน่ เหนอื่ ย! มา! ហ្ត្់! មក! 1.6 หน่วยสกรรมกรยิ า (transitive verbs = V2) เชน่ กินขา้ ว ขบั รถ ញុ ំប្លយ។ ន្បើកឡាល។

-89- 1.7 หนว่ ยทวิกรรม (doubie transitive = V3) เช่น เขาให้ขนมเดก็ ន្រឱ្យលំុន្កាង។ 2. โครงสรา้ งประโยคมลู ฐานของภาษาไทย หนว่ ยมลู ฐานดังกล่าวข้างต้น เป็นสว่ นประกอบสาคญั ของ ประโยค เม่ือนามาประกอบกันหรือเรยี งกันในประโยคจะได้โครงสร้าง ประโยคแบบต่าง ๆ จานวน 12 แบบ ดงั นี้ 2.1 V1 (อกรรมกรยิ า) เชน่ อิ่ม เหน่ือย ស្ឆអត្ ហ្ត្់ 2.2 S+V1 (ประธาน + อกรรมกริยา) เชน่ นกบิน បកសីន្ហ្ើរ។ 2.3 V1+S (อกรรมกรยิ า+ประธาน) เชน่ อมิ่ ไหม พ่ี ស្ឆអត្អត្់ បង។ 2.4 V2+O (สกรรมกรยิ า+กรรมตรง) เชน่ กนิ ข้าว ញុ ំប្លយ។ 2.5 S+V2+O (ประธาน+สกรรมกรยิ า+กรรมตรง) เชน่ หมากดั เขา ស្ឆាខ្តនំ ្រ។ 2.6 O+S+V2 (กรรม+ประธาน+สกรรมกริยา) เช่น น้า เขาเพงิ่ กนิ ទឹក ន្រន្ទើបស្ត្ផ្ឹក។ 2.7 V3+O+IO (ทวกิ รรมกรยิ า+กรรมตรง+กรรมรอง) เช่น กาลงั จะให้ขนมเด็ก កំពុងលឹងឱ្យលនំុ ្កាង។ 2.8 S+V3+O+IO (ประธาน+ทวกิ รรมกรยิ า+กรรมตรง+ กรรมรอง) เช่น เขาใหอ้ าหารหมา ន្រឱ្យចំណី ស្ឆា។ 2.9 O+S+V3+IO (กรรมตรง+ประธาน+ทวกิ รรมกรยิ า+ กรรมรอง) เช่น อาหารน้องยงั ไม่ไดใ้ ห้หมา ចំណីបអូលមិលទាល់ឱ្យស្ឆាន្ទ។

-90- 2.10 IO+S+V3+O (กรรมรอง+ประธาน+ทวกิ รรมกริยา+ กรรมตรง) เชน่ หมาเขายงั ไมไ่ ดใ้ ห้อาหาร ស្ឆាន្រមិលទាល់ប្លលឱ្យចំណី ។ 2.11 N (นามเดย่ี ว) เช่น แม!่ นอ้ งครับ រ យ! អូលន្អើយ 2.12 N + N (นามเด่ยี ว+นามเดยี่ ว) เชน่ หนงั สือใคร ន្ែៀវន្ៅលរណា? 3. หนว่ ยคาเสรมิ ในประโยค หนว่ ยเสรมิ คือ หนว่ ยของประโยคซง่ึ สามารยา้ ยทไี่ ปปรากฏ ทีต่ าแหนง่ ตน้ ประโยคหรอื ทา้ ยประโยคกไ็ ด้ แล้วแตก่ ารเน้น จึงมี ความสมั พนั ธซ์ ่ึงกันและกันและกบั สว่ นมลู ฐานน้อยมาก (นติ ยา กาญ จนวรรณ, 2550 : 173-174) แบง่ เปน็ 3 ชนดิ ดงั น้ี 3.1 หน่วยคาเสรมิ พิเศษ (spacial morpheme) เช่น จรงิ ๆ แล้ว เขาเป็นคนเกง่ นะ ាមពិត្ន្ៅ ន្រជាមលែុ សពូស្ក។ เขาเป็นเปนคนเก่งนะ จริง ๆ แลว้ ន្រជាមលែុ សពូស្ក ាមពិត្ន្ៅ ។ 3.2 หน่วยคาเสริมบอกสถานท่ี (place morpheme) เช่น นอกบา้ น อากาศดี ន្ៅន្រៅផ្ះទ អាក្តែធាត្ុ ។អ อากาศดี นอกบา้ น អាក្តែធាត្ុ អន្ៅន្រៅផ្ទះ ។ 3.3 หนว่ ยคาเสรมิ บอกเวลา (Time morpheme) เช่น กลางวนั อากาศร้อนมาก ន្ព វថ្ៃ អាក្តែធាត្ុន្ៅរ ណាែ់។ อากาศรอ้ นมาก กลางวนั អាក្តែធាត្ុន្ៅរ ណាែ់ន្ព វថ្ៃ។

-91- การวเิ คราะหค์ วามหมายของประโยคเพอ่ื การแปล ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ป ร ะ โ ย ค ม า จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค า ท่ี เป็ น ส่วนประกอบของประโยค ความหมายของประโยคข้ึนอยูก่ ับบริบทและ ส่ิงแวดล้อมคาในประโยค ความหมายของประโยคจึงอาจต้องพิจารณา ช นิ ด ข อ ง ป ร ะ โ ย ค ซ่ึ ง ส า ม า ร ถ น า ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ใน ก า ร แ ป ล ให้ ไ ด้ ความหมายแท้จริงของประโยคได้ ประโยค 4 แบบที่ กุหลาบ มัลลิกะ มาส (2519 : 101-102) กล่าวไว้ เป็นส่ิงหนึ่งที่น่าจะนามาประยุกต์ใช้ เพ่อื เปน็ แนวทางในการแปลตามชนิดของประโยค ดงั นี้ 1. ประโยคความเดียว (attic sentence) หมายถึง ประโยคที่ กลาวถึงเพียงสิ่งเดียวและสิ่งนั้นแสดงกริยาอาการอย่างเดียว การ แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและภาษาเขมรเป็นภาษาไทย สามารถ แปลแบบเทียบเคียงคาต่อคาในประโยคได้ แบ่งเปน็ 4 ชนดิ ได้แก่ 1.1 ประโยคบอกเลา่ แบ่งเปน็ ลกั ษณะการขึน้ ต้นของคาใน ประโยค ดังน้ี 1.1.1 ประโยคขึ้นตนดวยผกู ระทา เชน แม่กนิ ข้าว រ យពិសាប្លយ។ เขานอน ន្រន្រង។ 1.1.2 ประโยคข้นึ ตนด้วยผถู ูกกระทา เช่น ตน้ ไมถ้ กู ชาวบา้ นตัดหมดแลว้ ន្ដមើ ន្ឈរើ ត្ូវអនកភូមិក្តប់អែ់ន្ហ្ើយ។ 1.1.3 ประโยคบอกเลา่ ท่ขี ึ้นตนดวยกริยา เชน เลน่ นา้ วนั สงกรานต์สนุกมาก ន្ ងទឹកវថ្ៃបុណយែររា លែាយណាែ់។ 1.2 ประโยคเชิงคาส่งั และขอร้อง เชน หา้ มถา่ ยรปู (คาส่งั ) ហ្មមថ្ត្របូ ។ อย่าเดินลัดสนามหญ้า កុំន្ដើរក្តត្់វ ន្មា ។

-92- กรณุ าถอดรองเทา้ (ขอรอง) ែមូ ន្មារ ដកស្ែបកន្ជើង។ 1.3 ประโยคปฏเิ สธ เชน เขาไมก่ นิ ข้าวหลายวันแล้ว ន្រមិលញុ ំប្លយន្រចើលវថ្ៃន្ហ្ើយ។ ไมห่ รอก ผมไม่เป็นไรหรอก អត្់ន្ទ។ ្អំុ ត្់ជាអីវន្ទ។ 1.4 ประโยคคาถาม เชน คุณจะไปไหน អនកលឹងន្ៅណា? หนูเปน็ ลูกใคร កាួយជាកូលលរណា? 2. ประโยคหลายความ (isocratic sentence) หมายถึง ประโยคยาวที่รวมหลายประโยค มีสว่ นขยาย ใช้ในการเล่าเรอ่ื ง เชน่ ต้นฉบับ “การเรยี นภาษาไทยนนั้ จะต้องมีความพยายามเปน็ เบอื้ งตน้ ผู้เรียนจะตอ้ งจาคาศัพท์ ฝกึ หดั การออกเสยี งวรรณยุกต์ และ เขยี นอักษรไทยให้ถกู ต้อง จึงจะสามารถเรยี นภาษาไทยไดด้ ี” ฉบบั แปล “ក្តរន្រៀលភាសាវថ្រត្ូវស្ត្ពាយាមជាចមបង។ អនកន្រៀលរត្ូវចាំ វកយែពទ ហ្មត្់ក្តរបន្ញ្ចញែំន្ៃង លងិ ក្តរែរន្ែរវថ្ឱ្យរត្ឹមរត្ូវ ប្លលជាអាចន្រៀល ភាសាវថ្ប្លល ។អ 3. ประโยคยาวโดยใช้โวหาร (cieronian sentence) ลักษณะ ของประโยคดังกล่าวมีการกล่าวรายละเอียดต่าง ๆ โดยใช้โวหารต่าง ๆ ได้แก่ บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร และสาธกโวหาร ตัวอย่างเช่น การพรรณนาของลักษณะบุคคล ในหนังสือเรื่อง เมนูบ้าน ทา้ ยวัง ของ รงค วงษสวรรค บางตอนวา่ ตน้ ฉบบั “... ลุงเผื่อนผิวคล้า ค่อนขา้ งดา แต่ผุดผ่องแบบรัศมี ผา เหลืองจับงดงาม ยืนบนความสูงตระหง่าน เดินกาวยาวและหนักแน่น ไหล่กว้างเหยยี ดและสกั อักขระลงอาคมขลัง...” (รงค์ วงษ์สวรรค์, 2541, หนา้ 25)

-93- ฉบับแปล “....អំុន្ផ្ឿលែមបុរដាសំ ្ដងចាែ់ប្លលន្ៅខ្តងន្មា បលិចរ បស្លរ រែែ់រសាយដូចរែីា ែំពត្់ន្ ឿងចាប់ ឆនូត្សាអ ត្ប្លត្ ឈរន្ៅន្ ើកស្លងេ មពែ់រជន្រ ឈ្នលន្ដើរស្វងលិង លែិថរភាព សាា ធំទូោយ លិងសាក់អកខរៈគាថាអារមល៍...” 4. ประโยคบาโร้ก (barogue sentence) คือประโยคท่ีมีขนาด ทั้งยาวและส้ัน มีหลายความ จะมีส่วนขยายหรือไม่ก็ได้ มีได้กาหนด กฎเกณฑ์อย่างเข้มงวด ดังเช่น การโฆษณา บทสนทนาของตัวละคนใน บทละคร และการประกาศประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ตัวอยา่ งเช่น Smart ធំហ្ា ង! 1 ដុោេ រ = 333 ដុោេ រ แปลว่า smart ย่ิงใหญ่ จรงิ ! 1 ดอลลาร์ = 333 ดอลลาร์ ระดับภาษากับการแปล ระดับภาษาเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ภาษาในสังคม คนไทยและ เขมรมีการใช้ภาษาตามระดับ เพื่อให้การใชภ้ าษาให้เหมาะสมกับบุคคล สถานการณ์ และกาลเทศะ แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั 1. ระดับพิธีการ เป็นภาษาที่ใช้ในที่ประชุมที่จัดเป็นพิธีการ เช่น การเปิดประชุมสภา การกลา่ วรายงานในพิธมี อบปริญญาบัตร การกลา่ ว เปิดงานและปิดงานพิธีการ เป็นต้น ผู้ส่งสารในระดับภาษานี้ต้องเป็น บุคคลสาคัญหรอื มีตาแหนง่ สงู ผูร้ ับสารเป็นบุคคลในระดับเดียวกันหรือ กลุ่มชนส่วนใหญ่หรอื ประชาชนทั้งประเทศเป็นผู้รับสารทุกคนมีลกั ษณะ เป็นพิธีรีตองเป็นทางการ เลือกเฟ้นว่าไพเราะเหมาะสมจึงต้องเตรียม บทความนัน้ มาอ่านตอ่ หน้าท่ปี ระชุม ตัวอย่างการใชภ้ าษาระดบั พิธกี าร ตน้ ฉบบั “กราบเรียน ฯพณฯ รฐั มนตรี ที่เคารพอยา่ งสูง กระผม รู้สกึ ปลาบปลม้ื ปตี อิ ยา่ งย่ิงที่ ฯพณฯ ไดใ้ ห้เกียรติเปน็ ประธานเปดิ อาคาร ...” ฉบบั แปล “ែមូ ន្គារពជូល ឯកឧត្រមរដមឋ លរត្ី ជាទីន្គារពដ៏ ពង់ ពែ់។ ្ំុប្លទ លន្ែចករីរកី រាយបីត្ិវរកន្ ងស្ដ ឯកឧត្រមរដឋមលរត្ីប្លលអន្ញ្ើចញជារបធាលកិត្រ យែកនុងពិធីែន្ ា ធល៍អគារ...”

-94- 2. ภาษาระดบั ทางการ ภาษาระดบั ทางการนี้เปน็ การใชภ้ าษา มาตรฐานและใชค้ าถกู ต้องตามไวยากรณ์ เชน่ การบรรยาย หรือการ อภิปรายในที่ประชมุ หนังสือทีใ่ ช้ตดิ ต่อทางราชการหรือวงธุรกิจ ตวั อย่าง การใช้ภาษาระดับทางการ ต้นฉบับ “การสะกดคาภาษาไทยจะตอ้ งยดึ ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน แม้วา่ คอมพวิ เตอร์จะมโี ปรแกรมพจนานุกรมกต็ าม …” ฉบับแปล “អកខរាវរិ ទុ ធភាសាវថ្រត្ូវក្តល់ាមវចន្ទលរុ កុមវលរាជបណឌិ ត្ែភា ន្ទាះបីកុំពយូទ័រ លកមាវធិ ីវចន្ទលរុ កមុ ករី ...” 4. ภาษาระดบั ก่ึงทางการ ภาษาระดบั นีใ้ ช้ในการสื่อสารกบั บุคคล ทัว่ ไปทีไ่ มไ่ ดม้ คี วามสมั พันธก์ ับวงการวิชาการหรือวงการอาชีพ การใชภ้ าษาระดับกึ่งทางการ ได้แก่ งานเขยี นในส่อื ส่ิงพิมพต์ า่ งๆ เชน่ วารสาร นิตยสาร หนงั สอื พิมพ์ บทบรรยายในนวนยิ าย เรอ่ื งส้นั บทละคร จดหมายกิจธุระ จดหมายธรุ กิจ จดหมายสว่ นตัวที่เขยี นถงึ บุคคลซ่งึ ไมค่ นุ้ เคยกัน การประชุมภายในหนว่ ยงาน การพดู โทรศพั ทก์ บั บุคคลทั่วไป การเปน็ พิธีกรรายการบันเทิง ตวั อย่างการใชภ้ าษากงึ่ ทางการ ตน้ ฉบับ “...ในช่วงทเี่ รยี นอยู่ในระดบั มัธยม ผทู้ มี่ ีความขยันมุง่ มนั่ จะเข้ามหาวิทยาลยั ใหไ้ ด้ จะไมส่ นใจสิง่ แวดลอ้ มรอบกายท้งั สิน้ ยกเว้น ส่งิ ทเี่ ขาคดิ วา่ จะสามารถทาใหส้ อบเข้ามหาวทิ ยาลัยได้...” ฉบับแปล “កនុងអំៃុងន្ព ស្ដ ន្រៀលវទិ ា ័យ អនកស្ដ ិត្ ំលឹងចូ ន្រៀល កនុងសាក វទិ ា ័យឱ្យប្លល ន្រលឹងមិលចាប់ អារមណ៍ អំពី បរបិ ទព័ទធជុំវញិ ក្តយទាំង អែ់ ន្ ើកន្ ងស្ត្អីវៗ ស្ដ ន្ររិត្ថាអាចលឹងន្ធវើឱ្យន្ររបៃងចូ ន្រៀលន្ៅសាក វទិ ា ័យប្លល...” 3. ภาษาระดับไมเ่ ป็นทางการ ภาษาอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการน้ีเปน็ ภาษาทใ่ี ชใ้ นการสนทนาโตต้ อบ ระหวา่ งบคุ คลหรือกลมุ่ คนเพียง 4 – 5 คน ในสถานท่ีและเวลาทไี่ ม่ใช่ ส่วนตัว สถานการณ์การใชภ้ าษาระดบั นี้ในพน้ื ทส่ี าธารณะ ตลาด การ เขียนจดหมายถงึ เพอ่ื น การรายงานข่าวกฬี า และการเสนอบทความ

-95- ตน้ ฉบบั “จากกรณีทห่ี ลวงพอ่ คณู ปริสุทโฺ ธ เกจดิ งั แห่งวดั บ้านไร่ ได้อาพาธลงอย่างกะทันหัน มีอาการอ่อนเพลยี อย่างหนักเนอื่ งจากตอ้ ง ตรากตราทาพธิ ีปลกุ เสกวตั ถุมงคลและเคาะหวั ให้กับบรรดาศษิ ยานศุ ษิ ย์ จนไมม่ ีเวลาพกั ผ่อน...” ฉบบั แปล “កនុងករណី ស្ដ រពះន្ត្ជរពះរុណន្ោកររូ ូ ល បរែិ ុន្ទាធ រឺជា ន្ោកែងឃដ៏ បវី លវត្រប្លលវរ៉ា ប្លលអាពាធយា៉ាងឆ្មប់ រហ្័ ែ។ គាត្់ លអាក្តរៈអែ់ ក េ ំងយា៉ងា ខ្េតំង ន្ដាយសារ ំន្ធវើពិធីន្ែកមលរគាថាវត្ែថុ ករិែិទិធ លឹងន្គាះកា ជូល ដ ់បណារ ែិែាលែុ ិែសរហ្ូ ត្គាា លន្ព ែរ ក...” สรุป การแปลภาษาจากไทยเป็นเขมรและเขมรเป็นไทยน้ัน แม้ จะ สามารถแปลแบบเทียบเคียงภาษาได้ แต่ส่ิงที่ต้องคานึงถึงเสมอก็คือ ความแตกต่างของรูปไวยากรณ์ของภาษาท้ังสอง โดยเฉพาะการเรียง คากริยาที่เปน็ อกรรมกริยาเป็นส่วนประกอบ เช่น ไทยใช้ว่า ขาหัก เขมร ใช้วา่ หักขา เป็นตน้ และการใช้ลกั ษณนามในบางคาบางบริบทของคาใน ประโยค สิ่งทจี่ ะเป็นปัญหาสาคญั สาหรบั นักแปลอกี ประการหนึง่ ก็คอื คา โวหาร และสานวนที่แตกต่างกัน นักแปลจาต้องศึกษาและมีความรู้ หลากหลายด้านทั้งทางรูปภาษา วัฒนธรรม และประเภทของงานแปล จึงจะสามารถแปลภาษาเขมรเป็นไทยและไทยเป็นเขมรได้อย่างถูกต้อง และสัมฤทธิผลมากย่ิงขนึ้

-97- บทท่ี 4 การปรบั บทแปลภาษาเขมร บทนา ก า รป รั บ บ ท แป ล ถือ ว่ า เป็ น ก ระ บ ว น ก า รห นึ่ ง ที่ ส า คั ญ ใน ก า ร แปลภาษาต้นฉบับไปสู่ภาษาแปล เน่ืองจากบริบททางสังคมและ วัฒนธรรมในเน้ือหาทีป่ รากฏในภาษาตน้ ฉบบั อาจมีความแตกตา่ งกันกับ ภาษาแปล เน่ืองจากการแปลภาษาทุกคร้ังผู้แปลจะต้องรักษาและส่ือ ความหมายของภาษาต้นฉบับไปสู่ภาษาแปลให้มากท่ีสุด เพื่อให้ผู้รับ สารภาษาแปลให้มีความรู้ความเข้าใจเหมือนกับผู้รับสารภาษาต้นฉบับ การแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรและภาษาเขมรเป็นภาษาไทยนั้นก็ต้อง มีการปรับบทเพ่ือให้สามารถถ่ายทอดความหมายของภาษาท้ังสองให้ เท่ากันและมีความหมายเหมือนกัน แม้บางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ทัศนคติ และความเชอ่ื ของทง้ั คนไทยและคนเขมรมคี วามเหมอื นกนั คลา้ ยคลงึ กนั และมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดก็ตาม แต่ก็มีบางประเด็นท่ีมีความ แตกต่างกันไป ดังน้ันผู้แปลทั้งสองภาษาคือภาษาไทยกับภาษาเขมร จะต้องปรับบทแปลให้เข้ากับลักษณะทางวัฒนธรรมและให้สามารถส่ือ ความหมายให้ตรงกับต้นฉบับให้มากท่ีสุด ในบทนี้จึงนาวิธีการปรับบท แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นภาษาเขมรพร้อม ยกตัวอย่างประกอบเพ่ือเป็นแนวทางในการปรับบทแปลในโอกาสตอ่ ไป ความมุง่ หมายของการปรับบทแปล การปรบั บทแปลภาษามคี วามมุ่งหมายดังตอ่ ไปน้ี 1. เพ่ือปรับบทในภาษาที่แปลน้ันให้มีความหมายตรงกันกับ ภาษาต้นฉบบั มากทสี่ ุด 2. เพื่อปรับภาษาแปลให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมการใช้ภาษา ของผู้รับสารการแปลมากทส่ี ดุ 3. เพื่อปรับภาษาท่ีสามารถสร้างการตอบสนองของผู้อ่านงาน แปลได้มปี ฏกิ ริ ยิ าใกล้เคียงกบั ผอู้ า่ นต้นฉบบั มากท่สี ุด

-98- ขอ้ ควรพิจารณาในการปรบั บทแปล การปรับบทแปลจะกระทาก็ตอ่ เมอ่ื มคี วามจาเป็นในการทจ่ี ะตอ้ ง ปรับบทแปลให้สามารถสื่อสารและมีความหมายให้ตรงกับต้นฉบับมาก ที่สุด โดยอาศัยความจาเป็นทางด้านหลักภาษาและบริบททางสังคม วฒั นธรรมประกอบในการปรบั บทแปลเสมอ ข้อท่ีควรนามาพิจารณาใน การปรบั บทแปล ได้แก่ 1. การปรับบทแปลด้านภาษา อาจทาได้ก็ต่อเมื่อต้องการปรับ ภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้อ่านหรือเป้าหมายของการแปล เช่น การแปลบทความวิชาการระดับสูงเพ่ือเป็นเอกสารหรือตาราสาหรับ ผู้อ่านเป็นเด็กนักเรียนระดับประถมและมัธยมศึกษา อาจจะต้องปรับ ภาษาให้อ่านง่าย เรียบง่าย และเข้าใจง่าย เป็นต้น หลักภาษาต้นฉบับ อาจมีความแตกต่างจากภาษาแปล อาจต้องปรับภาษาให้ตรงกับหลัก ภาษาของภาษาแปล ปรับคาและสานวนให้มีความหมายเหมือน ภาษาต้นฉบับ การปรับภาษาดังกล่าวนี้ทาให้เกิดความสละสลวย และ เป็นธรรมชาตมิ ากยิง่ ข้ึน 2. การปรับบทแปลแต่ละครั้ง ผู้แปลจะต้องพิจารณ าถึง วัตถุประสงค์ของภาษาต้นฉบับว่ามีวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยผู้ แปลจะต้องพิจารณาเพื่อจะเลือกปรับภาษาให้เหมาะสม ซึ่งต้นฉบับ บางอย่างจะต้องแปลเพื่อรักษารูปแบบทางภาษาของต้นฉบับ ในการ แปลภาษาเขมรและภาษาไทยอาจแปลโดยใช้วิธกี ารแบบเทียบเคียงกไ็ ด้ ซ่งึ จะทาให้สามารถรักษารูปแบบทางภาษาต้นฉบับ อยา่ งไรกต็ ามผแู้ ปล ควรเลือกจะรักษาความหมายไว้โดยการปรับเปล่ียนรูปประโยคได้บ้าง ตามความเหมาะสม ยกเว้นงานเขียนประเภทรจนาสาร (expressive writing) ที่เน้นถึงแปลรักษาเพื่อรักษาความหมาย อาจมีการปรับบทที่ แตกตา่ งจากงานเขยี นประเภทอน่ื ๆ การปรับบทแปลน้ไี มใ่ ช่จะกระทาได้ ทุกเม่ือ ควรพิจารณาว่าทาได้เม่ือใด ตอนไหนในการแปล จะกระทา ต่อเม่ือมีความจาเป็นเท่านั้น ซ่ึงผู้แปลไม่ควรแก้ไข ดัดแปลงภาษาแปล เพ่ือความสละสลวยตามที่ตนเองพึงพอใจ ควรรักษาต้นฉบับไว้ทั้ง ทางดา้ นการเขียนและความหมาย

-99- ระดบั ของการปรบั ภาษา การปรับระดบั ภาษาอาจแบ่ง 2 ระดบั ดังนี้ ระดบั ที่ 1 การปรบั ภาษาระดบั คา ระดบั ที่ 2 การปรบั ระดับประโยค ระดับการปรับภาษาทั้ง 2 อย่างนี้ผู้แปลควรพิจารณ าให้ เหมาะสมในสถานการณ์การแปลภาษาโดยอาศัยข้อพิจารณาการปรับ ระดับภาษาดังท่กี ล่าวขา้ งต้นแลว้ 1. การปรับภาษาระดับคา ก าร ใช้ ค าแ ล ะ ส า น ว น ใน ภ า ษ า แ ป ล ที่ ป รับ ภ าษ าแ ล้ ว ให้ มี ความหมายตรงกับภาษาต้นฉบับมากท่ีสุด การปรับภาษาระดับคานี้จะ จาเป็นต่อเม่ือคาหรือสานวนในต้นฉบับมีความหมายอ้างอิงถึงส่ิงใดสิ่ง หนึ่งไม่มคี าหรอื สานวนที่อา้ งองิ ถงึ ส่ิงเดียวกนั ในภาษาฉบับแปล ในท่ีน้ใี ช้ การปรับภาษาระดับคาตามแนว สัญฉวี สายบัว (2550) จะใช้วิธีการ ปรบั ภาษาดังต่อไปน้ี 1.1 การเติมคาอธิบายในตวั บท การเติมคาอธิบายในตัวบทนี้อาจใชว้ ิธีการเติมลงไปในตัว บทได้ 2 วิธี ได้แก่ การเติมคาอธิบายในเนื้อหาโดยวงเล็บเพ่ืออธิบาย ค วาม แล ะ การเติม ค าอธิบ ายใน รูป แบ บ ของการอ้ างอิงแบ บ เชิงอรรถ (footnote) ในการอ้างองิ แบบเชิงอรรถนี้อาจทาได้ 2 แบบ คอื เชิงอรรถใส่ลงข้างล่างของหน้ากระดาษหรอื จะเติมไว้ทา้ ยเลม่ กไ็ ด้ โดยมี ตัวเลขชโี้ ยงบอกว่าเป็นข้ออธิบายของคาน้ันๆ กไ็ ด้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1.1 การเตมิ ลักษณะนาม การใชล้ กั ษณะนามในภาษา เขมรกบั ภาษาไทยท้งั เหมือนกันและแตกต่างกนั ในภาษาเขมรบางคร้งั ไม่ มีใช้ลักษณะนาม เมื่อแปลเป็นภาษาไทยจะต้องเติมลักษณะนามเสมอ เชน่ ต้นฉบับ “កុមារនិយាយថា“ឆ្កែ” កុមារន ោះ អាចចង់ប្រាប់ថាមាន ឆ្កែ ฉบบั แปล មួយ ។” “เด็กพดู วา่ “หมา” เด็กคนนน้ั อาจตอ้ งการบอกวา่ มีหมาหน่งึ ตวั ”

ต้นฉบับ -100- ฉบับแปล “មានឆ្ាមមួយចាស់ជរាមិនអាចមានលទ្ធភាពន ើរនចញចាប់ កណ្ត រុ តនៅនទ្ៀត។” “แมวแก่ตัวหนึ่งไม่มีความสามารถวิ่งจบั หนไู ด้อีกตอ่ ไป” 1.1.2 การเติมข้อความ การเติมข้อความส้ันๆ เพ่ือ อธิบายคาหรือสานวนเพื่อให้ความหมายท่ีคาน้ันอ้างอิงไปถึงตรงกับ ต้นฉบับ หรือเพื่อเป็นการอธิบายความหมายในภาษาแปลให้กระจ่าง ขึน้ เช่น ต้นฉบบั “ប្រាន់ឆ្តឮសំន ឿននៅ ងចំន្ា ោះ នូ ចនោះកីវហាក់នតត ฉบับแปล ចិតតមួយរនំ ពច...” “เพียงแคไ่ ดย้ นิ สมเอือนเรียกหญิงสาวด้วยชือ่ เช่นนน้ั หญงิ สาว (หญงิ ผูม้ ีผิวงาม) โกรธขึน้ มาทันที ...” (วนารตั น์ น้อยเล็ก, 2556 : 22) ตน้ ฉบบั “ ង ថានជួបកំន ោះពិទ្ូរយឆ្ លមានអាការៈ ូចជា ฉบับแปล ឈរចាំ ង...” ตน้ ฉบบั ฉบับแปล “หญิงสาว(นางผู้สูงศกั ด์ิ) พบชายหนมุ่ พิทูรย์ ซง่ึ มี อากัปกริ ยิ าเหมอื นว่ายนื รอเธอ...” (วนารตั น์ นอ้ ยเลก็ , 2556 : 134) “នៅកនុងជំពូកគុមតប្រសូវន ោះ មានផ្ែកប្រតកួនពណ្៌ ស្វវ យ, ផ្ែកប្រកជីបពណ្៌ ប្រកហមនអៅ , ផ្ែក ញ្ចា ញពណ្៌ នលឿង ចូ មានកិៅន យឡាំ ន ...” “ในระหว่างกอข้าวน้ันมดี อกผักบ้งุ สมี ว่ งดอกกรชฺ ีบ๓ สแี ดงอร่าม ดอกอาชาญ๔ สเี หลอื งเหมือนสกุ ปลงั่ ปะปนกันไป...” -----

-101- ๓ กรฺชพี เป็นชื่อดอกไวช้ นิดหนง่ึ ขนึ้ ในนา้ ใบสาม แฉก คลา้ ยกระเจา เปลอื กคลา้ ยปอ นาไปทาเชอื ก ได้ แตไ่ มท่ น ๔ อัญชาญ ไม้ผลชนดิ หนง่ึ ต้นเล็ก ใบห่าง ๆ ดอก เสยี เหลอื ง ลกู กลม ๆ ตรงหวั คอดเหมอื นคอขวด เวลาสกุ มีเสียงเหลอื ง ลูกแก่ใช้เชื่อมได้ มักขนึ้ ตามที่ราบหรอื ปา่ ชื้นแฉะ (ศักด์ิ เพชรประโคน, 2540 : 58) 1.2 การใชว้ ลหี รอื ประโยคแทนคา เช่น ต้นฉบบั “វាលឆ្ប្រស! វាលឆ្ប្រស ! ពាសនពញៗ ជាប់ាន ល់នជងើ ព្ប្រព...” ฉบบั แปล “ทุ่งนา ! ทุ่งนากว้างใหญ่ติดต่อกันเป็นพืดถึงชายป่า...” (ศักดิ์ เพชรประโคน, 2540 : 58) 1.3 การตดั คาหรือสานวนท้งิ ไป คาและสานวนทไี่ มม่ ีใช้ในภาษาฉบับแปลหรือคาใดท่มี ใี น ตน้ ฉบบั แต่ไม่สามารถใชใ้ นประโยคของภาษาแปลได้ อาจตัดคาบางคาท่ี ต้องแปลซา้ เชน่ การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ต้นฉบบั “ខ្ំុ និងប្របសុ ៗ នៅស្វ ចឆំ ្ណ្កប្រសីៗ វញិ នៅន ើរនលងផ្សា។” ฉบับแปล “ฉนั กบั กลุม่ ผู้ชายไปโรงเรยี น สว่ นกลุ่มผหู้ ญิง(...) ไปเดนิ ตน้ ฉบับ เท่ยี วตลาด “ខ្ុំ នងឹ ប្របសុ ៗ នៅស្វ ចឆំ ្ណ្កប្រសៗី វញិ នៅន រើ នលងផ្សា។” ฉบบั แปล “ฉนั กับกล่มุ ผชู้ ายไปโรงเรียน สว่ นกลุม่ ผหู้ ญิง(...) ไปเดนิ เทย่ี วตลาด” การแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ต้นฉบับ “ริน: แลว้ คณุ พ่อรกั แหมม่ นัน่ กจ็ รงิ หรือคะ รกั ท้งั แหมม่ รกั ทั้งคณุ แมห่ รือคะ (ปดิวรัดา)” ฉบับแปล “រនិ ៖ ន កា៉បា្រសឡាញ់ប្រសីនៅ នងសេ ឆ្មននទ្? ប្រសឡាញ់នរៀង ប្រសី នកមា៉កា ់ឆ្មននទ្? (ឧតដមភរយិ ា)”

-102- การปรับบทแปลระดับคาน้ีเป็นส่วนช่วยให้ผู้แปลในการปรับ คาศัพท์ให้สามารถเลือกความหมายคาศัพท์ให้เหมาะสมหรือถูกต้องกับ บริบทไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. การปรบั ระดับประโยค ผู้แปลต้องพิจารณาประโยคภาษาเขมรกับภาษาไทยมีความ แตกต่างกันหรือไม่ เพราะบางทีการเรียงคาในประโยคภาษาเขมรอาจมี ความแตกต่างจากการเรยี งคาในประโยคภาษาไทย ซ่งึ ได้กล่าวไว้แล้วใน บทก่อนน้ีแล้ว ในท่ีนี้นามากล่าวเสริมอีก เพื่อให้ชัดเจนมากย่ิงขึ้น ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 การปรบั การเรียงคาในประโยค เชน่ ต้นฉบบั “ខ្ុបំ្រតូវនៅន ើរនលង ងរេ វតតមតងនទ្ៀត។” ฉบบั แปล “ฉนั ตอ้ งไปเที่ยวนครวัดอกี ครง้ั ” ต้นฉบับ “ខ្ុំប្រតូវការទ្ឹកមា៉ាឆ្កវនទ្ៀត។” ฉบบั แปล “ผมต้องน้าอกี แกว้ ครับ” 2.2 การปรับประโยคคาถาม ดงั บทสนทนาดังตอ่ ไปน้ี ตน้ ฉบับ “នតើ នកន្វកើ ារងារ ីវឆ្ រ?” ฉบบั แปล “คณุ ทางานอะไรครับ/คะ” ตน้ ฉบับ “ខ្ុំជា នកនបកើ យននត ហាោះ នហើយ នកន្វើការងារ ីវឆ្ រ? ” ฉบบั แปล “ผม/ฉันเป็นนักบินครับ/คะ แล้วคุณละ ทางาน อะไรครับ/คะ” ต้นฉบับ “នតើ នកចលូ ចតិ ទត ្ីន ោះឆ្ រនទ្? ” ฉบับแปล “คุณชอบท่ีน้ันไหม”

-103- การปรับภาษาระดับโครงสร้างประโยคหรือการปรับทานอง การเขียน (style) เป็นการปรับทั้งการเรียงคาและวลีในประโยคเพ่ือให้ เหมาะสมกับภาษาแปล การแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ในบทละคร บางบทกใ็ ช้วธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งประโยคนเ้ี ชน่ เดียวกนั เชน่ ต้นฉบับ “ตอนนั้นคุณพ่อท่านอยูต่ ่างประเทศ งานที่ ทา่ นทากอ็ ยู่ไมเ่ ป็นท่ี ขอโทษนะคะ คณุ เคย บอกว่าพอ่ ของคณุ ลม้ ละลาย” (ปดวิ รัดา) ฉบบั แปล “កាលន ោះាខ៉ា ្ំុនៅបរនទ្ស ការងារន កន្វើ មិនាននៅមួយកឆ្នែងនទ្ សមូ នោសផ្សង ន កធ្ែលប់ប្រាប់ ថាា៉ាន ក ួលរលំ” (ឧតមដ ភរយិ ា)  “ស្វរជាតិ ៏ប្របព្ពននោះ នៅឆ្តសិតថ ជាប់កនុងខែួន ตน้ ฉบบั របស់ជនជាតិឆ្ខារនៅនឡើយ នប្រពាោះតន្តនឆីត ្ខារ ฉบบั แปล នៅរកានិចានវូ តួ ទ្ីមួយយា៉ាងសំខាន់....”  (ឆ្កវ ណារ.ំុ 2011 : 3)  “ลกั ษณะที่งดงามน้ียังคงสถิตตดิ อยู่กบั คน เขมร เพราะดนตรเี ขมรยังรักษาไวซ้ ่งึ หน้าที่ หลกั ...” คณุ ภาพของการปรบั บทแปล หลังจากมีการปรับระดับภาษาการแปลแล้ว ผแู้ ปลอาจต้องปรับ บทแปล 2 ครงั้ เพ่อื ให้ถูกต้องและดที ีส่ ุด ในทีน่ ีด้ ดั แปลงจากหนงั สือ แปล ให้เป็นแลว้ เกง่ ของ เตือนจิตต์ จติ ต์อารี (2548 : 253-255) ดงั น้ี

-104- 1. ระดับถูก - ผิด โดยการตรวจสอบดูความหมายในฉบบั แปลว่า ถกู ตอ้ งตรงกนั กับความหมายในตน้ ฉบบั หรอื ไม่ 2. ระดับดี – ไม่ดี โดยกรตรวจสอบวา่ สานวนภาษาท่ีใช้ในฉบับ แปลนั้นส่ือความหมายได้ชัดเจน ภาษาท่ีใช้มีความสละสลวยและเป็นที่ ยอมรบั หรอื ไม่ ตัวอยา่ ง ចន្ៀា នននោះនគន្វើឆ្កែងកាែ យានលៅ។ ตน้ ฉบบั แปลก่อนปรับ แหวนวงนีเ้ ขาทาเลยี นแบบไดด้ ี ปรับบทแปล เขาทาแหวนเทยี มได้ดี ต้นฉบบั ตอนท่ีอายุ 21 ปี ผมเรยี นอยูป่ ีท่ี 3 แปลก่อนปรบั កាលឆ្ លខ្ុមំ ានអាយុ 21 ឆ្នមំ ខ្នំុ រៀនថាន ក់ទ្ី 3 ។ ปรบั บทแปล ខ្នុំ រៀននៅថាន ក់ទ្ី 3 នពលខ្មំុ ានអាយុ 21 ឆ្នម។ំ บทสรปุ การปรบั บทแปลนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญมาก เพราะภาษาตน้ ฉบบั อยู่ ในบริบททางวัฒนธรรมของต้นฉบับซงึ่ แตกต่างจากบริบททางวฒั นธรรม ของภาษาปลายทางหรือภาษาแปล ดั้งน้ัน ผู้แปลจะต้องพิจารณา ตน้ ฉบับ ภาษาแปล และบริบททางวัฒนธรรมไปพรอ้ ม ๆ กัน โดยอาศัย ทง้ั การใช้ภาษาและบริบททางดา้ นวฒั นธรรม นอกจากนั้นผแู้ ปลจจะต้อง รักษาเนื้อหาและรูปแบบของภาษาต้นฉบับไว้เพ่ือไม่เน้ือหาในภาษา ปลายทางหรือภาษาแปลไมค่ ลาดเคลอ่ื นจากเนือ้ หาในภาษาตน้ ฉบบั การ แปลท่ีเน้นการรักษารูปแบบของภาษาต้นฉบับไว้เป็นส่ิงสาคัญก็คือ การ แปลเอกสารโบราณ คัมภีร์ศาสนา และคาสอน ผู้แปลจะต้องพิจารณา

-105- และหาเหตุผลอันสมควรในการที่จะปรับบทแปลภาษาหรือไม่ปรับบท แปลภาษา ทั้งนี้ผู้แปลจะตอ้ งศึกษาเนื้อหาของต้นฉบับให้ถอ่ งแท้แล้วจึง มาว่าจะปรบั บทแปล

-107- บทท่ี 5 การแปลขา่ ว บทนา ข่าวถือว่าเป็นสิ่งหน่ึงที่สาคัญในยุคปัจจุบัน เนื่องจากวิทยาการเทคโนโลยี และการสอ่ื สารที่ไรพ้ รมแดน คนในโลกจงึ รับรู้ขา่ วสารด้วยความรวดเรว็ ฉับไว และ ทันเหตุการณ์ การนาเสนอขา่ วในปัจจุบันมชี ่องทางการนาเสนอหลายชอ่ งทาง ไดแ้ ก่ ขา่ ว หนงั สือพิมพ์ ขา่ วส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ และข่าววิทยแุ ละโทรทศั น์ ในแตล่ ะช่องทางก็มี วิธีการนาเสนอข่าวแตกต่างกันไป ผู้รับข่าวสารแต่ละช่องทางก็มีกระบวนการท่ี แตกต่างกนั ไป การแปลข่าวจึงเป็นเร่ืองที่สาคัญ ในปัจจุบันเพราะว่าคนในโลกน้ีจาเป็ น จะต้องรับรู้เร่ืองราวข่าวสารของกันและกันท้ังท่ีเป็นข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับกิจการ งานของตนเองโดยตรงและโดยอ้อม ข่าวถือว่าเป็นเรื่องราวท่ีเกดิ ข้ึนในปัจจุบนั และ เป็นเร่ืองทน่ี า่ สนใจ วิธกี ารแปลขา่ ว การแปลขา่ วส่วนใหญ่ใช้วิธีแปลแบบถอดความ มุง่ ความถูกต้องด้านเน้ือหา เป็นหลัก อาจไม่ได้เน้นรูปแบบหรือหลักภาษาในการนาเสนอ จึงอาจมองว่าการ แปลข่าวบางคร้ังเป็นเหมือนกับการสรุปข่าว แต่อย่างไรก็ตามผู้ท่ีจะแปลข่าวได้ อย่างถูกต้องต้องรู้ภาษาเกี่ยวกับข่าวท้ังภาษาข่าวต้นฉบับและภาษาข่าวฉบับแปล โดยเฉพาะการแปลข่าวมาเป็นภาษาไทย ตอ้ งคานึงถึงความถูกตอ้ งในการใชค้ าศพั ท์ เฉพาะกิจในดา้ นสื่อสารมวลชน การแปลข่าวจึงจะถูกต้องและได้อรรถรสการแปล ข่าว ข้อควรปฏิบตั ิในการแปลข่าวท่ผี แู้ ปลสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัตกิ าร แปลข่าวดังตอ่ ไปน้ี 1. ผู้แปลควรอ่านข่าวต้นฉบับให้เข้าใจ หากเป็นข่าวท่ีใช้ภาษาง่ายต่อการ แปลควรอ่านซา้ สองครง้ั แต่ถ้าเป็นข่าวที่ใช้คาศพั ท์และสานวนท่ียากต่อการแปล ผู้ แปลควรอยา่ งและทาความเข้าใจหลายคร้งั จนกวา่ จะเข้าใจเร่ืองดขี ้นึ

-108- 2. ผ้แู ปลอาจสมมติเหตกุ ารณ์ของข่าว โดยคานึงถงึ การเล่าเรื่องหรือการเล่า ขา่ วว่าถ้าหากผู้แปลต้องการเล่าข่าวท่ีตนเองรบั รู้มาให้คนอ่ืนได้รับรู้ด้วยน้ัน ผู้แปล จะเล่าดว้ ยวธิ ีการใดหรือเลา่ ใหเ้ ขาฟังอยา่ งไรเขาจึงจะเข้าใจตามที่เราต้องการจะให้ ทราบ 3. ผู้แปลควรเขียนโครงร่างข่าวหรือเรื่อง เพื่อให้ง่ายต่อการเร่ืองที่จะเล่า ออกมาใหเ้ ปน็ ภาษาแปลท่ีงา่ ยตอ่ การแปลและเล่าเรือ่ งใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจไดโ้ ดยง่าย 4. ผู้แปลควรจับใจความสาคัญของข่าว แล้วนาไปปรับบทการแปลให้เน้น จดุ ท่ีสาคัญให้ผอู้ า่ นงานแปลขา่ วรับรใู้ ห้มากทสี่ ุด 5. ผู้แปลควรคานึงถึงน้าเสียงข่าวหรือเร่ืองท่ีแปล ควรพิจารณาถึงความ หนักเบาของขา่ วหรือเร่ืองราว หรือพจิ ารณาถึงประเภทของข่าวเพอ่ื ให้สามารถปรับ บทการแปลข่าวใหเ้ ข้ากับประเภทและเนน้ นา้ เสียงใหต้ รงกบั ประเภทข่าว 6. ผู้แปลต้องตระหนักในคุณสมบัติของข่าวอยู่เสมอ กล่าวคือ ข่าวน้ัน จะต้องมีคุณสมบัติ ดงั ตอ่ ไปน้ี 6.1 ความถกู ต้อง (accuracy) 6.2 ความสมดุล (balanced) 6.3 ความเท่ียงธรรม (fair) 6.4 ไม่เอาตัวพัวพัน (objection) 6.5 ชัดเจน (clear) 6.6. กะทดั รัด (concise) 6.7 เพ่ิงเกดิ (current) การนาเสนอข่าวในปัจจบุ ันมีช่องทางในการนาเสนอข่าวมี 3 ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่ 1. ขา่ วหนังสือพิมพ์ 2. ขา่ วในส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ 3. ขา่ ววิทยุกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทศั น์ การแปลข่าวหนงั สือพมิ พ์ หนงั สือพิมพ์ หมายถึง สือ่ สงิ่ พิมพ์ที่นาเสนอขา่ ว การเคล่ือนไหว เหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ มีกาหนดการออกท่ีแนน่ อนตายตัว โดยส่วน ใหญ่จะออกเปน็ รายวัน นอกจากนี้แล้วยงั มหี นังสือพิมพร์ ายสปั ดาห์ รายปักษ์ และ รายเดอื น หนังสือพมิ พม์ กั จะพิมพ์ลงในกระดาษสาหรบั พมิ พห์ นงั สอื พมิ พโ์ ดยเฉพาะ ซง่ึ มีราคาถกู

-109- เนื้อหาหลักของหนังสือพิมพ์ประกอบด้วยข่าวสารบ้านเมอื งและเหตุการณ์ ปจั จุบันในดา้ นต่าง ๆ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวกีฬา และข่าวบันเทิง เป็นต้น มีการใช้รูปภาพประกอบเน้ือหา ทาให้เน้ือหาชัดเจนมาก ขึน้ นอกจากนี้แล้วอาจมีส่วนต่าง ๆ เพ่ิมเตมิ เป็นพิเศษ เช่น พยากรณ์อากาศ และ การ์ตูน ซง่ึ โดยทวั่ ไปเป็นการต์ นู ล้อเลียนการเมือง การแปลข่าวน้ัน ผู้แปลจะต้องศึกษาและเข้าใจรูปแบบและส่วนประกอบ ข่าวท้ังภาษาต้นฉบับและภาษาแปล รูปแบบการนาเสนอข่าวท้ังลักษณะร่วมและ ตา่ งกัน โดยเฉพาะส่วนประกอบของข่าวลว้ นมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. หัวข่าวหรือการพาดหวั ขา่ ว (headlines) 2. ข่าวนา (lead) 3. เนอ้ื ขา่ ว (body) บทบาทนักแปลข่าวหนังสือพิมพ์จากภาษาต้นฉบับเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการจัดการ คาศัพท์ภาษาเขมรที่สาคัญที่ผู้แปลข่าวหนังสือพิมพ์จะต้องทราบก่อนที่จะ แปล มีดงั น้ี ภาษาเขมร ภาษาไทย កាសែត หนังสอื พมิ พ์ ទំព័រមុខ ขา่ วหน้าหนง่ึ ចំណងជ ើងកាសែត พาดหวั ข่าวหนงั สือพิมพ์ ពត៌មាននំមុខ ข่าวนา អ្នកកាសែត นกั หนงั สอื พิมพ์ អ្នកយកពត៌មានកាសែត นกั ข่าว បណ្ា ណធិការកាសែត บรรณาธกิ ารขา่ วหนังสอื พมิ พ์ អ្នកបកសរបព័ត៌មានកាសែត นกั แปลข่าวหนงั สอื พมิ พ์ 1. การแปลหวั ขา่ วหรือการพาดหัวข่าว การพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์และในส่ืออื่น ๆ ใช้ภาษาท่ีสะดุดตาและ ดึงดูดความสนใจ กะทัดรัด ได้ใจความ และกระตุ้นให้ผู้อ่านมีความสนใจอยากรู้ อยากเห็นขา่ วรายละเอยี ดในเนอ้ื ข่าว

-110- การพาดหวั ข่าวในหนงั สอื พมิ พ์เขมรมีรปู แบบและการใช้ภาษาทเ่ี หมือนและ แตกต่างจากหนังสือพิมพ์ไทยบ้าง แต่รูปแบบการใช้ขนาดตัวอักษรก็มีลักษณะ เดยี วกนั ก็คอื ใช้ตัวหนังสือทใ่ี หญ่กวา่ หัวขอ้ ยอ่ ยของขา่ วและเนอ้ื หาข่าว ดังตัวอยา่ ง ภาพที่ 7 แสดงการพาดหัวขา่ วหนังสือพมิ พ์ไทย ทมี่ า : หนังสอื พิมพไ์ ทยรฐั ฉบบั วนั ที่ 31 ก.ค. 2560 ภาพท่ี 8 แสดงการพาดหวั ข่าวหนังสือพิมพ์กมั พชู า ทมี่ า : ភ្ំនជពញបុែិ៍ត ฉบับวันท่ี 4 มิถุนายน 2013 ภาษาท่ีใช้ในการเขียนหัวข่าวไม่ว่าจะเป็นภาษาไทยและภาษาเขมรก็มี ลักษณะเฉพาะด้านคา วลี และประโยค เมื่อจะแปลหัวข่าวจะต้องใช้พิจารณาถึง การใช้ภาษาของท้ังภาษาไทยและภาษาเขมรว่าเหมือนกันหรือไม่ และสามารถทา ให้การแปลนนั้ มีความหมายตรงกับภาษาต้นฉบับหรือไม่ ส่ิงที่ผ้แู ปลจะต้องคานงึ ถึง ก็คอื

-111- 1) ลกั ษณะการใชภ้ าษาพาดหวั ข่าวท้งั หนงั สือพมิ พ์ไทยและเขมรวา่ เหมอื นกันหรอื แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ 2) ความสั้นยาวของหัวข่าว ถา้ หากว่าแปลหวั ข่าวเพ่อื นาลงในหน้ากระดาษ สาหรับพาดหวั หนงั สือพิมพ์รายวนั เนือ้ ท่ขี องกระดาษจะเป็นตัวกาหนด แต่ถ้าเป็น การแปลรายงานข่าวเพอื่ อ่านทางวทิ ยโุ ทรทศั น์ กใ็ ชเ้ วลาเปน็ ตัวกาหนด การพาดหัวขา่ วทั้งไทยและเขมรตามลักษณะการเรียงคาในหัวข่าวของไทย มี 3 รปู แบบ คอื 1.1 การพาดหัวข่าวรปู แบบนามวลี การพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ไทยมีการใช้รูปแบบนามวลีไม่มาก นัก แตก่ ็ยงั มีปรากฏมอี ยบู่ า้ งซงึ่ เป็นการละคากรยิ าคงไว้เฉพาะคานาม การแปลการ พาดหัวข่าวท่ีเปน็ นามวลีจากภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร จะต้องปรบั จากวลใี หเ้ ป็นรปู ประโยคก่อน เพราะการพาดหัวด้วยนามวลี การใช้ภาษาเขมรซ่ึงขึ้นต้นดว้ ยนามวลี ในภาษาเขมรไมน่ ิยมหรือไม่มีใชใ้ นการพาดหัวหนังสือพมิ พ์ ตัวอย่างเช่น ภาพที่ 9 แสดงภาษาพาดหัวข่าวหนงั สอื พมิ พ์ไทย ทีม่ า : หนงั สอื พิมพ์ไทยโพสต์ ฉบบั วนั ที่ 13 กนั ยายน 2561 ต้นฉบบั “คกุ โชกนุ 4 พนั ป”ี ฉบับแปล “ដាក់ពននធ គារជោកជោគុន 4000 ឆ្ន ំ” การแปลการพาดนามวลีดงั กล่าวข้างตน้ เปน็ ภาษาเขมรน้ีจะเหน็ ได้ว่ามีการ เติมคาว่า “ដាក់” แปลวา่ “จา” ซึ่งในการปรับบทก่อนแปลเป็นภาษาเขมรจะต้อง ปรบั ภาษาตน้ ฉบับเป็น

-112- “จาคุกโชกนุ 4000 ปี” การเพ่ิมคามาในบทแปลน้ี ถือว่าเป็นการปรับบทแปลในการแปลหัวข่าวให้ สามารถสื่อสารกบั ผ้อู า่ นภาษาแปลได้ 1.2 การพาดหวั ข่าวรูปแบบกรยิ าวลี การพาดหัวข่าวแบบการใช้นามวลีนี้ พบในหนังสือพิมพ์ไทยมี จานวนมากกวา่ นามวลี เชน่ ภาพที่ 10 แสดงภาษาพาดหวั ขา่ วหนงั สอื พมิ พไ์ ทย ท่มี า : หนังสอื พิมพ์เดลนิ วิ ส์ ฉบับวนั ที่ 31 มนี าคม 2555 ต้นฉบบั “อญั เชญิ รปู หลอ่ ทองคาหลวงปู่สด” ฉบับแปล “អ្ជ្ចើញរបូ ែណំ ្ណកជោកតាែ៊ត់” หนังสือพิมพ์ภาษาเขมรไม่นิยมใช้นามวลีในการพาดหัวขา่ ว พบวา่ มกี าร ใชก้ รยิ าวลีในการพาดหวั ข่าว ตวั อยา่ งเช่น ภาพที่ 11 แสดงภาษาพาดขา่ วหนงั สอื พิมพไ์ ทย ที่มา : ភ្ំនជពញបុែិ៍ត ฉบบั วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2013 ตน้ ฉบับ “ជោែន៤ថ្ងៃមានបណតឹ ងចំនួន ៩ ករណី ” ฉบบั แปล “หาเสยี ง 4 วนั มี 9 คดี”

-113- การแปลพาดหัวข่าวจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ผู้แปลอาจต้อง เลือกใช้ภาษาแปลที่ส้ันกระชับ แต่มีความหมายเท่ากับภาษาต้นฉบับ ซ่ึงอาจใช้ รปู แบบการพาดหัวข่าวในภาษาไทยไปพิจารณาใช้ก็ได้ แต่ถ้าหากจะแปลโดยไม่มี การปรับบทหรือตัดคาบางคาออกก็ได้เช่นเดียวกัน แต่การแปลดังกล่าวน้ันจะเป็น การแปลเอกสารอยา่ งอ่นื ที่ไม่ใชข่ า่ ว และจะทาใหภ้ าษาแปลเยิ่นเย้อไป ดังน้ี “หาเสียง 4 วนั มีการฟ้องร้องจานวน 9 คดี” ขอ้ ความแปลว่า “การฟ้องร้องจานวน” ถูกตดั ทงิ้ ไปในการแปลการพาดหัว ขา่ ว 1.2 การพาดหัวขา่ วรูปแบบประโยค การพาดหวั ข่าวในรูปแบบประโยคท้ังหนังสือพมิ พไ์ ทยและเขมรมีการใช้การ พาดหัวข่าวด้วยประโยคเป็นจานวนมาก แต่ก็ใช้ประโยคแบบสั้น กระชับ และได้ ใจความ เน่ืองจากการใช้ประโยคส้ันกระชับนี้เองทาให้มีการใช้คาตัด คาย่อ หรือ การกรอ่ นคา โดยเฉพาะในหนงั สือพมิ พไ์ ทย ตัวอยา่ งเชน่ ภาพที่ 12 แสดงการพาดข่าวหนงั สอื พิมพไ์ ทย ทม่ี า : หนงั สือพิมพไ์ ทยรัฐ ฉบบั วนั ที่ 19 ก.พ. 2554 ต้นฉบบั “เขมรพาดหัวยกั ษ์ ฮุนเซนลั่นปะทะเปน็ สงคราม” ฉบบั แปล “សខែរដាក់ចណំ ងជ ើងធជំ ើទំព័រមុខថាែជមតចជតជោ ហុ ៊ន សែន បាននិយាយថាជបើែនិ មាន ប៉ះទងចិគ គាន គោឺ ែរគគ មជហយើ ។” การแปลการพาดหัวข่าวหนังสือพมิ พ์ไทยในรูปแบบประโยคนี้ นอกจากจะ ปรับบทแปลเกีย่ วกับโครงสรา้ งประโยคแล้ว ผู้แปลตอ้ งพิจารณาการใช้ภาษาในการ

-114- พาดหัวข่าวหนังสอื พมิ พ์อีกดว้ ย จะเห็นได้ว่า คาศัพท์ทใ่ี ช้ในการพาดหัวขา่ วดงั กลา่ ว นัน้ มหี ลายคาท่ีเป็นภาษาเฉพาะและใช้ในการพาดหัวขา่ ว เพื่อสรา้ งความสนใจแก่ ผู้อ่าน เช่น คาว่า “ยักษ์” นอกจากจะใช้ในความหมายโดยตรง ความหมายโดย ปริยายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542 ใช้ในความหมาย “มีลักษณะ หรืออาการอย่างยักษ์ เช่น ใจยักษ์ หน้ายกั ษ์, มลี ักษณะใหญ่เป็นพิเศษในพวก เช่น ปลาหมึกยักษ์ เป็นต้น”(www.royin.go.th/dictionary) เม่ือนามาใช้พาดหัวข่าว ไทย ใช้ในความหมายว่า “ใหญ่” เมื่อแปลจะตอ้ งแปลเป็นภาษาจงึ แปลว่า “ធំ” คาวา่ “ลน่ั ” เปน็ กรยิ ามีความหมายว่า “มีเสยี งดัง หรอื ทาเสยี งใหด้ ัง” เม่ือ นามาใช้ในการพาดหัวข่าวหมายถึง “พดู ” การพาดหัวข่าวในหนงั สือพิมพไ์ ทยมลี ักษณะเฉพาะวงการแตกต่างจากการ ใช้ภาษาในวงการอนื่ ๆ มีการใช้ภาษาแปลกใหม่เพื่อให้สะดุดตาสะดุดใจและจางา่ ย เชน่ ภาพท่ี 13 แสดงภาษาพาดหวั ข่าวหนงั สอื พมิ พ์ไทย ทมี่ า : หนงั สือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบบั วันที่ 2 กนั ยายน 2560 ต้นฉบบั “รถตราโล่โอละพอ่ สตช.มืดยังไม่รู้ “ปู” อยูไ่ หน” ฉบบั แปล “រងយនបត ូ ីែរតូវជគរពំ ឹងខុែ។ នគរបា ោតងិ ងតឹ ឈឹងមិន ទាន់ដឹងថា “ជោករែយី ីងឡាក់” ជៅឯណ្ណ? การพาดหวั ขา่ วมีการใช้ภาษาระดบั ปากและใช้คาเฉพาะกลุ่ม เช่น คาตลาด คาคะนอง สานวน และคาทับศัพท์ เป็นต้น ดังตัวอย่างที่ยกไว้ข้างบนนี้มีการใช้คา วา่ “โอละพอ่ ” “มืด” ซึ่งเป็นคาท่ใี ช้ไดเ้ ฉพาะภาษาส่ือ

-115- การพาดหัวข่าวของหนังสือพิมพ์ไทยมีความแตกต่างกับการพาดหัวข่าว หนังสือพิมพ์ภาษาเขมร ซ่ึงมีการใช้ภาษาที่ใช้ตามหลักภาษาเปน็ ส่วนใหญ่ ไม่นิยม ใช้คาระดับภาษาปากในการพาดหัวข่าว โดยเฉพาะการพาดหัวข่าวถึงผู้นาทาง การเมืองและไม่มกี ารใช้คาสมญานามในการพาดหัวขา่ ว การพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ภาษาเขมรรูปแบบประโยคส่วนใหญ่ประโยค สมบรู ณ์ อาจมีการละประธานในประโยคบา้ ง แตก่ ็ไมป่ รากฏมากนัก ตัวอย่างเช่น ภาพที่ 14 แสดงภาษาหวั ข่าวหนงั สอื พมิ พ์กมั พชู า ท่มี า : ភ្ំនជពញបុែិ៍ត ฉบบั วันที่ 6 มิถนุ ายน 2013 ต้นฉบบั “ឈូក បណឌ ិ តនងឹ ោប់គុក ១៨ សខ” ฉบบั แปล “ฌกู บัณฑติ จะตดิ คุก 18 เดือน” การแปลการพาดหัวข่าวภาษาเขมรเป็นภาษาไทยสามารถแปลแบบเทียง เคียงความหมายได้ แต่หากจะปรับบทแปลให้เป็นการพาดหนังสือพิมพ์แบบไทย อาจปรบั บทแปลเปน็ “คุกบณั ฑติ 18 เดือน” การพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ภาษาเขมรรูปแบบประโยคที่มีการใช้ภาษาท้ัง เปน็ ทางการและภาษาปากผสมผสานกนั เช่น ภาพที่ 15 แสดงภาษาหวั ขา่ วหนังสอื พมิ พ์กมั พูชา ที่มา : វរ នសខែរ ฉบบั วันที่ 27-29 กันยายน 2012 ตน้ ฉบับ “ពហិ ការអ្ត់ ន័យរបែ់ របធា នគណបកស

-116- ែជរគគ ៉ះោតិសដ មិនមានែទិ ិធឈរជោែ ៉ះជបា៉ះជឆ្ន ត” ฉบับแปล “การคว่าบาตรไร้ความหมายของ หวั หนา้ พรรคกชู้ าตผิ ู้ซึง่ ไม่มีสิทธิออก เสียงเลือกตงั้ ” คาว่า “ពហិការ” ศพั ทบ์ ญั ญัติเขมร และคาวา่ “អ្ត់” คาปฏิเสธในระดบั ภาษา ปาก ซ่งึ ตรงกบั ภาษาระดับทางการว่า “មិន” ซง่ึ มีความหมายวา่ “ไม”่ 2. การแปลข่าวนา (lead) ข่าวนา หมายถึง ส่วนที่เป็นย่อหน้าแรกถดั มาจากพาดหัวข่าว การนาเสนอ ข่าวนาน้ีจะครอบคลุมใจความและข้อเท็จจริงท่ีสาคัญท่ีสุดของข่าว ข่าวนาจึงมี ความสาคัญมากในการชว่ ยสรปุ เร่ืองใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจเรื่องทัง้ หมด อีกท้ังยังช่วยขยาย ความของข่าวพาดหัว (headline) ให้ผู้อ่านเข้าใจแจ่มแจ้งขึ้น โดยหลักแล้วข่าวนา จะประกอบดว้ ย 5 W 1 H (who, what, when, where, why, how) ลักษณะภาษาที่ในข่าวนามีการใช้ประโยคสมบูรณ์แบบส้ัน กระชับได้ ใจความ สั้นกระชับ ใช้คาแสดงภาพลักษณ์ และภาษาเฉพาะสมัย มีการใช้ฉายา หรือช่ือเล่นของบุคคล เพ่ือดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน และใช้ภาษาระดับ สนทนา ดังตวั อยา่ งเชน่ 2.1 การแปลข่าวนาไทยเปน็ ภาษาเขมร ภาพที่ 16 แสดงภาษาข่าวนาหนงั สือพิมพ์ไทย ทม่ี า : หนังสือพมิ พไ์ ทยรัฐ ฉบบั วนั ที่ 4 สิงหาคม 2560 ต้นฉบบั “ขพู่ ธม. อยา่ ปลุกมอ็ บปว่ น แกนนาถกวันนชี้ อ้ี ทุ ธรณ์ ป.ป.ช.ยือ้ -

-117- ขอศึกษากอ่ น” ฉบับแปล “គរំ ាមរកុមែម័ពនរធ បោ នជដមើ បី ទិធរបោធិបជតយយ (PAD) កុំជធវើ បាតកុ មែ។ រកមុ ថាន ក់ដឹកនំពិភាកាគាន ថ្ងជៃ ន៉ះរតូវសតបតឹងឧទធរណ៍ ។ NACC ថ្ងផ្ាអក់ពាកយបណដឹងទុកជដាយអ្ៈអាងថាែពំុ ិចារណ្ណជមើ ែនិ ។” การแปลข่าวนาหนังสือพิมพ์ไทยเป็นภาษาเขมรน้ันจะต้องศึกษาการใช้ ภาษาไทยในข่าวนาก่อน เน่ืองจากมีการใช้ภาษาที่ใช้เฉพาะในการเขียนข่าว หนังสือพิมพ์ คาที่ใช้มีทั้งคาย่อ คาตัด และคายืมจากภาษาต่างประเทศ บางครั้ง จะต้องมีการปรับบทแปลเพื่อให้ได้ความหมายมากที่สุดดังตัวอย่างที่ย กมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าผแู้ ปลอาจจะตอ้ งปรบั บทแปลใหส้ ามารถนาเสนอความหมายให้ตรงกับ ภาษาเขมร ซงึ่ อาจปรบั ภาษาก่อนดังน้ี 1. ปรับภาษาจากต้นฉบับ “ขู่พธม. อย่าปลุกม็อบป่วน แกนนาถกวันน้ีชี้ อุทธรณ์ ป.ป.ช.ยื้อ-ขอศึกษาก่อน” เป็นภาษาใหม่ซึ่งอาจมีการตัดและเพิ่มคาใน ประโยคเพอ่ื ให้สามารถอา่ นแลว้ เข้าใจไดง้ ่ายเพราะความสะดวกในการแปล ดังนี้ 1) ขู่ พธม.วา่ อยา่ ปลกุ มอ็ บป่วน (อยา่ ประท้วง) 2) แกนนาถกวันน้ีตอ้ งอุทธรณ์คดี 3) ป.ป.ช.ย้อื โดยให้เหตุผลวา่ ขอศกึ ษาดกู อ่ น 2. ปรับภาษาแปล โดยเอาภาษาท่ีปรบั ขา้ งต้นแล้วมาแปลเป็นภาษาเขมร โดยใชว้ ธิ กี ารปรับบทแปลซง่ึ อาจมกี ารเปล่ยี นแปลงคา ตัดคา และเพิ่มคา ดังน้ี 1. គរំ ាមរកមុ ែមព័នរធ បោ នជដមើ បី ទិធរបោធិបជតយយ (PAD) កុំជធវបើ ាតកុ មែ។ 2. រកុមថាន ក់ដកឹ នពំ ិភាកាគាន ថ្ងជៃ ន៉ះរតូវសតបតឹងឧទរធ ណ៍ ។ 3. NACC ថ្ងផ្ាអក់ពាកយបណដឹងទកុ ជដាយអ្ៈអាងថាែពំុ ិចារណ្ណជមើ ែនិ ។ นอกจากนี้ ผู้แปลจะต้องศกึ ษาคาในหนงั สือพมิ พ์ว่าเมื่อสามารถนาไปแปล เปน็ ภาษาเขมรแล้วมีความหมายเหมอื นกนั หรอื ใกลเ้ คยี งกนั หรือไม่ เชน่ คาว่า พธม. ในหนังสือพิมพ์ภาษาเขมรนิยมใช้ย่อว่า PAD หรือในบางครั้งก็ เรยี กว่า “រកុមអាវជ ឿង” ซ่ึงท้ัง 2 คานสี้ ามารถใชแ้ ทนกันได้ การปรบั บทแปลจากประโยคว่า “อย่าปลุกม็อบป่วน” เป็น “อย่าประท้วง” “ជធវបើ ាតកុ មែ” นั้นเปน็ การแปลเอาความหรือเนน้ ความหมาย การปรบั บทระดบั คาในตวั อย่างขา้ งตน้ น้ีเป็นการปรับด้วยวธิ กี ารเปลี่ยนแปลง คาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกันและมีความหมายไปในทางเดียวกัน เช่น การ

-118- เปล่ียนแปลงจากคาว่า ช้ี เป็น “ต้อง” เพิ่มคาว่า “คดี” และเพิ่มคาว่า “โดยให้ เหตุผลวา่ ” และมีการปรบั บทแปลโดยการเพม่ิ คาในภาษาเขมร ได้แก่ คาว่า “ពាកយ បណដ ឹ ង” 2.2 การแปลขา่ วนาเขมรเปน็ ภาษาไทย ข่าวนาในหนังสือในประเทศกัมพูชาน้ันส่วนใหญ่ไม่นิยมกล่าวนา จะ ปรากฏเฉพาะพาดหวั ขา่ วตัวหนังสอื ขนาดใหญซ่ ่งึ ยังไม่จบประโยคแลว้ นาประโยคท่ี เหลือเขียนต่อด้วยอักษรขนาดเล็กกว่า แต่ก็ไม่ได้มีลักษณะเป็นข่าวนาเหมือน หนงั สือพมิ พไ์ ทย ดงั ตัวอย่าง ภาพที่ 17 แสดงภาษาขา่ วนาหนงั สือพิมพ์กัมพูชา ทมี่ า : ភ្ំនជពញបុែ៍ិត ฉบับวนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2013 ตน้ ฉบบั “ណ្ណហ្គគ ជវើ ប្ឈប់ បុគគ ិកសដ ជធវើ កូដកមែោង ៤០០ នក់” ฉบบั แปล “นาคาเวลิ ด์เลกิ จา้ งคนงานท่นี ดั หยุด งานประทว้ งกว่า 400 คน” จ ะ เห็ น ไ ด้ ว่ า ใน ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ภ า ษ า เข ม ร ไ ม่ นิ ย ม เขี ย น ข่ า ว น า เห มื อ น หนังสือพิมพ์ไทย แม้ขนาดตัวหนังสือจะเล็กกว่าพาดหัวข่าว แต่เนื้อหาก็เป็นส่วน หน่ึงของพาดหัวข่าวดังตัวอย่าง เน้ือหาที่ว่า “សដ ជធវើកូដកមែោង ៤០០ នក់” ซึ่งมี ขนาดน้อยกว่าพาดหวั ขา่ วเป็นสว่ นขยายของประโยคที่พาดหวั ข่าว 3. การแปลเนอื้ ขา่ ว (body)

-119- เน้ือข่าวคือข้อมูลรายละเอียดของข่าวที่ขยายจากการพาดหัวข่าวและ ข่าวนา โดยผู้สื่อข่าวได้ไปเก็บรวบรวมข้อมูลมาจากแหล่งข่าวด้วยวิธีการท้ัง สัมภาษณ์และการสงั เกต ผู้แปลเนื้อหาข่าวจะต้องพิจารณาถึงเน้ือหาหรอื ลักษณะ ของเนอื้ หาข่าวนนั้ ๆ อาจใช้วธิ กี ารแปลและการใช้ภาษาแปลอาจตอ้ งใช้แตกต่างกนั ออกไป การแปลเนื้อข่าวอาจแบ่งเป็นการแปลข่าวแบบเป็นทางการและไม่เป็น ทางการ การแปลข่าวแบบทางการน้ันเน้นเน้ือหาข่าวท่ีต้องการความชัดเจน มี ความสาคัญ ต้องการความถูกต้องและครบถ้วน เช่น ข่าวการเมืองของประเทศ ต้นฉบับ ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวด่วน ข่าวความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผู้แปลจะต้อง เรียบเรียงขอ้ มลู ทีแ่ ปลไม่ให้ขาดตกบกพรอ่ ง จะต้องเรยี บเรยี งด้วยภาษาที่อ่านแล้ว จบั ใจความได้อย่างรวดเร็ว ส่วนการแปลข่าวแบบไมเ่ ป็นทางการเป็นการแปลข่าว เล่าเรื่องท่ัวไปที่ไม่ได้เน้นความเป็นทางการมากนัก เช่น ข่าวบันเทิง และข่าวกีฬา เป็นต้น แต่ผู้แปลจะต้องแปลให้มีความหมายที่ตรงกับเนื้อหาข่าวต้นฉบับให้มาก ที่สดุ ตวั อย่างดังต่อไปนี้ 3.1 การแปลเน้ือขา่ วไทยเป็นภาษาเขมร การแปลเน้ือข่าวไทยเป็นภาษาเขมรนั้นผู้แปลอาจใช้ระดับภาษาให้ เหมือนกันกบั ภาษาตน้ ฉบับ ภาษาในหนงั สอื พิมพ์ไทยเปน็ ภาษาท่ีใชใ้ นระดับกนั เอง เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นข่าวท่ีเก่ียวกับราชสานักอาจต้องใช้ภาษาอย่างเป็นทางการ ตวั อย่างเช่น ภาพท่ี 18 แสดงเนื้อข่าวหนังสอื พิมพไ์ ทย ทมี่ า : หนังสือพิมพไ์ ทยรฐั ฉบบั วันที่ 4 สิงหาคม 2560 ต้นฉบับ “ปัดวงิ่ ชว่ ยศาลยกฟอ้ ง“พัชรวาท” คดีสลายการชมุ นมุ กลุม่ พันธมติ ร โตไ้ ม่เคยคยุ กบั น้องชายเรื่องคาตัดสินศาล เปดิ ช่อง ม็อบ พธม. ชมุ นมุ ได้ แต่ต้องขออนุญาตตาม

-120- พ.ร.บ.ชมุ นุมสาธารณะก่อน เตือน *มตี ่อหนา้ 10” ฉบบั แปล “ជោកឧតមត ជែនីយ៍របាវតី វង៉ ់សាវន៉ុ បដិជែធ ួយឱ្យតោុ ការរចានជចា បណដឹង របែ់ “ផ្អតឆ្រាវត៉ ” ករណី បរគា បបាតកុ មែថ្នរកមុ ែមពនរធ បោ នែរមាប់ ទិធ របោធិបជតយយ(PAD)។ គាត់បាននិយាយរបឆ្ំងថាមិនធាា ប់ោមួយបាូនអ្ំពីសា រកមរបែ់តុោការ ជហើយនិងជបើកឱ្កាែឱ្យរកុមអាវជ ឿងជធវើបាតុកមែបាន បុសនរត តូវ បានទទួ ការអ្នញុ ្ញា តតាមចាប់ែនិ រពមាន...*តជៅទំព័រ 10 ” การแปลข่าวเน้ือหาข่าวหนังสือพิมพ์ไทยเป็นภาษาเขมรมีรูปแบบ เหมือนกับการแปลการพาดหัวข่าวและข่าวนาที่นาเสนอข้างต้นแล้ว แต่มีความ แตกต่างกันดา้ นการใช้คาในการเขยี นข่าว จงึ ทาให้แปลไดง้ ่ายกวา่ สงิ่ ทีส่ าคญั ในการ แปลเนอื้ หาขา่ วไทยเปน็ ภาษาเขมรกค็ อื การแปลช่ือ และตาแหนง่ ของบคุ คลในข่าว เน่ืองจากในภาษาเขมรไม่นิยมใช้ช่ือเล่นหรือสมญานามในข่าว ผู้แปลจะต้องใช้ ตาแหน่งและชอ่ื จริงในการแปลเปน็ ภาษาเขมรเสมอ 3.2 การแปลเนื้อขา่ วเขมรเป็นภาษาไทย ภาพที่ 19 เนอ้ื ขา่ วหนังสือพิมพ์กมั พชู า ทม่ี า : ភ្ំនជពញបុែ៍ិត ฉบับวันที่ 2 กรกฎาคม 2013 ตน้ ฉบบั “ភ្នំជពញ : រកែងូ ព័ត៌មានបានរបកាែឲ្យសាា នីវទិ យុ FM កនុងរែុកមួយ ចំននួ ជធវើការផ្សាយបននត ូវកមែវធិ ីព័ត៌មានពីវទិ យបុ រជទែទាំងអ្ែ់ោជខមរភាសា ជ ើងវញិ បនា ប់ ពីបានរបកាែឲ្យផ្ាអកកនុងរយៈជព ៣១ថ្ងៃកនុងអ្ំ ុងយុ ទធ ការជោ ែន ជបា៉ះជឆ្ន ត និងថ្ងៃជបា៉ះជឆ្ន តមិនបានបុនែ នជន ៉ះមក។បុ សនត ជទា៉ះយាងណ្ណ របកាែងែីជន៉ះក៏បានតរមូវឲ្យសាា នីវទិ យុ FM ទាំងអ្ែ់រតូវផ្ាអក

-121- ការផ្សាយបនតកមែវធិ ីពីវទយុបរជទែោជខមរភាសាជន៉ះ កនុងរយ់ៈជព ៥ថ្ងៃមុន ថ្ងជៃ បា៉ះជឆ្ន ត និងថ្ងជៃ បា៉ះជឆ្ន តសដរ។ ជយា ងតាមជែចកតីរបកាែព័ត៌មានរបែ់ រកែួងព័ត៌មានជចញផ្សាយ កា ពីថ្ងៃទី ២ ៩ សខមិងុន បា នរប កា ែ ថា ជយា ងតា មែំណូ មពរែំុ ឲ្យ រកែួងព័ត៌មានអ្នុញ្ញា តឲ្យមានការចាក់ ផ្សាយជ ើងវញិ នូវការផ្សាយកមែវធិ ី បនរត បែ់វទិ យបុ រជទែោជខមរភាសា តាមវទិ យុ...តជៅទំព័រ ៨” ฉบับแปล “พนมเปญ : กระทรวงการข่าวไดป้ ระกาศใหส้ ถานีวิทยุ FM ในประเทศกัมพูชาจานวนหนึ่งทาการเผยแพร่ข่าวสารจากวิทยุ ต่างประเทศทั้งหมดเป็นภาษาเขมรคืน หลังจากที่ได้ประกาศให้ หยดุ ชวั่ คราวเปน็ ระยะเวลา 31 วนั ในระหวา่ งการหาเสยี งเลอื กตง้ั และวนั เลือกต้งั ไม่นานทผ่ี ่านมา อย่างไรกต็ ามประกาศฉบับใหม่น้ี ก็ ยั ง ต้ อ ง ก า ร ให้ วิ ท ยุ ห ยุ ด ก า ร เผ ย แ พ ร่ รา ย ก า ร วิ ท ยุ จ า ก วิ ท ยุ ต่างประเทศเป็นภาษาเขมรเป็นเวลา 5 วันก่อนการเลือกตั้งและ วันเลือกตัง้ ตามประกาศของกระทรวงการข่าวในวันที่ 29 มิถุนายน ได้ประกาศว่า ตามการร้องขอให้กระทรวงการข่าวอนุญาตให้มี การเผยแพร่รายการวิทยุจากสถานีวิทยุต่างประเทศ เป็นภาษา เขมร ตามวิทยุ....มีตอ่ หนา้ 8” การแปลข่าวหนังสือพิมพ์เขมรเป็นภาษาไทยน้ันผู้แปลสามารถใช้วิธีการใช้ ภาษาหนงั สอื พมิ พไ์ ทยก็ได้ การแปลข่าวในสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ขา่ วในสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสิ่งที่คนในโลกปัจจุบันสัมผัสและมีบทบาทต่อ คนในโลกเป็นอย่างมาก การเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลที่รวดเร็ว ฉับไว และเข้าถึงได้ ง่าย คุณสมบัติอีกประการหน่ึงก็คือไม่ต้องดาเนินการพิมพ์เป็นด้วยวัสดุใดเหมือน สื่อส่ิงพิมพ์ ซ่ึงถือว่าเป็นคุณสมบัติสาคัญของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันการ นาเสนอข่าวสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีหลากหลาย ท้ังมีการนาเสนอข่าวโดยสานักข่าว หนังสอื พิมพ์ และเวปไซต์ขา่ ว หนังสือพิมพ์นอกจากจะพิมพ์เป็นส่ือสิ่งพิมพ์แล้วยัง มีเวปไซต์ข่าวด้วย ทาให้ผู้เสพข่าวสารสามารถเข้าถึงได้หลายช่องทางมากขนึ้ ส่วน

-122- เวปไซต์ข่าวท่ีเป็นภาษาไทย เช่น กะปุกด็อทคอม (kapook.com) สนุกด็อทคอม (sanook.com) และเอ็มเอสเอ็มข่าว (msn.com) เป็นต้น ทุกเวปไซต์มีการ นาเสนอข่าวทันเหตุการณ์โดยได้มีการอัพเดตทุกวัน ทาให้ผู้ติดตามข่าวสารทัน สถานการณ์ ในทานองเดียวกันน้ี ขา่ วในสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ในกัมพชู ากม็ กี ารนาเสนอ ผ่านเวปไซตเ์ หมอื นขา่ วไทย ตวั อยา่ งขา่ วในส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ ภาพที่ 20 แสดงขา่ วหนังสอื พิมพไ์ ทยในสื่อเล็กทรอนกิ ส์ ที่มา : www.thairath.co.th (เข้าถงึ เมือ่ 15 กรกฎาคม 2563) ภาพท่ี 21 แสดงขา่ วหนังสือพมิ พ์กัมพูชาในสอื่ เลก็ ทรอนิกส์ ท่ีมา : www.postkhmer.com (เขา้ ถงึ เม่ือ 15 กรกฎาคม 2563)

-123- ตัวอย่างการแปลขา่ วในสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ตราหน่วยงาน ชอื่ หนว่ ยงาน ท่มี า //kohsantepheapdaily.com.kh/article/572717.html ประเทศ วันท่ี กมั พูชา หมวด สังคม ผู้แปล หวั ข้อข่าว 22 ตุลาคม 2560 นายบญั ญัติ สาลี ตาแหนง่ จนท.ภาษา ជរកាយបិទរចករជបៀង ព រដែឋ រមកុ ជធវើប័ណា ឆ្ាងសដន เนื้อขา่ ว หลงั ปิดชอ่ งผ่านแดนธรรมชาติ ประชาชนมุ่งทาบัตรผา่ นแดน ជខតបត នា យមាន ័យ ៖ មួយរយៈចងុ ជរកាយជន៉ះព រដសឋ ដ រែ់ជៅកនុងជខតត បនា យមាន ័យនិ ងជែៀបជរៀបែរមុកជធវើប័ណា ឆ្ាងសដនជៅថា BORDER PASS ជដើមបីឆ្ងា ជៅរកការគរជធវើជ ើទឹកដីថ្ងបជ្ៀច ែការជចាទរបកាន់នន ពីែណំ ្ណក់អាោា ធរ និងែមតកា ចិ ថច ្ង ោពិជែែករណីឆ្ាងសដនខុែចាប់។ แปลข่าว จงั หวัดบันทายมชี ยั : ระยะหลังมานี้ประชาชนท่ีอยใู่ นจงั วัดบันทาย มีชัยและเสียมเรียบมุ่งทาบัตรผ่านแดนที่เรียกว่า BORDER PASS เพ่ื อ ข้ าม ไป ท าง า น ท่ี ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ห ลี ก เล่ี ย ง ก าร ถู ก จั บ กุ ม ข อ ง เจ้าหน้าทร่ี ฐั และตารวจไทย โดยเฉพาะการขา้ มแดนผิดกฎหมาย การแปลขา่ ววทิ ยุกระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทศั น์ ข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นั้นเป็นการนาเสนอข้อเท็จจริง เร่ืองราว ขอ้ คดิ เหน็ ท่นี ่าสนใจ มีความสดใหม่ มผี ลกระทบตอ่ คนส่วนใหญ่ โดยใช้ วธิ กี ารนาเสนอทัง้ ในลกั ษณะของการประกาศ การอ่านคาบรรยายขา่ ว การรายงาน พิเศษหรือการสัมภาษณ์ โดยผู้สื่อข่าวหรือผู้รายงานข่าว ในสถานที่จริง ข่าว

-124- วทิ ยุกระจายเสียงมีเพียงเสียงเท่าน้ัน แต่วิทยุโทรทัศน์มีภาพประกอบไปพร้อมกับ การอา่ นข่าวหรือรายงานข่าว การแปลข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์น้ัน ส่ิงท่ีสาคัญท่ีสุดของผู้ แปลก็คือการเรยี นรู้และทาความเขา้ ใจลกั ษณะของข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์เป็นอยา่ งดี เน่ืองจากได้เผยแพร่ด้วยตัวหนังสือ แต่เผยแพร่ด้วยเสียงและ ภาพ ปัจจุบันสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ได้มีการเผยแพร่รายการข่าว ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย ทาให้สามารถสบื คน้ ในเวปไซต์ต่าง ๆ ได้ง่ายมากย่ิงขึ้น กระน้ันก็ตามผู้แปลจะต้องมีไหวพริบ ปฏิภาณ และความต้ังใจในการฟังและดู เพอื่ ให้การแปลขา่ วมคี วามเทยี่ งตรงกับเนื้อหาข่าวต้นฉบบั มากทส่ี ุด ความหมายของคาว่า “วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ” ใน พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556 : 1076) ได้นยิ ามคาศัพท์ไว้ ดงั น้ี วิทยุกระจายเสียง หมายถึง การแพร่สัญญาณเสียงออกอากาศโดยใช้ คลน่ื วทิ ยุ วิทยุโทรทัศน์ หมายถึง การแพร่สัญญาณโทรทัศน์ออกอากาศโดยใช้ คล่นื วิทยุ ความหมายของคาศัพท์ที่ราชบัณฑิตยสถานได้นิยามไว้น้ันมีความหมายที่ สอดคล้องกัน กล่าวคือ การแพร่สัญญาณโดยใช้คลื่นวิทยุเหมือนกัน แตกต่างกัน เฉพาะลกั ษณะสัญญาณที่แพร่เทา่ น้ัน สื่อทง้ั 2 อย่างนี้มีเคร่ืองรบั สัญญาณและผรู้ ับ ส่อื ใช้อวยั วะสัมผัสแตกต่างกัน โดยวิทยกุ ระจายเสียงเป็นส่ือที่สง่ ความหมายให้แก่ ผู้รับได้โดยผู้รับใช้อวัยวะสัมผัสเพียง อย่างเดียวคือ หูในการรับฟัง ส่วนวิทยุ โทรทศั นเ์ ป็นส่ือทผ่ี รู้ บั ตอ้ งใช้อวยั วะสัมผัสในการรบั เพิ่มขึ้นอีกคอื ตาและหู วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นี้สามารถส่ือความหมายให้แก่ผู้รับได้ ถงึ แม้ว่าผ้รู ับจะอ่านหนังสอื ไม่ออกหรือไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา ผู้รับจึงสามารถรับ ขา่ วสาร และความบนั เทิงได้อยา่ งเต็มท่ีทางสอ่ื วิทยกุ ระจายเสยี งและวิทยุโทรทัศน์ ส่ือมวลชนทัง้ 2 ประเภทน้ีจงึ มคี วามสาคัญตอ่ มนุษยใ์ นโลกปัจจบุ ันนเ้ี ปน็ อย่างยิ่ง ผทู้ ่ีมสี ่วนเกย่ี วข้องและประสานงานในการแปลข่าววทิ ยุกระจาย เสียงและ วิทยโุ ทรทัศน์นนั้ มดี งั นี้ 1. บรรณาธิการข่าว มีหน้าที่รับข่าวจากหน่วยงานภายในและภายนอก สานักข่าว ตรวจสอบข่าวต้นฉบับและฉบับแปล มีหน้าที่ควบคุมเน้ือการการจัดทา และนาเสนอขา่ วสูส่ าธารณะ บรรณาธิการข่าวจะต้องมีความรู้ความสามารถในการ

-125- แปลข่าวจากภาษานั้น ๆ จึงจะสามารถเข้าใจถึงเนือ้ หาของขา่ วทนี่ ักแปลขา่ วได้แปล นาเสนอให้พิจารณาตัดสินใจจดั ทาและนาเสนอขา่ วในลาดับตอ่ ไป 2. นักแปลข่าว มีหน้าที่รับข่าวที่บรรณาธิการข่าวได้คัดกรองแล้วมาแปล โดยผู้แปลจะต้องมีความรู้เกยี่ วกบั ภาษาทใ่ี ช้ในส่ือสารมวลชนท้ังต้นฉบบั และภาษา ที่ใช้แปลเป็นอย่างดี หลังจากแปลเสร็จแล้วนาเสนอให้บรรณาธิการพิจารณาเพ่ือ ดาเนินการตอ่ ไป 3. ผู้จัดทาข่าวและนาเสนอข่าว มหี น้าที่ตดั ต่อเสียง ภาพ และนาเสนอข่าว โดยผ้จู ดั ทาข่าวจะตอ้ งเปน็ ผทู้ มี่ ีความร้คู วามสามารถในทางดา้ นเทคโนโลยีในการตัด ต่อเสยี งและภาพ ผูน้ าเสนอขา่ วจะต้องมกี ารความสามารถในการใช้ภาษาที่นาเสนอ ขา่ วเปน็ อยา่ งดี กลวธิ ีการแปลข่าววทิ ยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ มกี ลวิธีคล้ายกนั กับ การแปลข่าวอ่ืน ๆ แตกต่างเฉพาะการการแปลข่าววิทยุกระจายเสียงจะต้องใช้หู เปน็ อวัยวะในการฟงั ขา่ วตน้ ฉบับแล้วแปล ส่วนการแปลวิทยุโทรทัศนจ์ ะตอ้ งใช้ทั้งหู และตาในการรบั ข่าวต้นฉบับแลว้ แปล ผู้แปลจะต้องใช้ความรคู้ วามสามารถในการ ฟังภาษาเป็นอย่างดี โดยเฉพาะภาษาไทยและภาษาเขมรจะมีคาพ้องเสียงเป็น จานวนมาก ผู้แปลจะต้องสามารถเข้าใจบริบทของคาประกอบด้วย นอกจากนี้ผู้ แปลจะต้องมีความรู้ความสามารถในการเขียนภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาเขมร เป็นอย่างดี หากพิจารณาความยากง่ายกับการแปลข่าวส่ือสิ่งพิมพ์แล้ว การแปล ข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์มีความยากมากกว่าการแปลข่าวในสื่อ สิ่งพิมพ์ เนื่องจากข่าวในสื่อสิ่งพิมพ์มีรูปคาศัพท์ปรากฏอยู่ในรูปแบบการพิมพ์ ผู้ แปลสามารถใช้ความรคู้ วามสามารถในการอ่านและแปลภาษาไดเ้ ลย โดยไม่ต้องคิด คาศพั ทต์ น้ ฉบบั ว่าเขยี นอย่างไรและไมต่ อ้ งกงั วลเร่อื งคาพอ้ งรูปและพอ้ งเสยี ง ขอ้ จากดั ในการแปลข่าววทิ ยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ก็คือ ขอ้ จากัด ทางเวลาในการนาเสนอข่าว เนื่องจาก ผู้ประกาศข่าวหรือผู้นาเสนอข่าวจะต้อง ปฏิบัติตามเวลาท่ีทางสถานีได้กาหนดไว้ ทาให้เป็นข้อจากัดสาหรับการแปลข่าว ประเภทน้ี หากต้องการแปลข่าวสารโดยละเอยี ดและให้มเี น้ือหาครอบคลุมครบถ้วน ตามข่าวต้นฉบบั ผู้แปลจะต้องมีการบันทึกเทปหรือแปลจากข่าวท่ีมีการบนั ทกึ เทป ย้อนหลังไว้ เพราะว่าหากแปลข่าวท่ีออกอากาศแล้วไม่มีการบันทึกเทปไว้ ผู้แปล ข่าวจะต้องแปลด้วยความรวดเร็วและแปลแบบสรุปความ เนื่องจากการนาเสนอ ข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์มีเวลาจากัด ผู้ประกาศข่าวหรือผู้อ่านข่าว จะตอ้ งปฏิบตั ิตามใหเ้ ปน็ ไปตามเวลาที่กาหนดไว้

-126- คาศพั ท์เฉพาะในข่าววิทยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยุภาษาเขมรทีผ่ ู้แปลข่าวภาค ภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและขา่ วภาคภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร มีดังน้ี ภาษาเขมร ภาษาไทย สถานี សាា នីយ៍ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง វទិ យុផ្សាយែជំ ង วิทยโุ ทรทศั น์ វទិ យុទូរទែសន៍ สถานีวิทยุกระจายเสียง សាា នីយ៍វទិ យែផ្សាែំជ ង สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์ សាា នីយ៍វទិ យុទូរទែសន៍ สถานีโทรทศั น์ បុែ៍ិជត ខ... ถา่ ยทอด ផ្សាយ ถ่ายทอดสด ផ្សាយផ្ាអ ់ ถา่ ยทอดสด ផ្សាយបនតផ្ាអ ់ เทปบนั ทกึ ภาพ ផ្សាយជ ើងវញិ นกั ประกาศข่าววิทยุ អ្នកផ្សាយែំជ ង (វទិ យុ) นักประการข่าวโทรทศั น์ អ្នកផ្សាយពត៌មានទូរទែសន៍ นกั ขา่ ว ส่อื สารมวลชน អ្នកយកព័ត៌មាន ผรู้ ายงานขา่ ว អ្នករាយការណ៍ บรรณาธิการ បណ្ា ណធិការ กองบรรณาธกิ าร រកមុ បណ្ាណធិការ นกั แปลขา่ ว អ្នកបកសរបព័ត៌មាន ข่าว ព័ត៌មាន นอกจากภาษาท่ผี ู้แปลข่าววทิ ยุกระจายเสยี งและวิทยุโทรทศั น์จะใช้ความรู้ ความสามารถแลว้ ผู้แปลข่าวจะต้องศกึ ษารูปแบบการเขียนขา่ ววิทยุกระจายเสียง เพิ่มเติมอีกด้วย เพื่อให้ผู้ประกาศข่าวหรือผู้นาเสนอข่าวในวิทยุกระจายเสียง สามารถนาเสนอไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและมปี ระสทิ ธภิ าพ

-127- รูป แ บ บ ก า รเขี ย น ข่ า ว ส า ห รับ วิท ยุ ก ร ะ จ าย เสี ย ง แ ล ะ วิ ท ยุ โท รทั ศ น์ ที่ ผู้ แปลภาษานามาปรับใช้เมื่อแปลข่าวภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและแปลข่าว ภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ดงั น้ี ประเภทขา่ ว . ลาดบั . วนั ท่ี . เวลา . น. ช่ือขา่ ว จากสานกั ขา่ ว . ผ้แู ปล . . หัวขอ้ ข่าว . เน้ือขา่ ว . . . . . -จบขา่ ว- การเขียนบทแปลข่าวสาหรับวทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์อาจไม่จะ เป็นจะต้องลงรายละเอียดเก่ียวกับผู้ประกาศข่าวและเวลานาเสนอข่าว เพราะใน สว่ นการกาหนดรายละเอียดในการนาเสนอข่าวเป็นหน้าทขี่ องบรรณาธิการขา่ วเป็น ผู้ดาเนนิ การ ขัน้ ตอนและวธิ กี ารแปลข่าววทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ ผ้แู ปลอาจ ไมจ่ าเปน็ ต้องเขียนขา่ วด้วยภาษาต้นฉบบั เนื่องจากใชว้ ิธกี ารฟังแลว้ แปลไดเ้ ลย แต่ ในที่นีจ้ ะนาเสนอข่าวทเ่ี ปน็ ภาษาเขมรไวด้ ้วย เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลสาหรับผทู้ ีจ่ ะศึกษาการ แปลข่าวตอ่ ไป

-128- ตัวอยา่ งการแปลขา่ วภาษาเขมรเปน็ ขา่ วภาษาไทย ข่าวต้นฉบบั ภาษาเขมร តោុ ការកំពូ បានបដិជែធមិនដឹងែូមឲ្យជដា៉ះជ ងកឹម ែខុ ា។ តុោការកំពូ របែ់ របជទែកមពុោ កា ពីថ្ងៃអ្គគ របានបដិជែធមិនដឹងែូម ឲ្យជដា៉ះ ជ ងកឹម ែុខា ជមដឹកនំគណៈបកសរបឆ្ំង ជដាយនិយាយថាការជដា៉ះជ ងរបូ ជោកបងជា រគា៉ះ ថាន ក់ ោសា ធារណ ៈ គណ ៈការកំរាមកំសហ ងរោំ យគណ ៈបកសែជរគគ ៉ះោតិកំពុងដំជណើរការ។ ជោកកឹម ែខុ ា រតូវបានចាប់ ខាួនកា ពីសខកញ្ញា ជដាយជចាទពីបទកបត់ោតិ ជហើយអ្នកគំរទជោក នយិ ាយថា វោករណី នជយាបាយ។ ជហតការណ៍ ជន៉ះបានជកតើ ជ ើងជៅជព មានការបរគា បជ ើ អ្នករគិ ន់ អ្ំណ្ណ ចផ្តអច់ ការរបែ់ ជោ កនយករដឋមនរតីហុ ៊ ន ជែន សដ អា ចរបជឆ្ មនិងរកុម របឆ្ំងដ៏ខាា ំងជន៉ះកនុងកា រជបា៉ះជឆ្ន តឆ្ន ំជរកាយ ។ គណ ៈបកសរបោ នកមពុោជោ កហុ ៊ ន ជែន សដ កាន់អ្ំណ្ណចោងសាមែិបឆ្ន ំបានបជងើនា ការបរគា បអ្នកនជយាបាយរបឆ្ំង បរគា បបណ្ត ណព ត៌មានឯករា អ្ងកគ ារែិទិធមនុែស និងបងំខឲ្យបណ្ត ណពត៌មានោជរចើនបិទទាវ រ។ ជមធាវរី បែ់ កឺម ែុ ខា ែូមឲ្យតុោការកំពូ ពិចារណ្ណថា ការឃុំោំងជោកកឹម ែុខា សដ មានអ្ភ្័យឯកែិទិធគឺោ អ្ំជពើខុែចាប់ ។ ขา่ วแปลเป็นภาษาไทย ประเภทข่าว การเมอื ง . ลาดบั 1 . วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2017 . เวลา 06.00-06,30 น. ชือ่ ข่าว การจับตวั กึม สุขา หวั หน้าภาคฝา่ ยคา้ น . จากสานกั ขา่ ว VOA ภาษาเขมร ออนไลน์ (สหรฐั อเมรกิ า) . ผแู้ ปล บญั ญตั ิ สาลี. --------- หัวขอ้ ขา่ ว ศาลฎีกาปฏเิ สธไม่รูเ้ รื่องการขอปล่อยตวั กึม สขุ า. เน้อื ขา่ ว เมื่อวันอังคาร ศาลฎีกาแห่งประเทศกมั พูชาปฏิเสธไม่รู้เร่ืองการขอปล่อย ตวั กมึ สขุ า หัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน โดยไดก้ ลา่ ววา่ การปลอ่ ยตวั จะทาใหเ้ กิดปญั หา สาธารณะในท่ามกลางที่มีการฟ้องร้องให้มีการยุบพรรคสงเคราะห์ชาติกาลัง

-129- ดาเนินการอยู่ กมึ สุขา ถูกจับตวั เมื่อเดือนกนั ยายน โดยถกู ตั้งขอ้ หาเป็นกบฏ และ ผู้สนับสนุนได้อ้างว่าเป็นคดีทางการเมือง เหตุการณ์ น้ีได้เกิดข้ึนเมื่อมีการ ปราบปรามผ้ทู ี่ต่อต้านอานาจเผด็จการของนายกรัฐมนตรีฮุน เซน ซ่งึ เปน็ การปะทะ กับกลุ่มต่อต้านท่ีแข็งแกร่งนี้ในการเลือกต้ังปีหน้า พรรคประชาชนกัมพูชาของฮุน เซน ซึ่งครองอานาจมากว่าสามสิบปี ได้ปราบปราม นักการเมืองฝ่ายค้าน ปราบปรามนกั ขา่ วอิสระ องค์การสิทธิมนุษยชน และบงั คับใหบ้ รรดาสอื่ สารมวลชน จานวนมากปิดตวั ลง ทนายความของกมึ สขุ า ขอใหต้ ลุ าการพจิ ารณาวา่ การจบั กุม ทา่ นกึม สขุ า ซ่งึ มเี อกสิทธคิ มุ้ ครองเปน็ การทาผดิ กฎหมาย. ตัวอยา่ งการแปลข่าวภาษาไทยเป็นข่าวภาษาเขมร ขา่ วตน้ ฉบับภาษาไทย (ตดั มาจาก “ข่าวยามเชา้ ”20 มกราคม 2560) กระทรวงแรงงานเตือนนายจ้างและสถานประกอบการให้ระวังกลุ่ม มิจฉาชีพหลอกลวงกรณชี ว่ ยดาเนินการขอใบอนุญาตทางานในประเทศไทย นายสิงหเดช ชูอานาจ อธิบดกี รมการจัดหางานเปิดเผยวา่ เมื่อวันที่สิบหก มกราคม สองพันห้าร้อยหกสิบ มูลนิธิสิทธิมนุษยชนและพัฒนา ได้นาคนต่างด้าว สัญชาติเมียนมาท่ีถือบัตรสีชมพูจานวนสิบแปดคนมาย่ืนเร่ืองร้องทุกข์ขอความ ช่วยเหลือกับหน่วยงานสังกัดกระทรวงแรงงาน ในจังหวัดเ ชียงใหม่ กรณีถูก หลอกลวง โดยมีผู้อ้างว่าสามารถดาเนินการขอวีซ่าและใบอนุญาตทางานใน ประเทศไทยตามบันทึกความตกลงระหว่างรัฐหรือเอ็มโอยูได้ โดยเรียกเก็บ ค่าบรกิ ารคนละหนึ่งหม่ืนหกพนั บาท หลังจากน้นั ผรู้ ้องทกุ ข์ได้ตดิ ต่อสอบถามผแู้ อบ อา้ งเพ่ือถามความคืบหน้าในการขอวีซ่าและใบอนุญาตทางานแต่ไม่สามารถติดต่อ ได้ จากการตรวจสอบข้อมูล เบื้องต้นพบว่า ห้างหุ้นส่วนที่ถูกกล่าวอ้างไม่ได้เป็นผู้ ได้รับอนญุ าตจดั หางานแตอ่ ย่างใด ซึง่ กรมการจัดหางาน จะรวบรวมพยานหลักฐาน และรอ้ งทกุ ข์กล่าวโทษตอ่ พนกั งานสอบสวนต่อไป

-130- ข่าวแปลเปน็ ภาษาเขมร របជភ្ទពត៌មាន នជយាបាយ . ំដាប់ ១ . ថ្ងៃទី ២០ មករា ២០១៧ . ជវោ ០៦.៣០ ន. ចំណងជ ងើ រកមុ មិចាា ីពបជញ្ញា តព ករមីយាន់មា. ការយិ ា ័យព័ត៌មាន សាា នីយ៍វទិ យថុ ្នរបជទែថ្ង. អ្នកបកសរប សា ី ប្តា ិត . -------- ពតម៌ ាននមំ ខុ រកែងួ ការគររពមាននជិ យា កនងិ រគឹ៉ះសាា នឲ្យរបុងរបយ័តរន កុមមិចាា ីពបជញ្ញា ត ករណី ួយដំជណើរការែូមប័ណា ការគរជៅរបជទែថ្ង . រាយអ្ំអ្ិតពត៌មា ន ជោកែិងជហ ត ឈូអ្ំណ្ណច អ្គគនយកថ្ននយកដាឋ នការគរបាននិយាយថា កា ថ្ងៃទីដប់ របាំមួយ មករា ពីពាន់ ដប់ របាំពីរជន៉ះ មូ និធិែិទិធមនុែស និងអ្ភ្ិវឌ្ឍន៍បាននំ ន បរជទែែញ្ញា តិមីយា ន់ មាសដ មានបណា ែីុ មពូចំនួនដប់ របាំបីនក់ មកដាក់ ពាកយបណដ ឹ ងែូម ំនួយអ្ំពីទីភាន ក់គរែិាតជរកាមរកែួងការគរជខតតជឈៀងថ្មកនុងករណី រតូវបជញ្ញា ត ជដាយមាន អ្នកអ្ៈអា ងថា អាច ួយដំជណើ រកា រែួមទិដាឋ ការ និងប័ណា កា រគ រជៅ កនុងរបជទែថ្ងបានតា ម អ្នុសារណៈជយាគយ ់ រវងរដឋឬអ្ឹមមអ្ូយូ បានជដាយែូមថ្ងាជែវចំនួយដប់ របាំមួយពាន់បាត ថ្ង។ ជរកាយពីជន៉ះ នជរគា៉ះថាន ក់បានទាក់ទងសាកែួរអ្នកជបាករបាែ់ជដើមបីសាកែួរការដំជណើរ ការថ្នការែូមទិដាឋ ការ និង ប័ណា ការគរ បុសនតមិនអាចទាកទងបានជទ។ ពីអ្ធិការកិចចមួោឋ ន បានជឃើញថារកុមហុ ៊នជន៉ះមិនបានទទួ អ្នញុ ្ញា តឲ្យនំចូ ព ករជន៉ះជទ។ នយកដាឋ នការគរ នងឹ របមូ ភ្ែុតត ាង នងិ ដាក់ពាកយបណត ឹ ងដ ់មន្រនីជត ែើ៊បអ្ជងតា តជៅ។ การแปลข่าววิทยุโทรทัศน์นั้นใช้วิธกี ารแปลเช่นเดียวกันกับวิธีการแปลข่าว วทิ ยกุ ระจายเสียง เพียงแตผ่ ู้แปลจะต้องประสานกบั ผู้จัดทาข่าวและผู้ประกาศขา่ ว ท้ังนี้อาจต้องอาศัยรูปแบบการเขียนบทข่าววิทยุโทรทัศน์ประกอบด้วย เนื่องจาก จะต้องมีการใชภ้ าพประกอบการนาเสนอขา่ ว ดังน้นั ผู้แปลขา่ วจึงตอ้ งศึกษารูปแบบ การเขยี นบทและการนาเสนอข่าววิทยโุ ทรทศั นซ์ ง่ึ มคี วามสอดคลอ้ งกัน ดังน้ี 1. หัวข้อข่าว ผู้ประกาศข่าวเปน็ ผู้กล่าวหัวข้อขา่ ว และผทู้ าข่าวจะนาเสนอ ภาพผูป้ ระกาศข่าว

-131- 2. เน้ือข่าว ผู้นาเสนอข่าวเป็นผู้อ่านเน้ือหาข่าว และผู้ทาข่าวจะนาเสนอ เทปบันทกึ รายละเอียดของเนือ้ ขา่ ว ดังตัวอย่างข่าววทิ ยุโทรทัศน์ซึ่งคัดมาจาก “เที่ยงวันทันเหตุการณ์” ช่อง 3 วนั ท่ี 4 มิถุนายน 2558 เวลา 12.36 น. ดังนี้ 1. ผปู้ ระกาศขา่ ว กล่าวหวั ข้อขา่ ว ภาพที่ 22 แสดงการนาเสนอหวั ขอ้ ขา่ ว ทม่ี า : www.youtube.com/watch?v=_Se3LG9o6fk (เข้าถงึ เมอ่ื 15 กรกฎาคม 2563) ภาพ รายละเอยี ดขา่ ว ผู้ประกาศ “แหล่งทอ่ งเทย่ี วของไทยเปน็ ทส่ี นใจของนกั ท่องเทีย่ วชาวจีน และคะกไ็ ดร้ บั การโหวตหลายท่คี ะ กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและ กีฬาไดม้ อบรางวลั ให้กบั แหลง่ ท่องเทีย่ วไทยถึง 17 ประเภท เรา ไปติดตามขา่ วน้พี ร้อมกบั ขา่ วอืน่ ๆ ในเที่ยงวนั ทันขา่ วคะ”

-132- 2. เน้ือขา่ ว ภาพท่ี 23 แสดงการนาเสนอเนื้อขา่ ว ทมี่ า : www.youtube.com/watch?v=_Se3LG9o6fk (เข้าถงึ เมื่อ 14 มิถนุ ายน 2563) ภาพ รายละเอยี ดขา่ ว เทปนาเสนอ กระทรวงการท่องเทยี่ วมอบรางวลั สดุ ยอดของเมอื งไทยท่ี รายละเอียด เปน็ ทีช่ ื่นชอบของนกั ท่องเที่ยวชาวจนี รวม 17 ประเภท จดั ขึ้นเปน็ ครัง้ แรก หลงั มีผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมในการโหวตผา่ นเวป ข่าว ไซต์ของ ททท. รว่ มกับออนไลนย์ ักษใ์ หญข่ องจนี มากถึง 5.5 ลา้ น IP. เน้นสถานประกอบการไทยทไ่ี ด้รับการจัดอันดบั ทอ็ ปเท็นในดา้ นสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการท่องเท่ยี ว เพื่อตอ่ ยอดการจดั ทาแพ็จเก็จ เสนอขายแหลง่ ท่องเท่ียวต่อไป ตัวอย่างการนาข่าววิทยโุ ทรทัศน์ภาษาไทยมาแปลเป็นภาษาเขมร ดังต่อไปน้ี បុែជិ៍ត ខ 3 ថ្ង . ជ ខ1 . ថ្ងទៃ ី ៤ សខ មិងនុ ឆ្ន ំ ២០១៥ ជមាង ១២.៣៦ នទី របធានបទ ព័តម៌ ានជទែចរណ៍ រយៈជព ០.៥២ នទី អ្នកបកសរប សា ី ប្តា ិត ជបា៉ះពុមព ..................

-133- របូ ភាព រាយ អំ ្ិតពតម៌ ាន អ្នកសារព័ត៌មាន កសនងា ជទែចរណ៍ របែ់របជទែថ្ងោទីចាប់អារមណ៍ ចជំ ពា៉ះជភ្ៀា វជទែចរណ៍ នោតិចនិ ជហើយក៏បានទទួ ែជមាងជឆ្ន តោជរចើន។ រកែងួ ជទែចរណ៍ នងិ កឡី ាបានផ្សត ់រគវ ន់ចនំ នួ ១៧ របជភ្ទដ ់កសនងា ជទែចរណ៍ ថ្ង ជហើយជយើង តាមដានព័ត៌មានជន៉ះោមួយនងឹ ព័ត៌មានជផ្សសងជទៀតជៅកមវែ ធិ ីព័តម៌ ានជព ថ្ងៃ រតង់។ កាសែតវជី ដអ្ូ រកែងួ ជទែចរណ៍ ផ្សត ់ ូននវូ ពានរគវ ន់ដ៏ បា ំផ្សតុ របែ់ថ្ងសដ ោចណំ ូ ចតិ ត បគហ ញព័ត៌មាន របែ់ជភ្ៀា វជទែចរ នោតិចនិ ចនំ នួ ១៧ របជភ្ទសដ រតូវបានរបារពធោជ កើ ដំ មិាត បូង។ បនា ប់ពីបានចូ រមួ ជៅកនងុ ែកមែភាពជបា៉ះជឆ្ន តជៅជ ជើ គហទំព័ររបែ់ TAT រមួ ោមួយរកុមហុ ៊នអ្នឡាញធមំ ួយរបែ់ចនិ សដ មាន IP ជរចនើ ដ ់ 5,5 ោន។ ជដាយជផ្តអតជ ើរគ៉ឹ ះសាា នមីរកូហិរ្វា តថុា ្ងសដ បានោប់ចណំ ្ណត់ថាន ក់ កំពូ ទាងំ ដប់ជៅកនងុ ផ្ស តិ ផ្ស នងិ ជែវកមែជទែចរណ៍ ជដមើ បីពរងកី ការ ជរៀបចកំ ្បច ់បសនមា ជដើមបីផ្សត ់ ូននវូ ការទាក់ទាញជទែចរណ៍ ។ -ចប់- ตัวอยา่ งการแปลขา่ ววิทยุโทรทศั นภ์ าษาเขมรเปน็ ภาษาไทย ขา่ วต้นฉบับ (ตดั ตอ่ มาจากรายการขา่ ววทิ ยโุ ทรทศั น์ ททก. วนั ท่ี 7 สิงหาคม 2013) ែជមតចរព៉ះមហ្គកសរតី ែជមតចរព៉ះករណុ ្ណរព៉ះមហ្គកសរតែពវរព៉ះរា ហឬទ័យជែចត យាងបំជពញមហ្គកុែ កនុងរព៉ះរា ពិធីបុណយមហ្គែងឃទានថាវ យរព៉ះវញិ ្ញា ណកខ័នរធ ព៉ះករណុ ្ណ រព៉ះបរមរតនជកាដឋ។ ជៅរពឹកថ្ងៃអ្គគ រ ដប់ របាំមួយ ដាច់សខអាសាឍ ឆ្ន ំមាញ់ ប្ខែក ពុទធែករា ពីរពាន់ របាំរយហ្គ ែិបថ្របពីរ រតូវនិងថ្ងៃទីរបាំមួយ សខែីហ្គ ឆ្ន ំពីរពាន់ដប់ បី ោថ្ងៃែី ជដាយរបកប ជៅជដាយរព៉ះកុែ ផ្ស បុណ យដ៏របជែើរថ្ងាថាា ែរមាប់ ពុទធបរែិ ័ទធជយើងរគប់ រែទាំសដ បា ន ជគារពបូោចំជពា៉ះរព៉ះពុទធសាែន។ កនុងថ្ងៃមងគ ជន៉ះែជមតចរព៉ះមហ្គកសរតី រព៉ះវរនងោតិសខែរ កនុងជែរភី ាព ជែចកតីថ្ងាធនូ និងែុភ្មងគ រពមទាំងរព៉ះករណុ ្ណរព៉ះអ្ងមគ ាច ែ់ ីវតិ ជ ើតបូង មហ្គ កសរតថ្នរព៉ះរាោណ្ណ ចរកកមពុោទីែកាា រៈដ៏ខពង់ខពែ់បំផ្សុតបានជែតចយា ងបំជពញកុែ ថាវ យរព៉ះ វញិ ្ញា ណកខ័នធរព៉ះករណុ ្ណរព៉ះបរមរតនជកាដឋ។ រព៉ះរា ពិធីបុណយថាវ យមហ្គ រព៉ះកុែ ជៅរពឹកថ្ងៃ

-134- ជន៉ះមានការយាងោរព៉ះអ្ធិបតីដ៏ខពង់ខពែ់ បំផ្សុតពីែជមតចរព៉ះមហ្គ កសរតី រព៉ះវរនងោតិសខែរ និង រព៉ះករណុ ្ណ រព៉ះអ្ងគមាច ែ់ ីវតិ ជ ើតបូង រព៉ះមហ្គ កសរតថ្នរព៉ះរាោណ្ណ ចរកកមពុោ ោទីែកាា រៈដ៏ ខពង់ខពែ់ បំផ្សុតរមួ ដសងហជដាយរព៉ះបរមវងានុវងស និងនយមឺុនែពវមុខមន្រនីតរព៉ះបរមរា វំងជដើមបី ថាវ យវញិ ្ញា ណកខ័នដធ ់រព៉ះករណុ ្ណរព៉ះបរមរតនជកាដឋ។ ขา่ วแปลเปน็ ภาษาไทย ลาดับท่ี 1 ขา่ วช่อง ททก. กัมพูชา เวลาเสนอข่าว 08.30 น. วนั ที่ 7 สิงหาคม 2556 จานวนเวลา 0.50 ชั่วโมง หวั ขอ้ ข่าว ข่าวราชสานัก สานกั ขา่ ว............ พิมพ.์ ................. ผู้แปล บัญญัติ สาลี ภาพ รายละเอยี ดข่าว ผู้ประกาศ สมเดจ็ พระมหากษตั ริยานี พระบาทสมเด็จพระมหากษัตรยิ ์ทรงมี เทป ความยินดี ทรงเสด็จบาเพญ็ มหากุศลในพระราชพธิ บี ุญมหา สงั ฆทานถวายพระวญิ ญาณขันธแ์ ดพ่ ระบาทสมเด็จพระบรมรตั น โกศ เช้าวันองั คาร ทห่ี ก เดือนแปด ปีมะเส็ง พุทธศกั ราชสองพนั ห้าร้อย ห้าสิบสอง ตรงกับวันที่หก เดือนสิงหาคม ปีสองพันห้าร้อยห้าสิบ หก เป็นวันพระซ่ึงประกอบด้วยพระกุศลผลบุญท่ีประเสริฐย่ิง สาหรับพุทธบริษัททุกคนท่ีนับถือพระพุทธศาสนา ในวันมงคลน้ี สมเด็จพระมหากษัตริยานี พระวรนาถแห่งชาติเขมรในความเป็น เสรีภาพ ความงดงาม และศุภมงคล พร้อมท้ังพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาอันเป็นที่ สักการะเคารพย่ิง ได้เสด็จพระราชดาเนินบาเพ็ญกุศลถวายพระ วิญญาณขันธ์พระบาทสมเด็จพระบรมโกศ พระราชพิธีบุญถวาย พระมหากุศลในเช้าวันน้ี สมเด็จพระมหากษัตริยานี พระวรนาถ แห่งชาติเขมร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาอันเป็นที่เคารพสักการะยิ่ง ทรงเสด็จ พระราชดาเนนิ เปน็ พระประธานและทรงรว่ มขบวนแห่กับพระบรม วงศานุวงศ์และนายหมื่น ข้าราชการบรมราชวัง เพ่ือถวายดวง วิญญาณขันธพ์ ระบาทสมเด็จพระบรมรัตนโกศ -จบ-

-135- บทสรุป การแปลข่าวโดยท่ัวไปใช้วิธีแปลแบบถอดความ โดยมุ่งเน้นถึงความถูกต้อง ด้านเน้ือหาเป็นหลัก บางครั้งการแปลข่าวอาจจะไม่ได้เคร่งครัดในเรื่องรูปแบบ โครงสร้างทางภาษา หรอื อาจกล่าวได้วา่ การแปลข่าวใช้วธิ ีการแปลแบบสรปุ ความ ก็ได้ อย่างไรก็ตาม การแปลข่าวภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและภาษาเขมรเป็น ภาษาไทยน้ันจะต้องแปลไปโดยยึดตามโครงสร้างทางภาษา เพราะโครงสร้างมีท้ัง เหมือนกนั และแตกต่างกันไป และส่งิ ท่ีนักแปลข่าวตอ้ งตระหนักเสมอก็คือ นักแปล จะตอ้ งยดึ ความตามเน้ือหาของตน้ ฉบับให้ได้มากทส่ี ุด

-137- บทท่ี 6 การแปลงานทางวชิ าการ บทนา งานวิชาการเน้นการนาเสนอข้อมูลท่ีมีการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และรวบรวมเพ่ือประโยชนใ์ นการสร้างองคค์ วามรู้ ภาษาทีใ่ ช้ในงานทาง วิชาการน้นั เป็นภาษามาตรฐาน และวัจนลีลาที่ใช้ในงานวิชาการนั้นเปน็ การใช้ภาษาทางการ กล่าวคือภาษาท่ีใช้ในงานวิชาการนั้นเป็นภาษาที่ อยา่ งมีระเบียบแบบแผน ถูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ และมีการใช้คาศัพท์ เฉพาะที่ในแวดวงวิชาการ งานวิชาการมีความสาคัญกับทุกคน เพราะ จะต้องนาศึกษาองค์ความรู้จากงานวิชาการไปประยุกต์ใช้ในการสร้าง นวตั กรรมและประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ผูแ้ ปลงานทางวชิ าการจาเปน็ จะตอ้ งศกึ ษาใหถ้ ่องแทท้ างดา้ นการ ใชภ้ าษาและรปู แบบเฉพาะของงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับวชิ าการ จงึ จะสามารถ แปลและสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้จากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหน่ึง ดังน้ัน ผู้ท่ีจะแปลงานวิชาการจึงต้องศึกษาและทาความเข้าใจในงาน วิชาการแต่ละประเภท นอกจากนี้ผู้แปลจะต้องใช้ภาษาและคาศัพท์ แปลอย่างถูกต้องตามหลกั การใชภ้ าษาทางวิชาการ ลักษณะของงานวิชาการ ลักษณะของวิชาการนั้นท่มี ีการนาเสนออย่างเปน็ ระบบและเป็น ทางการ หรือนาเสนอตามรูปแบบของงานเชิงวิชาการประเภทนั้น ๆ การเขียนหรือการเรียบเรียงเน้ือหาสาระต้องมีการเชื่อมโยงใจความต่าง ๆ ใหส้ ัมพนั ธก์ นั และใช้ภาษาระดบั มาตรฐานราชการ อาจมกี ารใชศ้ พั ท์ เฉพาะสาขาวิชาด้วย และต้องมีการอ้างอิงหลักฐานท่ีมาของข้อมูลและ ความรู้ ความคดิ ท่ีนามาประกอบการศกึ ษา งานวิชาการหากแบง่ ประเภทตามวิธกี ารนาเสนอได้ 2 วิธี ได้แก่

-138- 1. การเขียนทางวิชาการ 2. การพูดทางวิชาการ การแปลในบทนี้จะเน้นในเรื่องประเภทงานวิชาการตามงาน เขียน เน่ืองจากการแปลงานการพูดทางวิชาการจะอยู่ในส่วนหนึ่งของ บทท่กี ลา่ วถึงการแปลแบบล่าม จึงแบ่งงานวิชาการในบทน้เี ป็น ไดด้ ังน้ี 1. ตารา 2. งานวจิ ยั 3. เอกสารคาสอน 4. เอกสารประกอบการสอน 5. งานแปล 6. รายงานวชิ าการ 7. บทความทางวชิ าการ 8. หนงั สอื ราชการ ผู้ท่ีจะแปลงานวิชาการจาเป็นจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ในการใช้ ภาษาอย่างเป็นทางการหรือภาษามาตรฐานของภาษาต้นฉบับและภาษา แปล เพราะวา่ ภาษาวชิ าการเป็นภาษาทีใ่ ช้ในแวดวงมีความเกี่ยวขอ้ งกบั สาขาวิชาต่าง ๆ ภาษาท่ีใช้เป็นภาษาท่ีใช้ในระดับภาษาทางการและมี การนาคาศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชาท่มี ีการบญั ญัตศิ พั ท์หรือมีการใช้ กนั ในแวดวงวิชาการ การแปลงานวชิ าการ การแปลงานวิชาการทั้งงานวิชาการไทยและเขมรนั้น ส่วนใหญ่ อยู่ในแวดวงการศึกษา เพราะสถาบนั การศึกษาได้นาวิทยาการตา่ ง ๆ ที่ มีการเปิดการเรียนการสอนในต่างประเทศมาสอนในประเทศของตนเอง เม่อื นาวิทยาการเหลา่ น้นั มาในก็ต้องมีการแปลเป็นภาษาของตนเอง ศาสตร์ต่าง ๆ ท่ีแปลงานวิชาการท้ังไทยและเขมรน้ัน ส่วนใหญ่ เป็นนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์นั้น ๆ และผู้ท่ีความรู้ ทางด้านภาษาต่างประเทศ ซ่ึงก็แล้วแต่ต้นฉบับของงานวิชาการนั้นเปน็ ภาษาอะไร แต่สง่ิ ท่ีตามมาพรอ้ มกบั การแปลกค็ ือ “คาศพั ท์เฉพาะ” ของ แต่ละศาสตร์ซ่ึงผู้แปลทั้งไทยและเขมรจะต้องนามาใช้ในงานแปลควบคู่

-139- กับวิธีการแปลและสานวนการแปลทางวิชาการ การแปลงานวิชาการน้ี จึงจาเป็นจะต้องรู้และเข้าใจในด้านการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใชใ้ น ภาษาของตนเอง ท้ังทางด้านกฎเกณฑ์การถ่ายถอดตัวอักษร การแปล คาศัพทเ์ ฉพาะทางวชิ าการ และการทบั ศพั ท์ กา รยอมรับ เอา วัฒนธรรมและ วิท ยาการสมัยใหม่จาก ต่างประเทศมาใช้ทั้งในไทยและกัมพูชา สิ่งที่จาเป็นมากที่สุดก็การใช้ คาศัพท์เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรมและวิทยาการท่ีนามาใช้ จึงมีการ บัญญัติคาศพั ท์เฉพาะนนั้ ๆ เขา้ มาใช้ ในอดีตนักวิชาการผู้แปลศาสตรน์ น้ั ๆ เป็นผู้กาหนดคาศัพท์เฉพาะในศาสตร์นั้น ๆ โดยวิธีการแปลคาศัพท์ และการทับศัพท์ แต่ในปัจจุบันทั้งไทยและกัมพูชามีการกาหนดคาศัพท์ ในแต่ศาสตร์มาใช้ เรียกคาศัพท์เฉพาะเหล่านั้นว่า ศัพท์บัญญัติ การ บัญญัติของประเทศไทยมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการบัญญัตศิ ัพท์ คือ ราชบัณฑิตยสภา ส่วนหน่วยงานที่รับผิดบัญญัติศัพท์ของกัมพูชา คือ สภาภาษาเขมรแห่งชาติ ภาษาเขมรใช้ชื่อว่า ក្រុមក្រឹរាជាតិភាសាខ្មែរ (National Council Of Khmer Language) ลักษณะงานวิชาการท่ีแปลเป็นภาษาไทยและภาษาเขมรนั้น มี ลักษณะหลายวิธี กล่าวคือ มีงานวิชาการที่มีแปลเนื้อหาบางส่วนของ หนงั สือหลาย ๆ เลม่ แล้วเรยี บเรียงโดยผแู้ ปล ลกั ษณะงานดังกล่าวจะพบ เห็นในหนังสือแบบเรียน ตาราเรียน และหนังสือ ลักษณะงานวิชาการ ดังกลา่ วน้ถี อื ว่าผู้แปลเป็นผ้เู รยี บเรียงเอง ลักษณะการใช้ภาษาในแวดวงวชิ าการที่ผแู้ ปลจะต้องนาไปใช้ใน การแปลงานวิชาการมีดังตอ่ ไปน้ี 1. ภาษาท่ใี ช้ในการแปลงานวิชาการตอ้ งเป็นภาษาทใี่ ช้อย่างเป็น ทางการหรอื ภาษามาตรฐาน 2. มีความชัดเจน กระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย รูปประโยคครอบคลุม เนือ้ หาตน้ ฉบับ ไมก่ ากวม ภาษาที่ไมต่ อ้ งตีความ และมคี วามหมายเดยี ว 3. มีการใช้คาศัพท์เทคนิคหรือคาศัพท์เฉพาะด้าน หากไม่มีการ บญั ญัติศัพทไ์ วอ้ าจตอ้ งใช้วธิ กี ารทบั ศัพท์ 4. เป็นภาษาเรียบงา่ ย ไม่ใชส้ านวนโวหาร และตรงตามต้นฉบบั

-140- 5. ใช้ไวยากรณ์ถูกต้องตามหลักของภาษาแปล โดยมีเน้ือหาตรง ตามภาษาต้นฉบับ ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทั้งในประเทศ ไทยและกัมพูชาเร่ิมมีมากย่ิงข้ึน นักวิชาการที่ศึกษาค้นคว้าทั้งไทยและ กัมพูชามีความต้องการเผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ใน ขณะเดียวกันยังมีการนาเอาบทความต่างประเทศมาแปลเป็นภาษาไทย และเขมร เพ่ือนาองค์ความรู้มาเผยแพร่ให้แก่นิสิตนักศึกษาในประเทศ ของตนเอง ปัจจยั สาคญั ท่นี ักวิชาการสนใจแปลบทความทางวิชาการและ บทความวิจัยก็คือบทความดังกล่าวมีเน้ือหาไม่ยาวมากและเน้ือหาของ บทความครอบคลุมเร่อื งทนี่ าเสนอนนั่ เอง การแปลงานวิชาการอีกประเภทหนึ่งทมี่ ีความจาเปน็ ในปัจจบุ นั เพ่ือการติดต่อส่ือสารกันระหว่างสองประเทศก็คือ การแปลหนังสือ ราชการ การแปลหนังสือราชการน้ีมีลักษณะการแปลตั้งแต่หนังสอื และ หนังสือรับ การแปลหนังสอื ราชการนที้ ัง้ รปู แบบของและภาษาเฉพาะท่ีมี ระเบียบแบบแผนในแต่ละหน่วยงานของแต่ละประเทศ ผู้แปลหนังสือ ราชการมีจงึ ตอ้ งศกึ ษาทั้งรูปแบบและการใช้ภาษาหนงั สอื ราชการให้ถ่อง แท้ จงึ จะสามารถแปลหนงั สอื ราชการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การแปลงานแวดวงวิชาการ การแปลงานวิชาการจากภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและภาษา เขมรเป็นภาษาไทยนน้ั ผแู้ ปลจะต้องศกึ ษาภาษาและคาศัพท์ทางวชิ าการ ท้ังของไทยและเขมรเป็นอย่างดี เพราะการใช้ภาษาและคาศัพท์เฉพาะ ทางวชิ าการมที ง้ั ที่เหมอื นกันและแตกต่างกนั โดยเฉพาะการบญั ญตั ศิ ัพท์ ข้นึ มาใช้ในแวดวงวิชาการ ดังท่ีได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า การบัญญัติคาศัพท์ในแวดวง วิชาการมีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการบัญญัติศัพทใ์ ช้ในแวดวงวชิ าการ เพือ่ ให้มกี ารใชค้ าศัพท์ที่มีเอกภาพและเปน็ อนั หนึง่ อันเดยี วกนั หน่วยงาน ของประเทศไทยก็คือ ราชบัณฑิตยสภาไทย หน่วยงานของกัมพูชาก็คอื สภาภาษาเขมรแห่งชาติ การแปลงานวิชาการแต่ละประเภททั้งจาก ภาษาไทยเป็นภาษาเขมรนั้น จะต้องยึดคาศัพท์ท่ีหน่วยงานทั้งสองได้

-141- บัญญัติไว้ จึงจะสามารถนามาใช้ในแวดวงวิชาการทั้งสองภาษาได้ ดัง ตัวอย่างตอ่ ไปนี้ ตัวอยา่ งคาศพั ทบ์ ญั ญตั ิทางวิทยาศาสตร์ คาศพั ทไ์ ทย คาศพั ทเ์ ขมร แบคทเี รีย បារ់ តត រ ី เซล តោសិោ กรด អាសតី อะตอม អាតូម จุลชีววทิ ยา អតិសមមជីវវទិ ្យា ตัวอยา่ งคาศัพท์บญั ญัตทิ างคณิตศาสตร์ คาศพั ทไ์ ทย คาศพั ทเ์ ขมร อนุกรม តស៊រេ ី ฟังชน่ั អនគមន៍ คา่ เฉลี่ย មធ្យម ค่ามัธยฐาน តមដ្យាន ฐานนิยม មូត ตวั อย่างคาศพั ทบ์ ัญญตั ิทางมนุษยศาสร์ คาศพั ทไ์ ทย คาศัพทเ์ ขมร มานษุ ยวิทยา នរវទិ ្យា ภาษาศาสตร์ ភាសាវទិ ្យា กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ ក្រមុ ជាតិពនុធ วรรณกรรม, วรรณคดี អរសរសិល្ប៍ ภาษาถิน่ ក្ាមភាសា

-142- ตัวอย่างคาศพั ท์บัญญัติทางสังคมศาสตร์ คาศัพท์ไทย คาศพั ท์เขมร พฒั นาชนบท អភិវឌ្ឍន៍ជនរទ្យ ภูมศิ าสตร์ ភូមិសាស្តសរ สังคมศาสตร์ វទិ ្យាសាស្តសសរ ង្មគ สงั คมวทิ ยา សង្មគ វទិ ្យា วฒั นธรรม វរបធ្ម៌ ตัวอยา่ งการแปลงานวชิ าการภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย 1) วิทยาศาสตร์ ภาพท่ี 24 แสดงเนื้อหารายวชิ าฟสิ กิ ส์ ที่มา : ក្រសងួ ្អរ់រំ យវជន នងិ ្រីឡា. ររូ វទិ ្យា. (ភំនតពញ, ២០១៤ : ៣៩) ตน้ ฉบับ ជពំ កួ ទ៣ អគ្សគិ នី នងិ មា៉ ញេទចិ ញេញ ៀនទី ៣ អតូ ូអងំ ឌចុ សយងុ • បាតភូតអូតូអាំង្ឌ្ចសយុង្តរតើ មានោរណាមានរខ្ក្មរក្មួល្ ចរនតរ ៅរនុង្តសៀគីវ។

-143- • ចរនអរ ូតូអាំង្ឌ្ីវតរើតរនុង្រូរី៊េនក្រឆំង្និង្រខ្ក្មរក្មួល្ននចរនតរ ៅ រនុង្តសៀគីវ។ ឧទាហរណ៍ បាតភូតអូតូអាំង្ឌ្ចសយុង្តរើតមានតៅ តពល្តគរិទ្យតសៀគវីតធ្វើឱ្យអំពូល្ខ្ដ្យល្តជាតស៊រេ ជី ាមួយនិង្រូរី៊េន មិនភឺលតាមរររ ធ្មែតា ភាល មតទ្យ។ ฉบับแปล “หมวดที่ 3 ไฟฟา้ และแมเ่ หล็ก บทท่ี 3 ตัวเหน่ียวนา • ปรากฏการณต์ ัวเหนี่ยวนาเกิดขึ้นเม่ือใดจะทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าในวงจร • กระแสการเหนี่ยวนาไฟฟ้าเกิดข้ึนในคอยล์ต่อต้าน กั บ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ใ น ว ง จ ร ตัวอย่างเช่น ปรากฏการณ์ของตัวเหน่ียวนาไฟฟ้า เกิดขึ้นในขณะที่เราปิดวงจรไฟฟ้าทาให้หลอดไฟท่ี ตอ่ อย่างอสิ ระกับคอยล์จะไม่สวา่ งทนั ที” การแปลงานวชิ าการจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยนน้ั หากผู้ แปลไม่ได้ศึกษางานวิชาทางด้านนั้น ๆ จะไม่สามารถแปลได้อย่าง ถูกต้อง วิธีการที่ดีท่ีสุดก็คือ ก่อนที่จะแปลงานวิชาการสาขาใด ๆ จะต้องศึกษารายละเอียดของสาขาวิชาการนั้น ๆ ให้ถ่องแท้ท้ัง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ จึงจะทาให้สามารถแปลงาน วิชาการได้ถูกต้องตามสาขาวชิ า ดังยกตัวอย่างมาข้างต้น จะเห็นได้ ว่าตัวอย่างที่ผู้เขียนยกมาแสดงเป็นงานวิชาการด้านฟิสิกส์ ศัพท์ บญั ญตั ิทางวิชาการระหว่างเขมรกับไทยมีความแตกตา่ งกนั เชน่ ศัพท์บัญญตั เิ ขมร คาศัพทจ์ ากภาษาเดมิ ศัพทบ์ ัญญตั ไิ ทย អូតូអាងំ ្ឌ្ចសយង្់ auto induction ตวั เหนี่ยวนาไฟฟา้ រូរី៊េន bobine คอยล์ អគិគសនី electric ไฟฟา้

-144- ศพั ท์บญั ญัตเิ ขมร คาศัพท์จากภาษาเดมิ ศัพท์บัญญัตไิ ทย មាតញទ្យិច magnétique แม่เหล็ก តសៀគវី circuit วงจรไฟฟา้ 2) มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ภาพท่ี 25 งานวิชาการดา้ นมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่มา : ធ្ី ណាតរឿន. សង្មគ វទិ ្យា. (ភំនតពញ, ២០១៧ : ៣) ตน้ ฉบับ ១. ញសចកញីត ្ើតេ ជាទ្យូតៅ និសសិតឆន ំទ្យីមួយខ្ដ្យល្តទ្យើរនឹង្ចារ់ ត្រើមតរៀនសង្គម វទិ ្យាដ្យំរូង្ ពំទាន់យល្់ចាស់នូរត ើយតទ្យអំពីពារយសង្គមវទិ ្យា។ ពួរតគ ខ្តង្ខ្តចារ់ ត្រើមឱ្យអតថន័យននពារយតនេះតោយខ្្ែរតៅតល្ើរតរវនិ ិនចឆ័យ ខ្ដ្យល្ជាពទ្យិធបានមរពីរទ្យពិតសាធ្ន៍ផ្ាទល្់ មលួល្រនុង្ជីវភាពរស់តៅក្រចាំ នងៃ នងិ ្ជាពទ្យិធខ្ដ្យល្បានមរពីោរសិរាមមវជិ ាា ននវទិ ្យាសាស្តសសរ ង្គមមួយ ចំនួនតទ្យៀតោរពួរតគតរៀនតៅសាលាចំតណេះទ្យូតៅខ្តរតណាណ េះ។ ចំតពាេះ និសសតិ ឆន ទំ ្យីមួយ ពារយ “សង្មគ វទិ ្យា” មានន័យថា ជាោរសិរាអំពីសង្មគ តោយខ្្ែរតល្ើោរក្រតិរតិរននពទ្យិធធ្មែតា (Common sense)

-145- ฉบับแปล “1. บทนา โดยท่ัวไปแล้ว นิสิตปีท่ี 1 ผู้ซึ่งเพิ่งจะเริ่มต้นเรียน สังคมวิทยาครั้งแรก ยังไม่เข้าใจเก่ียวกับคาศัพท์ว่า สังคม วิทยา อย่างถ่องแท้เลย พวกเขาแต่ละคนตา่ งเริม่ ตน้ ด้วยการ ให้ความหมายของคาน้ีโดยยึดถือตามความคิดด้ังเดิมท่ีเกิด จากประสบการณ์ที่ตนประสบในชวี ิตประจาวนั และความรู้ ที่มาจากการศึกษารายวิชาสังคมศาสตร์เม่ือคร้ังท่ีพวกเขา เรียนอยู่ในโรงเรียนข้ันพื้นฐานเท่าน้ัน นิสิตปีที่ 1 จะให้ ความหมายของคาว่า “สังคมวิทยา” ว่าคือการศึกษา เกีย่ วกบั สังคมโดยเปน็ ไปตามวถิ ีแหง่ สามญั สานึก (common sense)…” การแปลงานวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นั้น ผู้ แปลอาจพบศัพท์บัญญัตดิ า้ นนบี้ า้ ง ในตวั อย่างขา้ งตน้ มีคาศพั ทด์ งั ตอ่ ไปนี้ ศัพทบ์ ัญญัตเิ ขมร คาศพั ทจ์ ากภาษาเดิม ศพั ท์บญั ญตั ิไทย រតរវនិ ិចយ័ឆ - - ពទ្យិធ - ពទ្យិធធ្មែតា สามญั สานกึ សង្មគ វទិ ្យា common sense สงั คมวิทยา វទិ ្យាសាស្តសសរ ង្មគ สังคมศาสตร์ sociology social science

-146- 3) วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ภาพที่ 26 แสดงงานวชิ าการดา้ นวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ท่มี า : តដ្យវឌី ្ វរ័ ណឺ . ទ្យីណាាែ នតវជារណឌិ តសក្មារ់ ោរខ្ងទាំសមភាព ជនរទ្យ. (California, USA., ២០០៩ : ៣៣៩) ตน้ ฉบบั កា ញ្រ្ើ ាស់ ក្េិតថ្ន ំ និងកា ្រុង្រយត័ ន ចញំ ោះថ្ន ដំ ែលមនញៅកងនុ ញសៀវញៅញនោះ ថាន ទំ ាងំ ្ឡាយខ្ដ្យល្មានតៅរនុង្ជំពួរតនេះ ក្តូវបានោរ់ ជាក្រុម តៅតាមោរតក្រើក្បាស់ ររស់វា។ ឧទាហរណ៍ : ថាន ំខ្ដ្យល្តក្រើសក្មារ់ ពាបាល្ោររង្តក ោគតោយពពួរក្ពូន ក្តូវបានចាត់ចូល្រនុង្ក្រុមខ្ដ្យល្ មានចណំ ង្តជើង្ថា សក្មារ់ក្ពូន។ តរើអនរចង្់ដ្យឹង្ព័ត៌មានអំពីថាន ំអីវមួយររតមើល្ថាន ំត េះរនុង្រញ្ីា ោយត្ែ េះថាន ំខ្ដ្យល្ចារ់ ពីទ្យំព័រ៣៤១។ ឬររតមើល្ត្ែ េះថាន ំត េះតៅ រនុង្តាោង្ល្ិរិក្រមថាន ំខ្ដ្យល្ចារ់ ពីទ្យំព័រ៣៤៥។ តៅតពល្អនរររត ើញ ត្ែ េះថាន ំខ្ដ្យល្អនររំពង្ខ្សវង្ររត េះតហើយតរើរតៅទ្យំព័រខ្ដ្យល្បាន រង្ាហញ។

-147- ฉบับแปล การใช้ยาและข้อควรระวงั สาหรบั ยาทมี่ ีอยใู่ นหนงั สอื เลม่ น้ี “ยาทัง้ หมดในบทนี้ถูกจัดเป็นหมวดตามลกั ษณะของ การใช้ยา ตัวอย่างเช่น ยาท่ีใช้สาหรับรักษาโรคท่ีเกิดจาก พยาธิ ตอ้ งจดั เขา้ ในหมวดยาท่ีมีชอื่ วา่ ยาพยาธิ ถ้าหากว่าท่านต้องการรู้ข่าวสารเร่ืองยาขนานใด ขนานหน่ึงให้ตรวจดูในรายช่ือยาต้ังแต่หน้าที่ 341 หรือ ตรวจดชู อ่ื ยานนั้ ในตารางดัชนียาซึ่งอยตู่ ัง้ แตห่ นา้ ที่ 345 เมือ่ ตรวจพบชือ่ ยาทหี่ าแลว้ ใหเ้ ปิดไปท่หี นา้ ทีแ่ สดงไว้ การแปลงานทางวชิ าการด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพกเ็ ช่นเดียวกนั กับการแปลงานวิชาการในด้านอื่น ๆ ซ่ึงผู้แปลก็จะต้องศึกษาคาศัพท์ เ ฉ พ า ะ ที่ ใ ช้ ใ น แ ว ด ว ง ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร รั ก ษ า สุ ข ภ า พ ห รื อ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ โดยเฉพาะชื่อยาแผนปัจจุบันท่ีมีการใช้การบัญญัติศัพท์โดย วิธีการทับ ศัพท์จากภาษาตา่ งประเทศ ดังตัวอยา่ งคาศพั ทต์ ่อไปน้ี ศัพท์บัญญัตเิ ขมร คาศพั ทจ์ ากภาษาเดิม ศพั ทบ์ ัญญัตไิ ทย តរនីសីល្ីន penicillin เพนนิซลิ ลิน អាសីរព នី aspirin แอสไพรนิ ោល្សយូម calcium แคลเซยี ม អង្់ទ្យីរី៊េយូ ទ្យិរ Antibiotiques ยาปฏิชวี นะ សឺោំង្ Seringues เข็มฉีดยา ตวั อย่างคาศพั ทเ์ ฉพาะเหลา่ นี้เป็นสง่ิ ท่ผี ู้แปลจาเป็นจะต้องศึกษา ภาษาเขมรทั้งการเขียนและการพูด คาศัพท์ดังกล่าวแม้จะมีที่มาจาก ภาษาตา่ งประเทศคาเดียวกนั แตร่ ปู คาเขียนคาศัพทเ์ ฉพาะท่ใี ชอ้ ยา่ งเป็น ทางการในภาษาเขมรและภาษาไทยบางคามคี วามแตกต่างกัน

-148- การแปลเอกสารทางราชการ หนังสือราชการถือว่าเป็นเอกสารสาคัญประเภทหน่ึงท่ีเป็น หลักฐานทางราชการ หนังสือราชการมีระเบียบในการเขียนสาหรับ หนว่ ยงานราชการทัง้ ในประเทศกัมพชู าและประเทศไทย ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรี ประเทศไทย ว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ได้ให้ความหมายของคาว่า \"หนังสอื \" หมายถึง หนงั สือราชการ และระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2548 ได้แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ระเบียบข้อ 9 ไว้วา่ “หนงั สอื ราชการ ” คือเอกสาร ท่เี ปน็ หลักฐานในราชการ ไดแ้ ก่ 1. หนงั สือทีม่ ีไปมาระหวา่ งสว่ นราชการ 2. หนังสือท่ีส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิ ใช่ส่วน ราชการหรือทมี่ ีไปถงึ บคุ คลภายนอก 3 . ห นัง สือที่หน่วยง านอื่นใดที่ไม่ใช่ส่วนราชการ ห รือ บคุ คลภายนอกมีมาถึงสว่ นราชการ 4. เอกสารท่ที างราชการจัดทาขึ้นเพ่อื เปน็ หลกั ฐานในราชการ 5. เอกสารท่ีทางราชการจัดทาข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ 6. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือท่ีได้รับเข้าจากระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง วันที่ 23 กนั ยายน 2548) เอกสารทางราชการของประเทศกัมพูชาก็มีระเบียบการเขียน หนังสือราชการการ โดยให้ความหมายว่า หนังสือทั้งหลายท่ีมีการ ติดต่อส่ือสารในหน่วยงานราชการตา่ ง ๆ ซึ่งประกอบดว้ ยชอ่ื หนว่ ยงงาน ตราหน่วยงาน ลายมือชือ่ วันเวลา และมีเลขหนังสือ (អយ សីម, ឯរឧតរម. www.facebook.com/ 7khmer : 8, เข้าถึงเม่ือ 15 กรกฎาคม 2563) ลักษณะเอกสารทางราชการของประเทศกมั พูชาแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. เอกสารท่ีตราขึ้นตามกฎหมาย หมายถึง เอกสารที่เป็น ลักษณะเน้ือหาเปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ คาสั่ง กฎ และกตกิ าทีต่ รา ขึ้นโดยพระมหากษัตริย์หรือประมุขรัฐ และหน่วยงานของรัฐ ได้แก่

-149- รัฐบาล กระทรวง จังหวัด เมือง เขต แขวง และหน่วยงานที่มีกฎหมาย รับรองไวใ้ ห้สามารถตราได้ โดยแบ่งเป็นลักษณะเอกสารตามลาดบั ดังน้ี 1.1 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา (ក្ពេះោជក្រម) หมายถึง การประกาศให้ใช้กฎหมายท่ีผ่านการเห็นชอบของรัฐสภาตามวิธีนิติ บัญญัติแล้ว แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ กฎหมายตีความรัฐธรรมนูญ กฎหมายสาหรับหนว่ ยงาน และกฎหมายปกติทีไ่ มไ่ ด้ผา่ นทปี่ รกึ ษา 1.2 พระราชบัญญัติ (ក្ពេះោជក្រឹតយ) หมายถึง กฎหมาย ลาดับรองลงมาจากรัฐธรรมนูญและตราขึ้นเพื่อบริหารราชการแผ่นดิน โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายรัฐธรรมนญู 1.3 พระราชกาหนด (ក្ពេះោជអនក្រឹតយ) หมายถึง กฎหมาย ทีต่ ราข้นึ โดยรฐั บาล 1.4 ประกาศ หมายถึง การประกาศเรื่องราวท่ีเก่ียวข้อง กับกฎกระทรวง ระเบียบกระทรวงซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรี 1.5 คาสั่ง (ដ្យីោ) หมายถึง หนังสือที่มีเนื้อหาเก่ียวกับ คาสั่ง การหา้ มปฏบิ ัติ และกาหนดระยะเวลา 1.6 ข้อวินิจฉัย (តសចររីសក្មច) หมายถึง ข้อตัดสินใจใน เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งซึ่งต้องเปน็ ไปตามตวั บทกฎหมาย ซ่ึงหัวหนา้ หน่วยงาน เป็นผู้ออกข้อวนิ ิจฉัยหรือตดั สินใจในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งให้ผู้ใต้บังคบั บัญชา ปฏบิ ตั ติ าม 2. เอกสารติดต่องานราชการ หมายถึง เอกสารที่หน่วยงาน ราชการจัดทาขน้ึ เพอื่ ตดิ ต่อประสานงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ หนังสือภายใน และ หนังสอื ภายนอก ขอบเขตของเอกสารทางราชการระหว่างไทยและกัมพูชามีความ แตกต่างกันก็คือ เอกสารทางราชการของไทยมีขอบข่ายท่ีมากกว่า เอกสารทางราชการของกัมพูชา เพราะเอกสารที่ทางราชการจัดทาข้ึน เพื่อเป็นหลักฐานในราชการ และเอกสารท่ีทางราชการจัดทาขึ้นตาม กฎหมาย เช่น ใบสูติบัตร มรณบัตร บัตรประจาตัวประชาชน ทะเบียน บ้าน ทะเบียนสมรส และหนงั สือเดินทาง เปน็ ตน้

-150- เอกสารดังกลา่ วเหล่าน้ัน เม่ือคนไทยมีความประสงค์จะเดินทาง ไปต่างประเทศ และมีความจาเป็นต้องใช้เอกสารทางราชการ จะต้อง แปลเป็นภาษาประเทศที่ตนเองจะต้องเดินทางไป หรือแปลเป็น ภาษาอังกฤษซึ่งเปน็ ภาษาสากล หากคนต่างประเทศมีความประสงคจ์ ะ นาเอกสารมาใช้ในประเทศไทย จะต้องแปลภาษาของตนเป็นภาษาไทย จึงจะสามารถนาเอกสารมาใช้ในประเทศไทยได้อย่างถูกต้อง ในที่นี้จะ นาเสนอตัวอย่างการแปลเอกสารทางราชการเขมรเป็นภาษาไทย และ เอกสารราชการไทยเป็นภาษาเขมรตามลาดับ ตวั อยา่ งการแปลหนงั สือทางราชการภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย 1) ราชกิจจานุเบกษา (ក្ពេះោជក្រម) ภาพที่ 27 ตัวอย่างแบบประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ทมี่ า : ោជរិចច (២០០៨ : ៣៧៦៣)

-151- ตน้ ฉบับ ឆន ទំ ្យី ៨ តល្ម ៣៩ សបារ ហ៍ ទ្យី ៤ នងទៃ ្យី ២៧ ឧសភា ្ន ំ ២០០៨ ោជរិចច ទ្យំព័រ ៣៧៦៣ នស/ររម/ ០៥០៨/០១៦ ្ពោះរាជ្កេ តយងើ ្ ្ពោះក ណុ ា្ពោះាទសញេតច្ពោះរ េនាថ នញរាតតេ សហី េុនី សមនភូេិជាតិសាសនា កតខ ខតតិយា ញខេរា ែរឋ ាស្តសត ពុទធិស្តនាា ធរាេហាកស្ត ញខេរាជនា សេូញហាភាស កេពុជឯករាជ ែឋរូ ណសនតិ សភុ េងគលា សិ វី ិរុលា ញខេរា្សីពិរាស្តសត ្ពោះញៅ្កុងកេពុជាធិរតី - បានក្ទ្យង្់យល្់ រដ្យធឋ ្មែនញ្នញ នក្ពេះោជាណាចក្ររមពជុ ា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រឹតយតល្ម នស/ររត/០៧០៤/២៣៥ ចេះនងៃទ្យី ១៥ ខ្មររកោ ឆន ំ ២០០៤ សីពរ ីោរខ្តង្តាំង្ោជរោឋ ភិបាល្ននក្ពេះោជាណាចក្ររមពុជា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រមតល្ម ០២/នស/៩៤ ចេះនងទៃ ្យី ២០ ខ្មររកោ ឆន ំ ១៩៩៤ ខ្ដ្យល្ក្រោសឱ្យតក្រើចារ់សីពរ ីោរតរៀរចំនងិ ្ោរក្រក្ពឹតតរ ៅននគណៈរដ្យឋមស្តនីរ - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រមតល្ម នស/ររម/០១៩៦/១៨ ចេះនងទៃ ្យី ២៤ខ្មមរោ ឆន ំ្ា១៩៩៦ ខ្ដ្យល្ក្រោសឱ្យតក្រចើ ារ់សីពរ ីោររតង្ើងក ្ក្រសងួ ្តសដ្យរឋ ិចច នងិ ្ហិរញ្វញ តុថ - បានក្ទ្យង្់យល្់ តសចររីក្ោររង្ំទគ ្យួល្ថាវ យ ររស់សតមរចអគគមានតស រតីតតតជា ហ៊េន ខ្សន យររដ្យឋមស្តនីរ ននក្ពេះោជាណាចក្ររមពុជា នងិ ្រដ្យឋមស្តនីករ ្រសងួ ្តសដ្យរឋ ិចចនិង្ហិរញ្វញ តុថ ្រកាសឱ្យញ្រើ ចារ់ សពីរ ីក្រព័នហធ ិរញ្វញ តុថសាធារណៈ បានអនម័តោល្ពីនងទៃ ្យី ០៤ ខ្មតមសា ឆន ំ ២០០៨ សម័យក្រជំរដ្យឋសភា តល្ើរទ្យី ៧ នតី ិោល្ទ្យី ៣ និង្ខ្ដ្យល្ក្ពឹទ្យធសភាបានយល្់ក្សរ តាមទ្យក្មង្់ នងិ ្គតិននចារ់តនេះទាំង្ក្សុង្ តោយាែ នោរខ្រខ្ក្រអីវត ើយ ោល្ពីនងទៃ ្យី ២៩ ខ្ម តមសា ឆន ំ ២០០៨ សម័យក្រជំតពល្អង្កគ្ពឹទ្យធសភា តល្ើរទ្យី ៤ នតី ិោល្ទ្យី ២ តហើយ ខ្ដ្យល្ មានតសចររីទាំង្ក្សុង្ ដ្យចូ តតៅតនេះ ៖……………………

-152- ฉบับแปล ปีท่ี 8 เลข 39 สัปดาห์ท่ี 4 วันท่ี 27 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 2008 ราชกจิ จานเุ บกษา หน้าท่ี 3763 (ตราแผ่นดินหรือเคร่ืองหมายบนหนังสือราชการ) ที่ นส /รกม/ 0508/016 ประกาศราชกิจจานเุ บกษา ข้าพเจ้า พระกรุณาพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี สมานภมู ิชาติศาสนา รักขขัตติยา เขมรารัฐราษฎร์ พุทธินทรามหา กษตั ริย์ เขมราชนา สมูโหภาส กมั พุชเอกราชรฐั บูราณสันติ สุภมงคลา สริ วิ ิบุลา เขมราศรีพิราษฎร์ พระเจา้ กรุงกัมพูชาบดี - ทรงทราบในรัฐธรรมนูญแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชา - ทรงทราบ พระราชบัญญัติ เลขที่ นส/รกต/0704/235 ลงวันท่ี 15 เดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 2004 ว่าด้วยเรื่อง การตั้งรัฐบาลแห่งราชอาณาจักร กัมพูชา - ทรงทราบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลขที่ 02/นส/94/94 ลงวันท่ี 20 เดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1994 ซง่ึ ประกาศให้ใช้กฎหมายว่าด้วยเรื่องการ ดาเนินการและการปฏบิ ัติงานของคณะรัฐมนตรี - ทรงทราบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลขที่ นส/รกม/0196/18 ลง วันที่ 24 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1996 ซึ่งประกาศใช้บทบัญญัติว่าด้วยการต้ัง กระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง - ทรงทราบความกราบบังคมทูลถวายของสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน นายกรฐั มนตรี แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาและรัฐมนตรีกระทรวงเศรษฐกิจ และการคลัง ประกาศใช้ กฎหมายว่าด้วยระบบการคลังสาธารณะได้อนุมัติเม่ือวันที่ 4 เดือน เมษายน ปี ค.ศ. 2008 ในการประชุมรัฐสภาคร้ังที่ 7 สมัยประชุมสภานิติบัญญัติ ท่ี 3 และได้วุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบรูปแบบและหลักการของกฎหมายน้ีเป็นเอก ฉันท์ไม่มีการแก้ไขประการใด เม่ือวันที่ 29 เดือนเมษายน ปี ค.ศ. 2008 ในการ ประชุมวุฒิสภา ครั้งท่ี 4 สมัยประชุมสภานิติบัญญัติ ท่ี 3 โดยมีรายละเอียด ดงั ต่อไปนี้.....

-153- 2) พระราชบญั ญัติ (ក្ពេះោជក្រឹតយ) ภาพที่ 28 ตวั อย่างพระราชบัญญัติ ที่มา : www.moeys.gov.kh (เขา้ ถึงเมอื่ 15 กรกฎาคม 2563) ต้นฉบับ នស/ររត/១២១៤/១៤០២ ្ពោះរាជ្កឹតយ សពីរ ី កា ដកស្េួលម្ា១០ថីម ម្ា១៤ ម្ា១៥ថមី និងម្ា១៦ថមីនន្ពោះរាជ្កតឹ យ ញលខ នស/ររត/០២០៥/០៩៧ ចោុ ះនថៃទី២២ ដខកុេៈភ ឆ្ន ២ំ ០០៨ ម្ា១៣ថមី ម្ា៣០ថមី និងម្ា១១ ថមី នន្ពោះរាជ្កឹតយញលខ នស/ររត/០៣០៩/២៤៣ ចោុ ះនថទៃ ី៣១ ដខេីនា ឆ្ន ២ំ ០០៣ សពីត ីកា ទទួលសាគ ល់គ្ុណភាពអរ់ ឧំ តតេសិកា ញយងើ ្ពោះក ណុ ា្ពោះាទសញេតច្ពោះរ េនាថ នញរាតតេ សីហេុនី សមនភូេិជាតិសាសនា កតខ ខតិតយា ញខេរា ែឋរាស្តសត ពុទិសធ ្តនាា ធរាេហាកស្ត ញខេរាជនា សេូញហាភាស កេពុជឯករាជ ែឋរូ ណសនតិ សភុ េងគលា សិ វី ិរុលា ញខេរា្សពី ិរាស្តសត ្ពោះញៅ្កុងកេពុជាធិរតី

-154- - បានក្ទ្យង្់យល្់ រដ្យធឋ ្មែនញ្នញ នក្ពេះោជាណាចក្ររមពុជា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រឹតយតល្ម នស/ររត/០៩១៣/៩០៣ ចេះនងទៃ ្យី ២៤ ខ្មរញ្ញញ ឆន ំ ២០១៣ សពីរ ីោរខ្តង្តាងំ ្ោជរោឋ ភិបាល្ននក្ពេះោជាណាចក្ររមពុជា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រឹតយតល្ម នស/ររត/១២១៣/១៣៩៣ ចេះនងទៃ ្យី ២១ ខ្មធ្នូ ឆន ំ ២០១៣ សពីរ ីោរខ្រសក្មួល្ នងិ ្រំតពញរខ្នមថ សមាសភាពោជរោឋ ភិបាល្ននក្ពេះោជា ណាចក្ររមពជុ ា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រមតល្ម ០២/នស/៩៤ ចេះនងទៃ ្យី ២០ ខ្មររកោ ឆន ំ ១៩៩៤ ខ្ដ្យល្ ក្រោសឱ្យតក្រើចារ់សីពរ ីោរតរៀរចំនិង្ោរក្រក្ពឹតតរ ៅននគណៈរដ្យមឋ ស្តនីរ - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រមតល្ម ០៦/ នស/៩៤ ចេះនងៃទ្យី ៣០ ខ្មតលា ឆន ំា្១៩៩៤ ខ្ដ្យល្ក្រោសឱ្យតក្រើចារ់សីពរ ីសហល្រខណិ រៈមស្តនោីរ ជោរសីវលិ ្ននក្ពេះោជាណាចក្រ រមពជុ ា - បានក្ទ្យង្់យល្់ ក្ពេះោជក្រមតល្មនស/ររម/០១៩៦/០១ ចេះនងទៃ ្យី ២៤ ខ្មមរោ ឆន ំា្១៩៩៦ ខ្ដ្យល្ក្រោសឱ្យតក្រើចារ់សពីរ ីោររតង្ើតក ក្រសងួ ្អរ់រំ យវជន និង្រីឡា… ฉบับแปล (ตราแผ่นดินหรือเคร่ืองหมายบนหนังสือราชการ) ที่ นส/รกต/1214/1402 พระราชบญั ญัติ ว่าดว้ ยเร่อื ง การแก้ไขมาตรา 10 ใหม่ มาตรา 14 ใหม่ และมาตรา 16 ใหม่แห่ง พระราชบัญญัติ เลขท่ี นส/รกต/0205/097 ลงวันที่ 22 เดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 2008 มาตรา 13 ใหม่ มาตรา 30 ใหม่ และมาตรา 11 ใหม่แห่ง พระราชบญั ญตั ิ เลขที่ นส/รกต/0309/243 ลงวันท3ี่ 1 เดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 2003 ว่าดว้ ยเรือ่ งการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ข้าพเจ้า พระกรุณาพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี สมานภมู ิชาติศาสนา รักขขัตติยา เขมรารัฐราษฎร์ พทุ ธินทรามหา กษัตริย์เขมราชนา สมูโหภาส กัมพุชเอกราชรัฐบูราณสนั ติ สุภมงคลา สริ ิวิบุลา เขมราศรีพิราษฎร์ พระเจ้ากรงุ กัมพูชาบดี - ทรงทราบ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรกัมพูชา

-155- - ทรงทราบ พระราชบัญญัติ เลขท่ี นส/รกต/0913/903 ลงวันที่ 24 เดอื นกันยายน ปี ค.ศ. 2013 ว่าด้วยเร่ืองการจัดต้ังรัฐบาลแหง่ ราชอาณาจักร กัมพูชา - ทรงทราบ พระราชบัญญัติ เลข นส/รกต/1213 ลงวันที่ 21 เดือน ธันวาคม ปี ค.ศ. 2013 ว่าด้วยเรื่องการแก้ไข ปรับปรุง และเพิ่มเติมส่วนประกอบ รฐั บาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา - ทรงทราบ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลขที่ 02/นส/94 ลงวันท่ี 20 เดอื นกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1994 ซ่งึ ประกาศใช้บทบัญญัติว่าด้วยเร่ืองการจัดตั้งและ การปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรี - ทรงทราบ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลขที่ 06/นส/94 ลงวันที่ 30 เดอื นตุลาคม ปี ค.ศ. 1994 ซึ่งประกาศใช้บทบัญญัติวา่ ด้วยเรื่องคุณสมบัติเฉพาะ ของข้าราชการพลเรือนแหง่ ราชอาณาจักรกัมพูชา - ทรงทราบ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลขท่ี นส/รกม/0196/01 ลงวันท่ี 24 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1996 ซึ่งประกาศใช้บทบัญญัติว่าด้วยเร่ืองการจัดต้ัง กระทรวงศึกษาธกิ าร ยุวชน และกีฬา… การแปลหนังสอื ราชการของประเทศกัมพชู ดังตัวอย่างท่ีได้ยกมา ข้างต้นน้ี จะเป็นว่าลักษณะการเขียนหนังสือราชการในส่วนของการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและพระราชบญั ญัติมลี กั ษณะเฉพาะท่ีการ ตรากฎหมายจะมีรูปแบบคล้ายคลึงกัน ส่วนพระราชกาหนดดาเนินการ โดยรัฐบาลและคณะรัฐมนตรี ไม่ได้มีการลงพระปรมาภิไธยโดย พระมหากษัตริย์ ในส่วนต้นของหนังสือจะแตกต่างจากพระราชบัญญัติ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ข้อความในส่วนอื่น ๆ มีลักษณะ เดยี วกนั ดังตวั อย่างต่อไปนี้

-156- ภาพที่ 29 ตัวอย่างการในสว่ นตน้ ของพระราชกาหนด ทมี่ า : www.moeys.gov.kh (เขา้ ถึงเม่อื 15 กรกฎาคม 2563) ตน้ ฉบบั រាជ ដ្ឋឋ ភិាល ្ពោះរាជាណាច្កកេពុជា ជាតិ សាសនា ្ពោះេហាកស្ត ញលខ ................................ អនុ្កតឹ យ សពីត ី ទិវាជាតិននកា ចងច ំ រាជា ដ្ឋឋ ភិាល - បានត ើញរដ្យឋធ្មែនញ្នញ នក្ពេះោជាណាចក្ររមពជុ ា .........................

-157- ฉบบั แปล (เคร่ืองหมายแผ่นดินหรือเคร่ืองหมายราชการ) ราชอาณาจักรกมั พูชา เลข.................. ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พระราชกาหนด ว่าดว้ ยเร่ือง วันชาติแห่งวันทรงจา รัฐบาล - ได้ทราบรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รกัมพูชา ...................................... 3) เอกสารตดิ ตอ่ งานราชการ 3.1) จดหมายราชการ จดหมายราชการกัมพูชาในแต่ละกระทรวงหรือ หน่วยงานเทียบเท่าจะออกประกาศเป็นหนังสือวิธีการติดต่อการเขียน จดหมายราชการติดต่อกันภายในหน่วยงานและนอกหน่วยงานซงึ่ ยดึ ถอื เป็นไปในในทางเดยี วกัน ยกตัวอยา่ ง กระทรวงแร่และพลังงาน ดังน้ี ภาพท่ี 30 หนงั สือแนะนาสารบรรณของหนว่ ยงาน ท่มี า : ក្រសងួ ្ខ្រ និង្ថាមពល្, ២០១៧ និង្ក្រសងួ ្មហាន្ា, ២០១៩ (เขา้ ถงึ เม่อื 15 กรกฎาคม 2563)

-158- ในหนงั สอื มีการแนะนาในเรอื่ งงานสารบรรณ นับตั้งแตก่ ารเขียน หนงั สอื ราชการเพ่ือตดิ ต่องานทั้งภายในและภายนอก แบบฟอรม์ ต่าง ๆ ที่จะตอ้ งใชภ้ ายในหนว่ ยงาน ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้ ภาพท่ี 31 ตัวอยา่ งการอธิบายการเขยี นหนงั สือราชการ ทีม่ า : ក្រសួង្ខ្រ និង្ថាមពល្, ភំនតពញ,២០១៧ : ១០. (เข้าถงึ เมอื่ 15 กรกฎาคม 2563)

-159- ภาพที่ 32 ตัวอย่างราชการของกระทรวงแรแ่ ละพลงั งาน ท่มี า : //www.mme.gov.kh/kh (เขา้ ถงึ เม่อื 15 กรกฎาคม 2563) การแปลหนังสือราชการฉบับภาษาเขมรเป็นภาษาไทยนั้น สิ่งท่ีต้อง คานึงถือสาหรับผู้แปลก็คือ รูปแบบของหนังสือราชการ การใช้คาศัพท์เฉพาะ นอกจากนี้ยังต้องคานึงถึงระดับของบุคคลตาแหน่ง สถาบันหรือหน่วยงานท่ี หนงั สือติดตอ่ ราชการทีจ่ ะต้องแปลคาขนึ้ ต้นให้ถูกตอ้ ง ผู้แปลจะต้องศึกษาท้ังคา ขึ้นต้นและเปรียบระดับตาแหน่งท้ังของทั้งสองประเทศให้ คาขึ้นต้นและระดับ ตาแหนง่ บุคคลท่ใี ช้ในหนังสอื ราชการระหว่างไทยกับกัมพูชาสามารถเทียบเคียง กันได้ แต่บางคามีความหมายเดียวกนั แต่การใช้ในหนงั สือราชการไม่ไดใ้ ช้ เช่น คาขึ้นของหนังสือราชการกัมพูชาว่า “តារពជូន” หากแปลว่า “เคารพ” ตาม ศัพท์จะไม่สามารถใช้ได้ในหนังสือราชการไทย จะต้องแปลว่า “กราบเรียน” หรือ “เรียน” ซึ่งก็แล้วแต่ฐานะตาแหน่งของผู้ส่งและผู้รับหนังสือราชการนน้ั ๆ

-160- ในทนี่ จ้ี ึงยกตวั อย่างการแปลหนังสอื ราชการภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทยพอสังเขป เพอ่ื เป็นแนวทางในการนาไปปฏิบตั สิ ืบไป ตน้ ฉบบั ภาพที่ 33 ตัวอยา่ งราชการของกระทรวงแร่และพลงั งาน ท่ีมา : //www.mme.gov.kh (เขา้ ถึงเม่ือ 28 กรกฎาคม 2563) ฉบับแปล ตราหน่วยงาน ราชอาณาจกั รกัมพูชา เลข : 017 รถ. นก.ลส ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ราชธานพี นมเปญ วนั ที่ 4 เดอื นเมษายน 2017 เรยี น ผู้วา่ ราชการราชธานี-จงั หวัดทุกทา่ น เรอ่ื ง ขอความร่วมมือในการลงตรวจตรา สกัดก้นั และประเมินผลลกั ษณะ แนวปฏิบตั ิสรา้ งความปลอดภยั ในการบริหารงานของบรรดาสถานี บรกิ ารน้ามัน และกา๊ ซธรรมชาติท่วั ประเทศ

-161- อ้างถงึ หนงั สอื แจ้งเวียน 465 รถ.อปรบ.สรจ ลงวันท่ี 25 เดือนพฤศจกิ ายน ปี ค.ศ. 2014 ของกระทรวงแร่และแรงงงาน หนังสือแจง้ เวียน 329 รถ.อปรบ.สรจ ลงวนั ท่ี 17 เดือนพฤศจกิ ายน ปี ค.ศ. 2014 ของกระทรวงแรแ่ ละแรงงงาน ประกาศเลขที่ 092 รถ.อปรบ.สรจ ลงวนั ที่ 16 เดอื นพฤศจกิ ายน ปี ค.ศ. 2014 ของกระทรวงแร่และแรงงงาน ประกาศเลขท่ี 105 รถ.อปรบ.สรจ ลงวนั ท่ี 28 เดอื นมีนาคม ปี ค.ศ. 2016 ของกระทรวงแร่และแรงงงาน ประกาศเลขที่ 106 รถ.อปรบ.สรจ ลงวันท่ี 28 เดอื นมีนาคม ปี ค.ศ. 2016 ของกระทรวงแรแ่ ละแรงงงาน อนุสนธิเอกสารท่ีอา้ งถงึ ข้างบนนี้ ขา้ พเจา้ ขอเรียนท่านผู้วา่ ราชการราช ธานีและจังหวดั วา่ กระทรวงแรแ่ ละพลังงานไดอ้ อกหนังสอื แจ้งเวียนมาโดยตลอด เรื่องความปลอดภัยในการจดั ตัง้ สถานีบรกิ ารน้ามัน กา๊ ซธรรมชาติ และสถานรี วม น้ามันและก๊าซธรรมชาติ และได้ประกาศเรื่องระเบียบวิธีการจัดแนวปฏบิ ัตสิ รา้ ง ความปลอดภัยสถานีท้ังหลาย ในวัตถุประสงค์กาหนดมาตรฐานเทคนิคความ ปลอดภัยสาหรับการจัดตั้งสถานีให้มีความปลอดภัย ให้ดาเนินการเป็นระเบียบ เรียบร้อย และส่ิงแวดล้อมดี เพื่อลด สกัดกั้น และป้องกันอุบัติเหตุการระเบิด และการไวต่อการลุกไหม้ต่าง ๆ ที่เกิดมีขึ้นเพราะเหตุเกิดจากน้ามันและก๊าซ ธรรมชาติ ทาใหส้ ญู เสยี ต่อทรัพยส์ มบัติ เดอื ดรอ้ น และเสียชีวติ เรื่อยมา.... ข้อสังเกตการแปลในตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า การวางรูปแบบของ หนังสอื จะตอ้ งยึดตามรปู แบบของหนังสือต้นฉบบั และการแปลคาข้นึ ตน้ จะต้อง ใชค้ าที่สื่อและใชใ้ นหนังสอื ราชการของหนังสอื ราชการของประเทศฉบบั แปล จึง ใช้คาว่า “เรียน” เพราะว่าหนังสือดังกล่าวออกโดยกระทรวงและลงนามโดย รัฐมนตรีถงึ หน่วยงานที่มีฐานะต่ากวา่ แต่สังกัดต่างกระทรวง

-162- อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ใ ช้ ค า ข้ึ น ต้ น ร ะ ห ว่ า ง ข อ ง กั ม พู ช า แ ล ะ ไ ท ย มี ท้ั ง เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังการใช้ไคาข้ึนต้นหนังสือราชการภาษาเขมรและ คาแปลเปน็ ภาษาไทยตอ่ ไปน้ี คาขึ้นต้นเขมร คาแปล ผ้รู ับหนังสอื พระมหากษัตรยิ ,์ សមូ ក្ោររង្ទំគ ្យលូ ្ថាវ យ ขอพระราชทานกราบบงั คม สมเดจ็ ทลู พระสงั ฆราช พระภกิ ษุสมณ សមូ ក្ោរថាវ យរង្ំគ ขอประทานกราบทูล ศกั ดิ์ พระภิกษุทวั่ ไป សមូ ថាវ យរង្ំគ นมัสการ ผบู้ รหิ ารระดบั สูง សមូ តារពជូន กราบเรยี น ตาแหน่งเทา่ กัน តារពជូន/សមូ ជក្មារជូន เรยี น ตาแหนง่ ตากว่า ជក្មារជូន/សមូ ជក្មារ เรียน / ถงึ មរ/ជក្មារមរ สาหรับการใช้คาลงท้ายในหนังสือราชการประเทศกัมพูชามีการใช้คา ลงทา้ ยในหนงั สือราชการแตกตา่ งกันตามลาดบั ฐานันดรศักดิ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี คาลงทา้ ยเขมร คาแปล ผู้รบั หนังสือ พระเจา้ อย่หู ัว សមូ ្ពោះក ណុ ជា ขอพระบาทพระเจ้าอยู่หัวทรง មា សជ់ វី ិតែកំ លញ់ លើ พระเมตตาโปรดทรงรบั ซงึ่ តបងូ ក្ទ្យង្ត់ មតារ តក្បាស คารวภักดีอย่างสูงสดุ และอภิ ទ្យទ្យួល្នវូ ារវភររភី ាពដ្យ៏ นันทนกิจอย่างสูงสดุ จาก ข้าพระพทุ ธเจ้าท้งั หลาย ควรมิ តសាែ េះក្តង្់ និង្អភិវននា រិចច ควร ของพระองค์ทรงพระ เมตตาโปรด

-163- คาลงทา้ ยเขมร คาแปล ผู้รบั หนังสือ ដ្យ៏មពង្ម់ ពស់ពីទ្យលូ ្ក្ពេះរង្ំគ តយើង្ម្ទំុ ាងំ ្អស់ាន ាំ្ តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ អង្កគ្ទ្យង្ក់ ្ពេះតមតារ តក្បាស ขอ...เมตตารบั ซงึ่ การกราบ สมเด็จพระสังฆราช សមូ ... តមតារ ទ្យទ្យលួ ្នវូ ោរ ក្ោររង្ំទគ ្យលួ ្ថាវ យ នងិ ្ บงั คมทลู ถวาย และความ តសចររតី ារពសោក រៈដ្យ៏ เคารพสกั การะอย่างสูงสดุ จาก មពង្់មពស់ពីទ្យលូ ្ក្ពេះរង្ំគ เกา้ กระผม តយងើ ្ម្ំុ សមូ សតមរច...តមតារ ទ្យទ្យលួ ្ ขอความเมตตาสมเดจ็ ...รับการ ฐานนั ดรระดบั នូវ ា វ រ ភ ររីភា ព / ត ស ច ររី คารวะภกั ด/ี ความเคารพอย่าง สมเด็จและ តារពដ្យម៏ ពង្់មពស់ពីម្ំុបាទ្យ។ ย่ิงจากกระผม นายกรัฐมนตรี សមូ ឯរឧតមរ ឧរ យរ ขอความเมตตาท่านรอง อุปนายกรฐั มนตรี រដ្យមឋ ស្តនីរ តមតទរ ្យទ្យួល្នវូ ោរ นายกรัฐมนตรี รบั ความเคารพ หรอื รอง តារពដ្យម៏ ពង្ម់ ពស់ពីម្ុបំ ាទ្យ อยา่ งย่ิงจากกระผม นายกรัฐมนตรี សមូ ឯរឧតមរ តទ្យស យរ ขอความเมตตาเทศรฐั มนตรี รัฐมนตรีอาวโุ ส រដ្យមឋ ស្តនីរ តមតទរ ្យទ្យួល្នវូ ោរ (รัฐมนตรีอาวโุ ส) รับความ តារពដ្យម៏ ពង្ម់ ពស់ពីម្ុំ เคารพอยา่ งยิง่ จากกระผม សមូ ឯរឧតមរ ទ្យទ្យលួ ្ោរ ขอให้ ท่าน...รบั ความรับอย่าง หวั หนา้ หน่วยงาน នវូ តារពដ្យ៏មពង្ម់ ពស់ពីម្ុំ สงู สดุ จากกระผม หรือ ขอ ระดบั อธบิ ดี แสดงความเคารพอย่างสงู សមូ ឯរឧតមរ ទ្យទ្យួល្ោរ หวั หนา้ หน่วยงานท่ี នវូ ោរតារពពីម្ំុ ขอให้ ท่าน...รบั ความเคารพ มีตาแหน่งเทา่ กัน จากกระผม หรือ ขอแสดง ความเคารพ

-164- คาลงทา้ ยเขมร คาแปล ผู้รบั หนงั สือ សមូ ឯរឧតមរ ទ្យទ្យលួ ្ោរ ขอใหท้ ่าน... รบั การนับถอื จาก ตาแหนง่ ตากว่า នវូ ោរោរ់អានពីម្ំុ กระผม หรอื ขอแสดงความนับ ถอื ภาพที่ 34 ตวั อยา่ งแบบฟอรห์ นงั สือราชการไทย ทีม่ า : ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มท่ี 122 ตอนพิเศษ 99 ง. (2548 ) การแปลหนังสือราชการไทยเปน็ ภาษาต่างประเทศนั้น ผู้แปล ควรแปลตามรูปแบบของหนังสือราชการต้นฉบับภาษาไทย ส่ิงท่ี จะต้องคานึงอีกประการหนึ่งก็คือคือการแปลคาข้ึนต้นและคาลงท้าย ของหนังสือให้ถูกต้องและสอดคล้องกับ ย ศฐาบันดาศักด์ิในหนังสือ ราชการ โดยเทียบเคียงกับยศฐานบันดาศักดิ์ในหนังสือราชการของ

-165- กัมพูชา หนังสือราชการไทยมีรายละเอียดคาข้ึนต้นและคาลงท้ายท่ีผู้ แปลสามารถแปลเทียบภาษาได้ จึงนามาแสดงไว้ในที่น้ีเพ่ือจะเป็น แนวทางในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรสืบตอ่ ไป ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การแปลคาขึน้ ต้นในหนังสือราชการไทยเปน็ ภาษาเขมร 1.1 ราชวงศ์ คาขน้ึ ต้นเขมร คาแปล ผรู้ บั หนังสือ ขอเดชะฝา่ ละอองธลุ ีพระบาท សមូ ក្ោររង្ទំគ ្យូល្ថាវ យ พระเจา้ อยู่หัว ปกเกล้าปกกระหมอ่ ม ្ពោះក ណុ ា ขา้ พระพทุ ธเจา้ (ออกชือ่ មា សជ់ វី ិតញលតើ បងូ พระบรมราชนิ นี าถ เจ้าของหนงั สือ) ขอ ទ្យលូ ្ក្ពេះរង្ំតគ យើង្ម្ំុ ...... พระราชทานพระบรมราช សមូ ក្ពេះោជទានក្ពេះ - สมเดจ็ พระบรม วโรกาสกราบบังคมทลู พระ ររមវតោោសក្ោររង្ំគ ราชินี กรณุ าทราบฝ่าละอองธลุ พี ระ ទ្យលូ ្ថាវ យ - สมเด็จพระบรม บาท ราชชนนี សមូ ក្ោររង្ំទគ ្យូល្ថាវ យ ขอเดชะฝ่าละอองธุลพี ระบาท ្ពោះក ណុ ា ปกเกลา้ ปกกระหมอ่ ม មា សជ់ វី តិ ញលតើ បងូ ขา้ พระพุทธเจา้ (ออกชอ่ื ទ្យលូ ្ក្ពេះរង្ំតគ យងើ ្ម្ុំ ...... เจา้ ของหนังสือ) ขอ សមូ ក្ពេះោជទានក្ពេះ พระราชทานพระบรมราช ររមវតោោសក្ោរ วโรกาสกราบบงั คมทูลพระ กรณุ าทราบฝา่ ละอองธุลีพระ សមូ ក្ោររង្ំទគ ្យលូ ្ថាវ យ บาท ទ្យូល្ក្ពេះរង្តំគ យើង្ម្.ុំ ... ขอพระราชทานกราบบังคมทูล .....(ออกพระนาม).... ทราบฝ่า ละอองพระบาท

-166- คาขึน้ ต้นเขมร คาแปล ผ้รู ับหนงั สอื ขอพระราชทานกราบทูล... - สมเด็จพระ (ออกพระนาม)...ทราบฝา่ พระ บาท ยพุ ราช - สมเด็จพระบรม ราชกุมารี សមូ ក្ោររង្ទំគ ្យូល្ថាវ ទ្យលូ ្ - สมเด็จเจ้าฟ้า រង្ំតគ យងើ ្ម្.ំុ ... - พระบรมวงศช์ ั้น พระองคเ์ จ้า กราบทูล (ออกพระนาม) ทราบ សមូ ក្ោររង្ំទគ ្យលូ ្ថាវ យ - พระเจ้าวรวงศ์ ฝา่ ยพระบาท ទ្យលូ ្រង្តំគ យើង្ម្ំុ.... เธอ (ทมี่ ไิ ด้ทรง กรม ทูล..(ออกพระนาม)... ทราบฝ่า សមូ ក្ោរទ្យូល្ថាវ យ ទ្យូល្ - พระอนุวงศช์ ้นั พระบาท រង្ំតគ យងើ ្ម្.ំុ ... วงศ์เธอ (ทีท่ รง ทูล ... (ออกพระนาม).... សមូ ក្ោរទ្យលូ ្ថាវ យ ទ្យូល្ กรม) រង្ំតគ យងើ ្ម្.ុំ ... พระอนวุ งศ์ชัน้ พระวรวงศเ์ ธอ (ท่ี มไิ ด้ทรงกรม) พระอนวุ งศช์ ้ัน หมอ่ มเจ้า 1.2 พระภกิ ษุ คาแปล ผู้รับหนังสอื คาขนึ้ ต้นเขมร សមូ ក្ោររង្ំទគ ្យលូ ្ថាវ យ สมเดจ็ พระสังฆราช ขอประทานกราบทูล.. (ออกพระ เจา้ นาม) .... សមូ ក្ោរថាវ យរង្ំគ สมเดจ็ พระสังฆราช กราบทลู ...

คาข้นึ ตน้ เขมร คาแปล -167- นมสั การ... សមូ ថាវ យរង្ំគ ผรู้ ับหนงั สือ 1.3 บคุ คลท่ัวไป - พระราชาคณะ คาข้ึนต้นเขมร - พระราชาคณะ กราบเรียน พระภิกษุทั่วไป เรียน คาแปล ผู้รบั หนังสือ សមូ តារពជូន ผดู้ ารงตาแหน่ง ประมุของคม์ นตรี ตุลาการ หัวหน้า รัฐบาล รัฐสภา และ รัฐบรุ ุษ តារពជូន/សមូ ជក្មារជូន บคุ คลทั่วไป 2) การแปลคาลงทา้ ยในหนังสือราชการไทยเปน็ ภาษาเขมร 2.1 ราชวงศ์ คาลงทา้ ย คาแปล ผูร้ บั หนังสือ ควรมคิ วรแลว้ แต่จะทรงโปรด សមូ ្ពោះក ណុ ជា พระเจา้ อยู่หวั เกล้าโปรดกระหมอ่ ม ขอเดชะ មា សជ់ ីវិតតេកល់ พระบรมราชินนี าถ ข้าพระพุทธเจ้า ...(ลงชื่อ).... ញលតើ បងូ ក្ទ្យង្់តមតារ តក្បាសទ្យទ្យួល្នវូ ារវភររី ភាពដ្យត៏ សាែ េះក្តង្់ នងិ ្ អភិវននា រចិ ដច ្យ៏មពង្់មពស់ពី ទ្យលូ ្ក្ពេះរង្ំតគ យើង្ម្ុំ តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ អង្កគ្ទ្យង្់ក្ពេះតមតារ តក្បាស ទ្យូល្ក្ពេះរង្ំតគ យងើ ្មំ្...

-168- คาลงท้าย คาแปล ผูร้ บั หนงั สอื ควรมคิ วรแล้วแต่จะทรงโปรด เกล้าโปรดกระหมอ่ ม តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ - สมเดจ็ พระบรม ข้าพระพทุ ธเจ้า.... អង្កគ្ទ្យង្់ក្ពេះតមតារ តក្បាស ราชินี ទ្យូល្ក្ពេះរង្ំតគ យើង្មំ្... - สมเด็จพระบรม ควรมิควรแล้วแต่จะทรงโปรด ราชชนนี เกลา้ โปรดกระหม่อม តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ - สมเด็จพระ ขา้ พระพุทธเจ้า... អង្កគ្ទ្យង្ក់ ្ពេះតមតារ តក្បាស ยพุ ราช ควรมิควรแล้วแต่จะทรงโปรด ទ្យូល្ក្ពេះរង្ំតគ យងើ ្ម្ំ... - สมเดจ็ พระบรม ราชกุมารี แลว้ แตจ่ ะทรงโปรด - สมเด็จเจ้าฟา้ - พระบรมวงศช์ น้ั พระองคเ์ จา้ តសចររីគរួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ - พระเจ้าวรวงศ์ តមតារ តក្បាស เธอ (ท่ีมิไดท้ รง กรม តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ - พระอนุวงศช์ นั้ តមតារ តក្បាស วงศ์เธอ (ทท่ี รง กรม) - พระอนวุ งศ์ชน้ั พระวรวงศเ์ ธอ (ท่ี มไิ ด้ทรงกรม) พระอนวุ งศ์ชัน้ หม่อมเจ้า

-169- 1.2 พระภกิ ษุ คาแปล ผู้รบั หนงั สือ สมเด็จพระสังฆราช คาลงท้าย តសចររគី រួ មិនគរួ សមូ ក្ពេះ เจา้ ควรมิควรแลว้ แต่จะโปรดเกลา้ តមតារ តក្បាស โปรดกระหม่อม ក្ោរថាវ យរង្ំតគ ោយតសច สมเด็จพระสังฆราช ររតី ារពដ្យម៏ ពង្ម់ ពស់ กราบนมสั การมาด้วยความเคารพ ក្ោរថាវ យរង្តំគ ោយតសច - สมเด็จพระราชา อยา่ งยิ่ง ររតី ារពដ្យម៏ ពង្់មពស់ คณะ - พระราชาคณะ กราบนมสั การมาดว้ ยความเคารพ พระภิกษทุ ั่วไป อยา่ งสงู 1.3 บคุ คลทวั่ ไป คาแปล ผู้รับหนงั สอื คาขึ้นตน้ เขมร សមូ ទ្យទ្យួល្នវូ តសចររី ผดู้ ารงตาแหน่ง ขอแสดงความนับถืออยา่ งย่งิ ោរ់អានដ្យ៏មពង្ម់ ពស់ ประมขุ องคม์ นตรี ตลุ าการ หวั หน้า ขอแสดงความนบั ถอื សមូ ទ្យទ្យលួ ្នវូ តសចររី รัฐบาล รัฐสภา และ ោរ់អាន รฐั บรุ ุษ บุคคลท่วั ไป 3. การใชส้ รรพนามในหนังสอื ราชการ การใชค้ าสรรพนามในหนงั สอื ราชการไทยและกัมพูชาก็มีความแตกต่าง กันไปตามยศฐานันดรศักด์ขิ องผรู้ ับและผูส้ ่งหนังสือ ดงั ตอ่ ไปนี้

-170- 3.1 ราชวงศ์ ผู้รับหนงั สอื สรรพนามไทย สรรพนามเขมร ผูร้ ับ ผู้สง่ สมเด็จพระ ผูร้ ับ ผู้ส่ง เจา้ อยู่หวั ใต้ฝ่าละออง ข้าพระพทุ ธ ក្ពេះររណាជា ទ្យូល្ក្ពេះរ ธุลีพระบาท เจ้า មាច ស់ ជីវតិ ង្ំគ តមកល្់តល្ើតបូង្ สมเด็จ ใต้ฝ่าละออง ข้าพระพทุ ธ - - - พระบรมราชินี ธุลพี ระบาท เจา้ - นาถ - สมเด็จพระ ใต้ฝา่ ละออง ขา้ พระพุทธ - - บรมราชนิ ี พระบาท เจ้า - สมเดจ็ พระ บรมราชชนน ี - สมเดจ็ พระ ยุพราช - สมเด็จเจา้ ใตฝ้ า่ พระบาท ขา้ พระพทุ ธ - ฟา้ เจา้ - พระบรมวงศ์ ชั้นพระองค์ เจ้า - พระเจ้า ฝา่ พระบาท (ชาย) เกลา้ - วรวงศเ์ ธอ (ที่ กระหม่อม มิได้ทรงกรม (หญงิ ) เกล้า - พระอนวุ งศ์ กระหมอ่ มฉนั ช้นั วงศ์เธอ (ที่ ทรงกรม) - พระอนวุ งศ์ ฝา่ พระบาท (ชาย) - ชั้นพระวรวงศ์ กระหม่อม

ผู้รับหนังสอื สรรพนามไทย -171- เธอ (ทมี่ ไิ ด้ ผู้รับ ผู้ส่ง สรรพนามเขมร ทรงกรม) (หญงิ ) ผรู้ ับ ผูส้ ่ง - พระอนุวงศ์ กระหมอ่ มฉนั ช้นั หม่อมเจา้ 2.2 พระภิกษุ ผ้รู บั หนังสอื สรรพนามไทย สรรพนามเขมร ผรู้ ับ ผู้ส่ง สมเดจ็ ผูร้ บั ผู้ส่ง พระสังฆราช ក្ពេះអង្គ ទ្យូល្ក្ពេះរ เจา้ ใตฝ้ ่าพระบาท ข้าพระพทุ ธ สมเดจ็ เจา้ ង្ំគ พระสังฆราช ฝ่าพระบาท (ชาย) เกล้า ក្ពេះអង្គ ទ្យូល្ក្ពេះរ - พระราชา พระคุณเจ้า กระหม่อม ង្ំគ คณะ (หญงิ ) เกล้า - พระราชา กระหมอ่ มฉัน ក្ពេះតតជ ម្ំុក្ពេះ คณะ គណ ររណា พระภกิ ษุ (ชาย) กระผม ម្រំុ រណា ท่ัวไป (หญิง) ดิฉนั

-172- 2.3 บุคคลท่วั ไป ผู้รบั หนังสอื สรรพนามไทย สรรพนามเขมร ผูร้ บั ผู้สง่ ผู้รบั ผสู้ ง่ ผูด้ ารง ท่าน ขา้ พเจา้ ตาแหน่ง - តលារឯរ - ម្ំុបាទ្យ ประมขุ กระผม ดิฉนั องคมนตรี ឧតមរ - ង្ម្ុំ ตลุ าการ ทา่ น ข้าพเจา้ หวั หนา้ กระผม ดฉิ ัน - តលារជំទាវ - ម្ំុ หวั หน้า รฐั บาล - តលារ รัฐสภา และ รฐั บรุ ษุ - តលារក្សី บุคคลทั่วไป - តលារ - ម្ំបុ ាទ្យ - តលារក្សី - ង្ម្ុំ - ម្ំុ 4) เอกสารราชการอ่ืน ๆ เอกสารทางราชการท่ีสาคัญต่อคนไทยและกัมพูชาท่ีทาง ราชการออกให้เพื่อให้ผู้ถือเอกสารพิสูจน์ทราบเเละยืนยันตัวบุคคลใน การขอให้สทิ ธิ หรือประกอบธรุ กรรมตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วข้องกับท้ังในหนว่ ยงาน ภาครัฐเเละเอกชน เช่น บัตรประชาชน ทะเบียนบา้ น สูติบัตร และมรณ บตั ร เป็นตน้ การแปลเอกสารทางราชการมีความสาคัญในปัจจุบัน เพราะมี การตดิ ตอ่ สื่อสารและเดนิ ทางไปต่างประเทศมากยิ่งขึน้ ผู้ที่จะเดนิ ทางไป ต่างประเทศท้ังเป็นการเดินทางเพื่อการท่องเทย่ี ว การเดินทางไปทางาน ในต่างประเทศ การทาธุรกรรมในต่างประเทศ และการโยกย้าย เปล่ียนแปลงท่ีอยู่อาศัยไปอยู่ต่างประเทศ เป็นต้น แต่การเดินทางไป ต่า ง ป ระ เ ทศ แต่ละค ร้ังจา เ ป็น จะต้อง มีเอก สา รยืนยั น ตัวบุคคลและ

-173- เอกสารเพ่ือประกอบกิจการธุรกรรมตามที่ตนเองประสงค์ แต่ภาษาทใ่ี ช้ ในการออกเอกสารทางราชการของแต่ละประเทศ จะต้องใช้ภาษาของ ตนเองเปน็ หลัก เอกสารทางราชการท่ีออกโดยหนว่ ยงานของรัฐไทยและ กัมพูชาก็เช่นเดียวกัน คนไทยผู้ท่ีมีความประสงค์จะติดต่อประสานงาน และประกอบธุรกรรมกับหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนไทยก็ต้องแปล เป็นภาษาเขมร ในทานองเดียวกันน้ัน คนกัมพูชาท่ีต้องการเดินทางมา ประกอบธุรกรรมกบั หนว่ ยงานในประเทศไทยก็ต้องแปลเอกสารเหล่าน้ัน เป็นภาษาไทย ตวั อยา่ งการแปลบัตรประชาชนกมั พชู าเป็นภาษาไทย ต้นฉบบั ดา้ นหนา้

-174- ฉบับแปล ตัวอยา่ งการแปลบตั รประชาชนไทยเป็นภาษาเขมร ต้นฉบับ

-175- ฉบับแปล ส่ิงท่ีต้องคานึงในการแปลเอกสารทางราชการคือชอ่ื เฉพาะ โดย ได้อธิบายไว้ในการถ่ายถอดตัวอักษรไว้ในบทท่ี 2 แล้ว สามารถนามา ประยุกตใ์ ช้ในการแปลเอกสารทางราชการได้ บทสรุป องค์ความรู้ทางดา้ นวิชาการแต่ละสาขาและประสบการณใ์ นการ แปลในแวดวงการวิชาการเป็นสิ่งจาเป็นที่ผู้แปลมีในการแปลงานด้าน วชิ าการ เพราะภาษาท่ีใช้ในงานวิชาการเนน้ ภาษามาตรฐานที่ใช้กันอยา่ ง เป็นทางการ ผนวกกับคาศัพท์ทางวิชาการส่วนใหญเ่ ป็นศัพท์บัญญัตทิ มี่ ี การสร้างศัพท์มาใช้เฉพาะในแต่ละแวดวงวิชาการ บางคาสามารถใช้ใน ชีวิตประจาวนั ได้ แตเ่ มือ่ นาคาศัพท์นนั้ มาใช้ในงานวชิ าการต้องเปล่ียนมา ใช้คาศพั ทบ์ ญั ญัตหิ รอื ศัพทท์ ใ่ี ช้ในแวดวงวิชาการแทน

-177- บทท่ี 7 การแปลวรรณกรรม บทนา วรรณกรรมเป็นงานที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ึนมาเพ่ือเป็นเครื่องมือ สื่อสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจิตนาการและแสดงออกซ่ึงศิลปะอัน ประณีตงดงาม นอกจากน้ีวรรณกรรมสะท้อนวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ ของแต่ละยุคสมัยท่ีผู้เขียนได้สะท้อนออกมา วรรณกรรมถือว่าเป็นมรดกของสังคม เป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมท่ี แสดงเอกลักษณ์ของความเป็นชาติและเป็นเครื่องบ่งชีค้ วามเป็นอารยะ ชองชนในชาติ ดังคากลา่ วทว่ี ่า \"วรรณคดีเป็นอารธรรมชนิดท่ีไม่ร้จู ักสญู หาย\" ดังเช่น วรรณคดีกรีก วรรณคดีโรมัน ปัจจุบันน้ียังคงมีอยู่ แม้ว่า อาณาจักรเหล่านี้จะพินาศไปแล้วก็ตาม ดังที่ ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์ (๒๕๐๓ : ๔๖๔) กล่าวว่า “ชาติใดมีวรรณคดี โบราณวัตถุ โบราณคดี และอักษรศาสตร์เป็นของตัวเอง แสดงให้รู้ว่าชาติน้ันเป็นชาติอารยะ ไม่ใช่ชาติใหม่” แสดงให้เห็นว่า วรรณกรรมเป็นส่ิงท่ีสาคัญท่ีสะท้อนให้ เห็นอัตลักษณ์การแสดงออกของคนในกลมุ่ ใดกลุ่มหน่ึงท้ังทางด้านสงั คม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ปรัชญา อารมณ์ ความรู้สึก และความสุนทรีย์ การ แปลวรรณกรรมจึงเป็นสิ่งที่จะต้องตระหนักถึงบริบทต้นฉบับเดิมที่จะ แปลเป็นอีกภาษาหนง่ึ ผ้แู ปลจะต้องเรียนรู้และเข้าใจเกีย่ วกบั บริบทของ ต้นฉบับอย่างถ่องแท้จึงจะสามารถถ่ายทอดความหมายให้ตรงตาม ตน้ ฉบบั ได้อย่างครบถ้วน ลกั ษณะวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมเขมร คาวา่ “วรรณกรรม” (literature) หมายถงึ หนงั สือที่แตง่ ขึน้ ดว้ ย ความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะใช้วิธีร้อยแก้วหรือร้อยกรอง ไม่ว่าจะเป็น ผลงานของกวีโบราณหรือปัจจุบัน ซึ่งคงจะรวมถึงส่ิงที่เรียกว่า “วรรณคดี” หรือเป็นงานเขียนท่ีแต่งข้ึนหรืองานศิลปะ ที่เป็นผลงานอัน

-178- เกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง นามาบอกเล่า บันทึก ขับรอ้ ง หรือสือ่ ออกมาด้วยกลวธิ ตี ่าง ๆ โดยท่ัวไปแลว้ ผู้แปลจะต้องเรียนรู้เก่ียวกับวรรณกรรมต้นทางและวรรณกรรม ปลายทาง ลักษณะวรรณกรรมของแต่ละภาษาอาจมีลกั ษณะท่ีเหมือนกนั และแตกต่างกันออกไป รายละเอียดวรรณกรรมและวรรณกรรมเขมรมี ดังต่อไปนี้ 1. คาศัพท์เกี่ยวกบั วรรณกรรม คาศัพท์เรียกช่ืองานเขียนหรืองานประพันธอ์ อกเป็น 2 อย่างคอื วรรณคดีและวรรณกรรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ นยิ ามคาศัพท์ ดังน้ี คาวา่ “วรรณคดี” หมายความว่า “น. วรรณกรรมท่ีไดร้ ับยกยอ่ ง ว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผน” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546 : 1055) คาว่า “วรรณกรรม” หมายความว่า “น. งานหนังสือ, งาน ประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดท้ังท่ีเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรม ฝร่ังเศส วรรณกรรมประเภทสอ่ื สารมวลชน” (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546 : 1054) นิยามคาศัพท์ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ไว้ ขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ คาวา่ “วรรณกรรม” จะมีความหมายท่ีกว้างมากกวา่ คาวา่ “วรรณคดี” เพราะวรรณคดจี ะเน้นเฉพาะบทประพันธ์ท่มี ีคุณค่าที่ เป็นท่ียอมรับว่าแต่งดี พร้อมนี้ยังได้ยกตัวอย่างไว้ ทาให้เข้าใจได้ว่า วรรณคดีเปน็ หนงั สอื เฉพาะ ไม่เหมือนกบั คาว่า “วรรณกรรม” ทห่ี มายถงึ งานเขียนทุกชนิดและเปน็ งานเขียนท่ีเกิดข้ึนในยุคสมัยรัตนโกสินทรห์ รือ ปัจจุบัน ในภาษาเขมรมีคาท่ีเกีย่ วข้อง 2 คา ได้แก่ អក្សរសាស្ត្រ [อกฺสร สาสฺตฺร] (อักษรศาสตร์) และ អក្សរ្ិល្ប៍ [อกฺสรสิลฺป์] (วรรณกรรม) โดย

-179- สภาภาษาเขมรแห่งชาติ ( )ក្ក្ុមទីក្រឹក្ាជាតិភាសាខ្មែរ ได้นิยามความหมาย ดังต่อไปน้ี ภาษาเขมร អក្សរសាស្ត្រ (letters) វទិ ាសាស្ត្រ្ង្គមមួយក្រភេទខ្ែល្្ិក្ាអំ ពី (ភាសាអក្សរ្ិល្ប៍ ។ ក្ក្ុមទីក្រឹក្ាជាតិភាសាខ្មែរ, 2013 : 112) คาแปล อักษรศาสตร์ (letters) หมายถงึ สงั คมศาสตรป์ ระเภทหน่ึงท่ี ศึกษาเกย่ี วกับภาษาและวรรณกรรม ภาษาเขมร អក្សរ្ិល្ប៍ (literature) ខ្នែក្មួយនៃអក្សរសាស្ត្ខរ ្ែល្អែក្ៃិពៃធភល្ើក្ពី (រញ្ហា មៃុ្ស រញ្ហា ្ង្គមមក្ភោទ ៃិង្ភោោះក្សាយភោយ្ិល្ប៍វធិ ី។ ក្ក្ុមទីក្រឹក្ា ជាតិភាសាខ្មែរ, 2013 : 112) คาแปล วรรณกรรม (literature) หมายถึง ส่วนหน่ึงของอักษรศาสตรท์ ี่ นกั ประพนั ธย์ กปญั หาของมนษุ ย์ ปัญหาของสงั คมมาตัง้ และคลค่ี ลายดว้ ย ศลิ ปวิธี การนิยามคาศัพท์ทั้ง 2 คาของสภาภาษาเขมรแห่งชาตินี้ คา ว่า អក្សរសាស្ត្រ (letters) มีความหมายตรงกับคาในภาษาไทย ว่า อักษร ศาสตร์ ส่วนคาว่า អក្សរ្ិល្ប៍ (literature) ในภาษาเขมรใช้ในความหมาย ตรงกับคาในภาษาไทยว่าวรรณคดีและวรรณกรรม และในภาษาเขมรใช้ คาว่า អក្សរ្ិល្ប៍ (literature) เพียงคาเดียวในการเรียกชื่อวรรณกรรมทุก ประเภท ตัวอย่างคาศัพท์บัญญัติทางด้านวรรณคดีหรือวรรณกรรมใน ภาษาเขมรโดยสภาภาษาเขมรแหง่ ชาติ เช่น

ศพั ท์บญั ญตั เิ ขมร -180- អក្សរ្ិល្ប៍ คาแปล អក្សរ្លិ ្ប៍ក្រជាក្រិយ วรรณคดหี รือวรรณกรรม ចល្នាអក្សរ្លិ ្ប៍ ចក្ខុរបូ ារមណ៍ วรรณคดหี รอื วรรณกรรมท้องถ่ิน ភចតនារបូ ារមណ៍ ជីវ្ាហរបូ ារមណ៍ ขบวนการทางวรรณกรรม ជីវរបូ ារមណ៍ តថរ្ ภาพพจน์ តអួ ង្គ อารมณ์สะเทอื นใจ តអួ ង្ឯគ ក្ តួអង្រគ ង្ ภาพพจนเ์ กย่ี วกบั รสชาติ តួអង្រគ នាា រ់រៃសំ តួអង្តគ ួយង៉ា ្ ภาพพจนท์ เ่ี ก่ียวกับชีวิต តួអង្រគ ឭំ ក្ รสทางวรรณกรรมทเ่ี กดิ จากการ นาเสนอเหตุการณ์จรงิ ใน ទ្សៃយី រ្ วรรณกรรม ភសាេណភាព ตวั ละคร ទារណុ ក្ថា ទារណុ រ្ ตัวละครเอก ទារណុ ហា្ក្ថា ตัวละครรอง ตวั ละครประกอบ ตวั ละครทเี่ ปน็ ตวั แทนมนษุ ยห์ รอื ชนชั้นวรรณะในสังคม ตวั ละครทีผ่ ู้ประพนั ธ์เพยี ง พรรณนาถงึ แตไ่ ม่มีอยูใ่ นเรอื่ ง หรอื ไม่มบี ทบาทในเรอื่ ง ความงดงาม สุนทรยี ภาพ ละครเกย่ี วกบั โศกนาฎกรรม รสแห่งความเศรา้ โศก หรือรสสลั ปงั คพสิ ัย ละครเก่ียวกบั โศกนาฎกรรมผสม กับความขบขนั

ศัพท์บญั ญตั ิเขมร -181- ទំនា្់ คาแปล ៃវក្មែ ปมขดั แยง้ នាែក្រ្ នាែក្អក្សរ្លិ ្ប៍ วรรณกรรมทีแ่ ต่งข้นึ มาใหม่โดยมี នាែយក្ថា เค้าเรอ่ื งจากเรอ่ื งเดมิ (นวตั กรรม) รสในวรรณคดีทีแ่ สดงฉากและชดุ នាែយរ្ การแสดงที่งดงาม วรรณคดกี ารละคร วรรณคดีการละครประเภทหนง่ึ ที่ นาเรือ่ งจรงิ หรือแตง่ ขนึ้ มเี ร่อื งราว ที่ผสมผสานกนั ระหวา่ งอารมณ์ ตา่ ง ๆ เชน่ ความเพลดิ เพลนิ ใจ ความเศรา้ โศก และความศูนย์เสีย เปน็ ตน้ รสแหง่ วรรณคดที ผ่ี ู้แตง่ สร้างปม ความขัดแยง้ และนาเสนอทกุ แง่มมุ ในเร่ืองทแี่ ต่งขึน้ เชน่ เร่อื ง ดอกโศก (ផ្ាកក្្ភោៃ) นอกจากนี้ยังมีศัพท์บัญญัติอีกจานวนหนึ่งที่บัญญัติให้ใช้อย่าง เป็นทางการของสภาภาษาเขมรแห่งชาติของประเทศกัมพูชา คาศัพท์ บัญญัติดังกล่าวได้เผยแพร่ในหนังสือศัพทานุกรมภาษาศาสตร์และ วรรณกรรม 2. ประเภทของวรรณกรรมไทยและเขมร ประเภทของวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมเขมร ดงั นี้ 2.1 การแบ่งประเภทตามลักษณะของคาประพันธ์ทั้ง วรรณกรรมของไทยและเขมมี 2 ประเภท คือ

-182- 2.1.1 วรรณกรรมร้อยกรอง หมายถงึ ถ้อยคาท่ีเรียบเรียง ให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ได้แก่ กาพย์ โคลง กลอน รา่ ย และฉันท์ ในภาษาเขมรเรียกวา่ ក្ក្មង្ក្ំណាពយ หรอื ក្ំណាពយ 2.1.2 ร้อยแก้ว หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยไพเราะ เหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย เช่น ปฐมสมโพธิกถา งานเขียนท่ี ไม่ใช่รอ้ ยกรอง ในภาษาเขมรเรยี กวา่ ក្ក្មង្ខ្ក្វ หรือ ោក្យរាយ 2.2 การแบ่งประเภทตามความมุ่งหมาย วรรณกรรมไทย แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 สารคดี (non-fiction) หมายถึง หนังสือที่แต่งข้ึน เพื่อม่งุ ความรู้ ความคิด ประสบการณ์แก่ผู้อา่ นซ่ึงอาจใช้รูปแบบรอ้ ยแก้ว หรือร้อยกรองกไ็ ด้ คาว่า “สารคดี” ในภาษาไทยนี้ตรงกับคาในภาษา “ ”เขมรว่า “ ”្ៃា្សៃ៍អក្សរ្ិល្ប៍ หรือเรียกว่า អក្សរ្ិល្ប៍អធិរាយ ซ่ึง หมายถึง งานเขียนทผี่ ูป้ ระพันธต์ อ้ งการบรรยายรูปภาพ วัตถุ เหตุการณ์ เรือ่ งใดเรอื่ งหน่ึงใหผ้ ู้อา่ นไดเ้ ห็นและเขา้ ใจตามการดาเนนิ ของเรือ่ ง (ក្ក្ុម ទីក្រឹក្ាជាតិភាសាខ្មែរ, 2013 : 108) นอกจากน้ยี ังไดจ้ ัดวรรณกรรมทจี่ ัดอยู่ ในประเภทนดี้ ว้ ย ไดแ้ ก่ 1) ពណ៌នាក្ថា (พรรณนากถา) หมายถงึ งานเขยี นที่ อธิบายหรอื พรรณนาเรื่องราวเกย่ี วกับคน สัตว์ และสง่ิ ของ เปน็ ตน้ 2) វណណ នាក្ថា (วรรณนากถา) หมายถึง งานเขียน เกี่ยวกับเทศกาล ประเพณี และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ เชน่ พายุ ลม ฝน และไฟ เป็นต้น 3) រែិពិមពក្ថា (ปฏิพิมพกถา) หมายถึง งานเขียน เก่ียวกับการพรรณนารูปลักษณะของบุคคล เช่น พระบาทชัยวรมันท่ี 7 และกลาโหมคง เปน็ ต้น 4) សារក្ថា (สารกถา) หมายถึง งานเขียนเก่ียวกับ จดหมายเล่าเร่อื งราวติดต่อกับครอบครัวหรือเพ่ือนฝูง และเลา่ ความรูส้ กึ นึกคดิ ของบุคคล

-183- 2.2.2 บันเทิงคดี (fiction) หมายถึง วรรณกรรมท่ีแต่ง ข้ึนเพ่ือมุ่งให้ความเพลิดเพลิน ความสนุกสนาน และความบันเทิงแก่ ผ้อู ่าน จงึ มักเปน็ เร่อื งทีม่ เี หตกุ ารณแ์ ละตวั ละคร คาว่า “บันเทิงคดี” นี้ในภาษาเขมรการคาที่มี ความหมายเหมือนบันเทิงคดีของไทยก็คือ คาวา่ ក្រភោមភោក្អក្សរ្ិល្ប៍ (บันเทิงคดี) หรือเรียกตามความหมายตามภาษาอังกฤษวา่ fiction ก็คอื ភរឿង្ក្រឌិត (เร่ืองแต่งขึ้น) โดยแบ่งกรรมประเภททแี่ ต่งขึ้นเป็น 2 ประการ คือ ភរឿង្មីល (เรอ่ื งสั้น) และ ក្រភោមភោក្ (นวนยิ าย) ปจั จุบันในภาษาเขมร จะใช้คาว่า ក្រភោមភោក្ ทั้งที่เป็นเรื่องส้ันและนวนิยาย โดยใช้ขนาด ความยาวและส้ันของเน้ือหาโดยใช้คาว่า ក្រភោមភោក្ខ្ែនតមលី หมายถึง เรือ่ งสัน้ ผู้แปลภาษาเกี่ยวข้องกับวรรณกรรมต้องพิจารณาในการเรยี กชอ่ื ประเภทของวรรณกรรมเป็นส่งิ สาคญั หลกั การแปลวรรณกรรม การแปลวรรณกรรมเปน็ สิง่ ที่ชว่ ยใหร้ ับรู้เรอื่ งราว สภาพแวดลอ้ ม ความคิด ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมท่ีปรากฎหรือสะท้อน อยู่ในวรรณกรรมต้นฉบับ ผู้แปลจะต้องมีความพิถีพิถันในการใช้ภาษา สานวน และความหมายของคาให้ตรงตามวรรณกรรมต้นฉบับให้ได้มาก ที่สุด โดยมีขั้นตอนดังต่อไปน้ี 1. การอ่านและวิเคราะหต์ น้ ฉบบั การอ่านและวิเคราะห์ต้นฉบับเป็นขั้นตอนแรกสุดของการ แปลวรรณกรรม ผู้แปลจะต้องอ่านให้เข้าใจต้นฉบับอย่างดีแล้วจึงเริ่ม วเิ คราะห์แยกแยะรายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในเนื้อหาของตน้ ฉบับ ไดแ้ ก่ 1.1 ประเภทของวรรณกรรม 1.2 การใชภ้ าษาในเน้อื หา 1.3 การเนน้ หนกั ของเน้ือหา 1.4 โลกทศั น์ของผู้เขยี น 1.5 การสอ่ื สารตวั บทของวรรณกรรมกบั ผอู้ า่ น

-184- 2. กลวิธีการแปลวรรณกรรม วัลยา วิวัฒน์ศร (2557 : 110-145) ได้กล่าวถึงความสาคัญ ของต้นฉบับทีจ่ ะนามาแปลไว้ว่า การแปลวรรณกรรมต้องให้ความสาคัญ ของต้นฉบับเดิม เพราะต้นฉบับเดิมมีความเป็นสะท้อนวัฒนธรรมของ ตนเองไว้ ผู้แปลจะต้องคานึงถึงผู้อ่านของตนเองและต้องค้นหาวิธีการ แก้ปัญหาการแปลให้สอดคล้องกับบริบทวัฒนธรรมของผู้อ่านของตน โดยไดน้ าเสนอวิธกี ารแปลวรรณกรรมไว้ ดงั น้ี 1) การแปลโดยรกั ษาบริบทวฒั นธรรมเดมิ และคานงึ ถงึ ผู้อา่ น 2) การแปลรักษาลลี าของนักประพนั ธ์ การให้ความสาคัญของต้นฉบับเดิมดังที่กล่าวข้างต้นนี้ ถือว่า เป็นเรื่องสาคัญมาก การแปลวรรณกรรมเขมรเป็นภาษาไทยและแปล วรรณกรรมไทยเปน็ ภาษาเขมร จะตอ้ งคานงึ ถงึ ประเดน็ ทไ่ี ด้ยกขนึ้ มาแลว้ น้ี การแปลวรรณกรรมเขมรเป็นภาษาไทยและแปลวรรณกรรมไทยเปน็ ภาษาเขมรจึงจะทาใหผ้ อู้ ่านเข้าใจ ดังนนั้ หลงั จากมีการวิเคราะห์ตน้ ฉบับ แลว้ ผแู้ ปลเร่ิมต้นแปลวรรณกรรมมีขน้ั ตอนตามลาดับต่อไปนี้ 2.1 การแปลช่ือเร่ือง การแปลชื่อเร่ืองมีความสาคัญมาก เพราะช่ือเรื่องเป็นส่ิงที่บอกว่าเนื้อเรื่องเป็นอย่างไรและมีความน่าสนใจ อย่างไร แบง่ ออกเป็น 4 แบบ ไดแ้ ก่ 1) แปลแบบทับศัพท์ช่อื เดิม โดยใช้วิธีการถ่ายถอดเสยี ง หรืออกั ษรกไ็ ด้ สาหรับภาษาเขมรกับภาษาไทย บางคาชื่อเรือ่ งก็สามารถ ถา่ ยถอดเสยี งหรืออักษรไดเ้ ลย โดยเฉพาะชอ่ื คน สตั ว์ และสถานที่ 2) แปลแบบตรงตวั ถา้ ชือ่ เรือ่ งของวรรณกรรมต้นฉบับมี ความสมบูรณ์ครบถว้ น เรากส็ ามารถแปลตรงตัวได้ 3) แปลแบบดัดแปลงบางส่วนและดดั แปลงบางส่วน วิธี น้ีใช้วธิ ีการแปลเพอื่ นาเนอ้ื หาเร่ืองมาประกอบให้น่าสนใจมากยง่ิ ข้ึน 4) แปลแบบการตั้งชื่อใหม่ วิธีการแปลน้ีจะพบเห็นมาก ในวรรณกรรมท่ีมีการตั้งช่ือเรื่องท่ีไม่สามารถแปลความไดห้ รือแปลแลว้ ความหมายเปลี่ยนแปลงไป ต้องตีความจากชือ่ เรื่องและเนอื้ เรื่อง โดยผู้

-185- แปลนั้นจะต้องใช้ความเข้าใจวิเคราะห์จับประเดน็ และลักษณะเด่นของ เร่อื งก่อน จึงสามารถต้งั ชอ่ื ใหม่ที่ดีได้ 2.2 การแปลบทสนทนา การแปลบทสนทนาน้ัน บทสนทนาเป็นถ้อยคาโตต้ อบกนั ของตัวละคร ซึ่งจะใช้ภาษาพูดหลายระดับแตกต่างกันตามสถานภาพ ทางสังคมของผู้พูดในบางครั้งภาษาพูดเต็มไปด้วยคาแสลง คาสบถ ดังนั้น จะต้องแปลใหเ้ ป็นธรรมชาติสอดคลอ้ งกับฐานะของผู้พดู โดยรกั ษา ความหมายโดยนัยไว้ใหค้ รบครบถ้วนอยา่ แปลคาตอบคาวา่ จะทาให้ฟังดู แขง็ ๆไมเ่ ปน็ ธรรมชาติ 2.3 การแปลบทบรรยาย การแปลบทบรรยายน้นั ผู้แปลมักจะมีปัญหาดา้ นการใช้ ภาษาทั้งระดบั ภาษาที่ใช้ในสงั คมและภาษาทใี่ ช้เฉพาะในวรรณกรรมหรอื วรรณคดี แบ่งออกได้ 2 ประการ ดังน้ี 3.1 ภาษาทีใ่ ชใ้ นสังคม ภาษานั้นจะเป็นสงิ่ ท่เี ปลยี่ นแปลง อยู่เสมอ ซึ่งเปลี่ยนตามสภาพแวดล้อมของผู้ฟัง กาลเทศะ และอารมณ์ เมอื่ แปลบางครัง้ ผแู้ ปลจาเปน็ ค้นควา้ ท่มี าของคาน้นั นัน้ ใหถ้ อ่ งแท้ 3.2 ภาษาวรรณกรรรมหรือวรรณคดี เป็นภาษาท่ีใช้ เขยี นในงานวรรณกรรมตา่ ง ๆ มีความไพเราะสละสลวย ไมน่ ิยมใช้พูดจา กันในชีวิตประจาวัน โดยผู้แปลจะคานึงถึงลีลาการเขียนซ่ึงเป็น ลกั ษณะเฉพาะของผู้เขียน การแปลวรรณกรรมเขมรและไทย การแปลวรรณกรรมเขมรเปน็ ภาษาไทยและการแปลวรรณกรรม ไทยเปน็ วรรณกรรมเขมร แบ่งออกตามคาประพนั ธ์ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การแปลวรรณกรรมร้อยแกว้ วรรณกรรมร้อยแกว้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารคดแี ละ บันเทิงคดี การแปลวรรณกรรมประเภทสารคดีและบันเทิงคดี นอกจาก

-186- จะใช้หลักวิธีการแปลท่ีไดก้ ลา่ วไว้ในหลายบทแล้ว จะต้องเข้าใจรูปแบบ ของลักษณะเฉพาะและวธิ ีการใชภ้ าษาในการแปลวรรณกรรมนั้น ๆ ดว้ ย มีรายละเอยี ด ดังนี้ 1.1 การแปลสารคดี เป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วในลักษณะตรง ขา้ มกับบันเทงิ คดี (Fiction) ท่ีมุ่งให้สาระความรแู้ ก่ผู้อ่านเปน็ เบอ้ื งต้น มี ความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ท่ีมุ่งแสดงความรู้ ความคิด ความจริง ความกระจ่างแจ้ง และเหตุผลเป็นสาคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบาย เชิง วจิ ารณ์เชิงแนะนาส่ังสอน เป็นต้น 1) การแปลช่ือเร่ืองสารคดี การตั้งช่ือมีการต้ังหลาย หลายแบบ เช่น การต้ังช่ือแบบบอกเร่ืองตรงไปตรงมา การเล่นคาเล่น สานวน การต้ังช่ือแบบเร่ืองส้ันและนวนิยาย การตั้งช่ือแบบกลุ่มคาหรอื วลีเรียงกันตามลาดับเน้ือหา และการต้ังชื่อแบบคาหลักนาหน้าแล้วต่อ ด้วยคาขยาย เป็นต้น ตัวอย่าง การแปลช่ือสารคดีเขมรเป็นภาษาไทยเป็นการ แปลแบบตรงตัว ชอื่ เรือ่ งตน้ ฉบบั “ក្ក្មា” ชื่อเรอื่ งฉบับแปล “ผ้าขาวม้า” ตัวอย่าง การแปลชื่อสารคดีเขมรเป็น ภาษาไทยเปน็ การแปลแบบตรงตัว

-187- ต้นฉบบั “ชายชรากับ ฉบบั แปล บว่ งกรรมและคาสาป นครวัด นครธม” “រុរ្ុ ក្ជាជាមួយៃិង្អនាា ក្់ក្មែ ៃិង្រណារ សា អង្រគ វតរ អង្ធគ ំ” การตั้งชือ่ สารคดบี างเรื่องกท็ ับศัพทภ์ าษา เขมรและแปลเปน็ ภาษาไทยดว้ ย เชน่ สารคดเี รื่อง “จุมเรียบซัวร์บตั ดอ็ มบอง (สวสั ดพี ระตะบอง) (สัจภูมิ ละออ. 2553) ต้นฉบบั จุมเรยี นซวั รบ์ ัตด็อมบอง (สวสั ดพี ระตะบอง)สมั ผสั เสนห่ ์แห่งเมอื งพระ ตะบอง ฉบบั แปล ជក្មារ្រួ បាត់ែំរង្ ទាក្់ ទង្ភាពទាក្់ ទាញ់ អារមណ៍ នៃក្ក្ងុ ្បាត់ែំរង្។ 2) การแปลเน้ือเรอ่ื ง การแปลเน้ือเร่ืองของสารคดีน้ันจะต้องใช้ภาษา ศกึ ษาลีลาทางภาษาของผ้เู ขียนตน้ ฉบบั ให้ถถ่ี ้วน เพราะภาษาที่ใช้ในการ เขยี นสารคดมี หี ลายรปู แบบมีทัง้ การใช้ภาษาตรงไปตรงมา ภาษาทางการ และบางทีกใ็ ช้ภาษาวรรณกรรมหรอื วรรณคดี

-188- ตัวอยา่ งการแปลเนอ้ื หาสารคดเี ขมรเป็นภาษาไทย ดงั นี้ ต้นฉบับ ฉบับแปล “ក្ក្មា” “ผ้าขาวมา้ ” ្ពវនថភៃ ៃោះ ភទាោះក្រួសារម្ភំុ ក្រើក្ខ្ៃសង្ ทุกวันน้ี แมค้ รอบครัวของฉันจะ ជាទូភៅក្៏ភោយ ក្៏ខ្តង្ពំុភោល្ក្ក្មាខ្ែរ។ ใชผ้ ้าเช็ดหน้าทัว่ ไปกต็ าม แต่กไ็ ม่ทิง้ ឪពុក្ម្បំុ ាៃជូៃម្ុំភៅភែើរក្មាៃភមើល្ការ ผา้ ขาวม้าเช่นกนั พอ่ ของฉันสง่ ผมไป តងំ ្ពិពណ៌ក្ក្មាភៅវ្ហល្ភមរភុ យើ គាត់ เทย่ี วงานจดั การแสดงสนิ ค้าผา้ ข้าว បាៃទិញក្ក្មាចៃំ ៃួ ពីរខ្ែល្មាៃក្រេពពី มา้ ทีส่ นามพระเมรุแลว้ ทา่ นกซ็ ้อื ភកាោះោច់ឱ្យម្ុំ ខ្តម្ភុំ ក្រវើ ្ហមរង្មួយជា ผา้ ขาวมา้ ทีท่ อจากเกาะดจั ใหฉ้ นั สอง ผนื แต่ฉนั กใ็ ช้ทีละผมเปน็ ประจา ក្រោ។ំ ผ้าขาวม้าท่ฉี นั ใช้ทกุ วันนท้ี าจาก ក្ក្មាខ្ែល្ម្ំភុ ក្រើ្ពវនថៃ រជឺ ាក្ក្មា ดา้ ยสีขาว-แดง พ่อฉนั ซื้อมาจากคน ខ្ែល្ភធវពើ ីអំភបាោះពណ៌្-ក្ក្ ម។ ឪពុក្ម្ំុ ทอผ้าบ้านแพรกดจั ซงึ่ เป็นหม่บู า้ น បាៃទិញពីអែក្ពាញក្្កុ ្ខ្ក្ពក្ោច់ ខ្ែល្ หัตถกรรมทอผ้าขาวม้าและโสรง่ ดา้ ย ជាេូមិ្រិ បក្មែក្ក្មាអំភបាោះ ៃិង្សារងុ ្ โฮลไหม (ผ้าไหมมดั หมี่ชนิดหน่ึง) ท่มี ี ូ ល្្កូ ្តែល៏ ្បលី ្ាញខ្ែល្មក្ចលូ ្រមួ ชอ่ื เสยี งมาเข้ารว่ มในการจัดแสดงสิ้น ល្ក្់ក្ែងុ ្ការតំង្ពិពណ៌ភៅវ្ហល្ភមរភុ ក្កាម ค้าที่สนามพระเมรุ ภายใต้ชอื่ งานว่า ក្រធាៃរទ “ក្ក្មាខ្វង្ជាង្ភរភល្ើពិេព “ผ้าขาวมา้ ยาวที่สดุ ในโลก”... ភោក្”។... ผู้เขียน : สุคนธ์ สุขา ភ្រែ ៖្រុ ៃធ ្ខុ ្ន (สมาคมวรรณกรรมกัมพชู า) (្មារមអក្សរ្លិ ្បក៍ ្មពុជា)

-189- ตวั อยา่ งการแปลเนื้อหาสารคดไี ทยเปน็ ภาษาเขมร ดงั น้ี ต้นฉบบั ฉบบั แปล ร.พ. อภัยภเู บศร មៃីភា ពទយអេ័យេូភរ្ วัดแก้วพิจิตร វតខរ ្ក្វពិចកិ្ត รอยสยามกับกมั พุชเทศ សាែ មនៃភ្ៀម ៃិង្ក្មពុជភទ្ เล้ียวรถเขา้ โรงพยาบาล ភយើង្រត់ឡាៃចលូ ្មៃភីា ពទយភៅពញា เจา้ พระยาอภัยภูเบศร เหน็ รูปปั้น អេ័យេូភរ្ បាៃជួរររូ ្ណំ ាក្មាា ្់ ឈរភ្ែមើ ភៅមុមអគារ។ เจ้าของโดดเดน่ อยู่หนา้ ตกึ รปู ปั้นและขา้ ง ๆ มไี กช่ นอวด ររូ ្ណំ ាក្ ៃងិ ្ជិតខ្នង្មាៃររូ ្តវ មាៃ់ជល្់រង្ួតអ រង្ាហញពណ៌សាអ ត។ ររូ ្តវ สสี นั บางตวั เหมือนหนึ่งจะโก่งคอขัน មាៃ់មលោះក្រែចូ ៃឹង្ភល្កើ ្ក្រង្ហវភចញមក្។ ភៅភល្មើ ុមភៅភល្កើ ្ពំ ូល្មាៃភក្រឿង្ក្បារ់ ออกมา เหนือมขุ ขนึ้ ไปบนหลงั คา ទិ្មយល្់។ ររូ ្តមវ ាៃ់ភៅភធវើតនួ ាទីយ៉ងា ្ เคร่อื งบอกทิศทางลม รูปไกย่ ังทา ្ក្មែ។ រញ្ហា ក្់ថាវ្ហភធវើតនួ ាទីយ៉ងា ្្ក្មែ រ៉ុាភណាណ ោះ ក្រ្ៃិ ភរើភធវតើ នួ ាទីរង្ហវឮ្ភំ ល្ង្ หน้าที่อย่างแขง็ ขนั ยนื ยนั วา่ ทา หนา้ ทอ่ี ยา่ งแขง็ ขนั เทา่ น้ัน ถ้าทา หนา้ ทข่ี ันเอ้อีเ้ อก้ ออกมา เราคง กระเจิงไปคนละทิศคนละทาง (สจั ภูมิ ละออ, 2553 : 17) ភអ៊េអីុខ្អក្ ភចញមក្ ពកួ ្ភយងើ ្ក្រខ្ ល្ជា រត់ភក្ៀចមាែ ក្់មាន៉ា ូលវ។ (្ចេា ូមិ ល្,អ 2553 : 17) 1.2 การแปลเร่อื งส้นั และนวนยิ าย เรื่องสั้นและนวนิยายแปลเป็นหนังสือท่ีได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายในทุกประเทศและทุกกาลสมัย ผู้แปลมีความสาคัญ เกือบจะเท่ากับผู้ประพันธ์ งานแปลเร่ืองสั้นและนวนิยายมักจะนา ชื่อเสียงเกียรติคุณมาสู่ผู้แปล ดังนั้น งานแปลประเภทนี้จึงมีความสาคญั มากในวงการแปล คณุ ค่าของวรรณกรรมอย่ทู ีศ่ ิลปะในการใช้ภาษาของผู้

-190- แปลท่ีสามารถค้นหาถ้อยคาสานวนสละสลวยไพเราะสอดคล้องกับ ต้นฉบับได้เป็นอยา่ งดี มหี ลักการแปลดังต่อไปนี้ 1) การแปลชื่อเร่ือง ช่ือวรรณกรรมมีความสาคัญเป็นอันดับแรก เพราะผู้แต่งได้ พิถีพิถันต้ังชื่องานอย่างดีที่สุด เพ่ือบอกคุณลักษณะของงานเพื่อเร้าใจ ผู้อ่านผู้ชมให้สนใจกระหายใคร่ติดตามงานของเขา และเพื่อบอกผู้อ่าน เป็นนัย ๆ วา่ ผเู้ ขยี นตอ้ งการสื่ออะไรตอ่ ผู้อ่าน 1.1) การแปลชือ่ เร่อื งโดยการทับศพั ท์ การแปลด้วยวิธีการทับศัพท์น้ีอาจทับศพั ท์ ด้วยการถ่ายทอดเสียงหรือถ่ายทอดตัวอักษร การ แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย หรือภาษาไทยเป็น ภ า ษ า เ ข ม ร บ า ง ส า ม า ร ถ ทั บ ศั พ ท์ ช่ื อ เ ร่ื อ ง แ ล ะ มี ความหมายคลา้ ย ๆ กนั เชน่ ตน้ ฉบับ ក្ុោរនរ៉ាល្ិៃ ฉบบั แปล กหุ ลาบไพลิน ต้นฉบับ อมตะ ฉบับแปล អមតៈ 1.2) การแปลตรงตวั การแปลช่ือเร่ืองดว้ ยวธิ กี ารแปลตรงตัว นี้ นิยมแปลช่ือเรื่องจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยตรง ตัว เพราะความหมายของคาในช่ือเร่ืองภาษาเขมร ต้ น ฉ บั บ มี ค ว า ม ห ม า ย ที่ ค ร อ บ ค ลุ ม ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ความหมายของคาในภาษาไทยจะนิยมแปลชื่อเร่ืองท่ี ต้นฉบับมีส่ือความที่ครบถ้วนเหมาะสมโดยรักษาคา และความหมายไว้ ดว้ ยภาษาไทยทด่ี แี ละกะทดั รัด เชน่ ต้นฉบับ ផ្ាកក្្ភោៃ ฉบับแปล ดอกโศก

-191- ตน้ ฉบบั រល្ក្ភបាក្មាច់ ฉบับแปล คลืน่ ซัดทราย ต้นฉบับ ฉบับแปล ក្ំណរ់ กรุสมบตั ิ 1.3) การแปลบางสว่ นโดยเพ่ิมและดัดแปลง บางส่วนของช่ือเร่ืองนวนยิ าย การแปลแบบนี้จะใช้วิธีนี้ต่อเมื่อช่ือใน ต้ น ฉ บั บ ห้ ว น เ กิ น ไ ป ไ ม่ ดึ ง ดู ด แ ล ะ ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย ไ ม่ เพียงพอหรือไมส่ อ่ื ความหมายในภาษาแปล เชน่ ตน้ ฉบบั រុក្ៃភយបាយ ฉบบั แปล คกุ การเมือง บันทึกของผูแ้ สวงหาอสิ รภาพ ชาวเขมร ตน้ ฉบบั ក្រវតិរសាស្ត្ករ ្មពុជាថីែៗភៃោះ ៃងិ ្ភគាល្ជំ រ ฉบบั แปล ររ្់ម្ជុំ ារៃររ នាា រ់ เขยี ว สัมพนั ประวตั ิศาสตรก์ มั พูชากับ จดุ ยืนทีผ่ ่านมาของขา้ พเจา้

-192- 1.4) การแปลต้งั ชื่อใหมจ่ ากตีความช่อื เร่ืองและเน้อื เรอ่ื ง การแปลแบบน้ีผู้แปลต้องใช้อ่าน เนื้อหาและหรือดูรายละเอียดเน้ือเร่ืองและทาการ วิเคราะห์ชื่อเรื่องและเนื้อเร่ือง จนสามารถจับ ประเด็นสาคัญ และลักษณะเด่นของเรื่อง แล้วตั้ง ชื่อใหม่ เชน่ ต้นฉบบั ช่างสาราญ ฉบับแปล ភក្ែង្រកី ្រាយមាែ ក្់ วรรมกรรมประเภทเร่ืองสั้นและนวนิยายไทยที่แปลเป็นภาษา เขมรในปัจจุบันมีจานวนน้อยมาก ส่วนใหญ่มีการแปลชื่อเรื่องใน ภาพยนตร์และละครไทยเป็นภาษาเขมร ตัวอย่างจะนาเสนอไว้ในการ แปลชือ่ เรื่องภาพยนตแ์ ละบทละคร 2. การแปลเน้ือเร่ือง การแปลเน้ือเร่ืองวรรณกรรมประเภทเร่ืองสั้นและนวนิยาย แบง่ เปน็ 2 อย่าง ดงั นี้ 2.1 การแปลบทบรรยาย การแปลบทบรรยายเรอื่ งราวเก่ยี วกบั เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ี ผู้ประพันธ์ซึ่งมักใช้ภาษาเขียนท่ีพิถีพิถันซึ่งเรียกว่า ภาษาวรรณกรรม หรือวรรณคดี และใช้โวหารในการเล่าเร่ือง ภาษาในบทบรรยายจึงมี ความหลายระดับ ผู้แปลจะต้องแก้ปัญหาการแปลให้สอดคล้องกับ ตน้ ฉบบั เดมิ ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้ ตัวอยา่ งการแปลเน้อื เร่ืองเร่ืองส้นั และนวนิยายเขมรเป็น ภาษาไทย

-193- ต้นฉบบั ฉบบั แปล ការូរល្យុ กระเป๋าเงิน មិតេរ ក្រទិ រូ ្ព័ ាមក្ភតឿៃម្ំុឱ្យក្្ូតភៅ เพื่อนฝงู โทรศพั ท์มาเตอื นใหฉ้ นั ជួរជុំជរ់ភល្ៀង្ជាមួយពួក្ភរ។ ភពល្ភរកើ ្ รบี ไปพบปะสงั สรรค์ดว้ ยกัน ขณะที่ ឡាៃភចញពីក្ខ្ៃងល ្ភធវើការ ម្ភុំ ើញជៃរង្ ฉันขบั รถออกจากทท่ี างานพบผู้ ភក្គាោះមាែ ក្់ឈាមភក្្ើចភជាក្មលួៃ ភែក្្ូករ ្ ประสบอุบตั ิเหตุคนหน่ึงเลือดอาบ ្ងឹរ ្ភៅៃងឹ ្មាត់នូលវចលូ ្មៃីរា ភពទយ។ ភ ញើ ทั้งตัวนอนแนน่ ง่ิ ปากทางเขา้ ម្ំភុ រើក្ក្ញ្កា ្់ឡាៃ មីង្មាែ ក្់ខ្ក្្ក្ក្បារ់ម្ំុ โรงพยาบาล พอเห็นฉันเปิดกระจก “ភោក្ក្រូភពទយ ជួយភមលើ ្គាត់នង្! គាត់ รถ นา้ คนหนง่ึ ร้องบอกฉันว่า “หมอ ក្តូវឡាៃរុក្ធៃៃ់ណា្់ ខ្តមាា ្់ឡាៃរត់ ชว่ ยดแู กดว้ ยǃ แกถกู รถชนหนกั มาก បាត់ក្្ភមាល្ភ យើ ។” แต่เจ้าของรถยนต์หนีไม่มแี ม้เงา” ម្ំ្ុ មឹលង្ភមើល្ជៃរង្ភក្គាោះភនាោះមរង្ ฉันมองดผู ปู้ ระสบอบุ ัตเิ หตุอกี ភទៀត មុៃៃឹង្រិទក្ញ្កា ្់ភរកើ ្ឡាៃភចញ ครง้ั กอ่ นทจ่ี ะปดิ กระจกขบั รถออกไป ភៅ។ ភរថាមាៃខ្តអែក្ក្ក្ភនាោះភទខ្ែល្ែឹង្ เขาถึงว่ามแี ต่คนยากจนเทา่ น้ันแหละ ្មុ ទកុ ្ខក្ក្ែចូ គាែ ។ តយួ ៉ងា ្ែចូ សាា ៃភាពភៃោះ ที่รสู้ ขุ ร้ทู กุ ขย์ ากดว้ ยกนั ตัวอย่างดัง មៃ្ុ សរីរួៃនាក្់ខ្ែល្មវល្់ៃងិ ្ជៃ្ៃរល ់ สภาพน้ี คนสามสค่ี นที่ว่นุ กับคนที่ ភនាោះ្ទុ ្ធ ងឹ ្ខ្តជាអែក្ក្ក្ ខ្ែល្រ្់ភៅមរុំ นอนสลบนน้ั ลว้ นแลว้ แต่เปน็ คน មៃីរា ភពទយ។ តមភមើល្ភៅអែក្រង្ភក្គាោះ ยากจน ซึง่ อาศยั อยู่รอบ ๆ ភនាោះក្រខ្ ល្ជាតោ្់្ទំុ ាៃ ភែរើ ភធវើជា โรงพยาบาล ดูไปแลว้ ผ้ปู ระสบ ខ្វនក្់ខ្េែក្ បារក្មែក្៏ក្តូវភររុក្ឱ្យរាង្ อุบัตเิ หตเุ หมอื นกบั จะเป็นตาแก่ ោល្។... ขอทานเดินทาเปน็ ตาบอดบาปกรรม ทาใหถ้ ูกรถชนร่างแหลก... (สขุ จันผล, 2548 : 2-3) (្មុ ោៃ់នល្, 2005 ː 2-3) ตัวอย่างการแปลเน้ือเร่ืองเรื่องสั้นและนวนิยายไทยเปน็ ภาษาเขมร

-194- ตน้ ฉบับ ฉบับแปล คนบนสะพาน មៃ្ុ សភល្សើ ាព ៃ ช่างเป็นเช้าท่ีสดชื่นและสวยงาม វ្ហជាក្ពឹក្ខ្ែល្ក្្្់ភ្បើយ ៃងិ ្ក្្្់ សាអ តណា្់ក្ែងុ ្អារមណ៍ររ្់អែក្ចញ្ិមា เสยี เหลือเกินในความรู้สึกของคน ភគាជល្់។ ភរភក្កាក្ភចញពីតរូ ភរង្ក្ពម เลยี้ งวัวชน เขาออกจากเพงิ นอน พรอ้ มด้วยวัวหน่มุ ตงั้ แต่ดาวรงุ่ ยงั ไม่ ทันแยม้ ฟา้ ไลใ่ ห้มันวิง่ บ้างเดนิ บ้าง ទាងំ ្ភគាភមែ ល្ោរ់ពីផ្ាកយក្ពឹក្មិៃទាៃ់ เป็นระยะทางเกือบสิบกิโล เขาชอบดู ន្ុ ភចញពីភម ។ ភរភែញវ្ហឱ្យវ្ហរត់ วัวหนุ่มวิ่งย่าไปพร้อมกบั กลา้ มเนือ้ ที่ រភណារ យភែើររភណារ យអ្់ចមាៃ យជិតែរ់ เกร็งขนึ้ ลงเป็นริ้วลา มันเปน็ រឡី ូខ្ម៉ាក្ត។ ភរចលូ ្ចតិ ភរ មើល្ភគាភមែ ល្រត់ เครอ่ื งหมายแหง่ ความแข็งแกร่ง ភោតភៅក្ពមទាំង្សាចែ់ ំរុ តឹ ភឡើង្ជាែំ។ុ ทรหดและบึกบึนเหมือนนักมวยฟิต វ្ហរជឺ ា្ញ្ហា នៃភ្ចក្ររី ងឹ ្មាអំ ត់ធៃ់រាង្មាំ จัดทพ่ี ร้อมจะข้ึนไปตะบันหน้าคู่ต่อสู้ ែចូ អែក្ក្រោល្់ខ្លនងំ ្ក្ពមៃងឹ ្ក្រែល្់មុមរូ ใหพ้ ับพ่ายเพียงชว่ั นกกระจอกกนิ น้า บนสังเวียนเลือด การออกวิ่งในเชา้ ក្រមងំ ្ឱ្យោក្ោញម់ ួយរភំ ពក្ក្តមឹ ខ្ត្តវ มืดทุก ๆ วันเป็นส่งิ ท่เี ขารักอยู่แลว้ ោរ្ីទឹក្ភល្ើ្ភង្ៀវ ៃឈាម។ ការរត់ភពល្ เป็นทุนเดมิ เมือ่ เป็นงานในหนา้ ท่ี ក្ពឹក្ក្ពហាមរាល្់នថរៃ ជឺ ាអីវខ្ែល្ភរចលូ ្ចតិ រ ด้วยแลว้ เขาจึงแทบไม่บกพรอ่ งใน ពីភែើមមក្ភ ើយ។ ភពល្វ្ហជាតនួ ាទីនង្ หน้าท่นี ี้เลย... ភ ើយ ភរភ្ើរា ខ្តគាែ ៃមូចខ្នតភឡយើ ។... (ไพทูรย์ ธญั ญา, 2554 : 23) (ននធូៃ ថាៃ់យ,៉ា 2011 ː 23) 2.1 การแปลบทสนทนา การแปลบทสนทนาหรือถ้อยคาโต้ตอบกันของตัวละครใน วรรณกรรมประเภทเร่ืองส้ันและนวนิยายนั้น ผู้แปลจะต้องศึกษาระดับ การใชภ้ าษาของตวั ละครให้ชดั เจน เพราะตัวละครในวรรณกรรมท่ีผู้แต่ง ข้ึนนั้นยึดบริบททางสังคมและวัฒนธรรมการใช้ภาษา มีการใช้ภาษา หลายระดับตามสถานภาพทางสังคมของตัวละครท่ีสนทนากัน ได้แก่ ระดับภาษาพิธีการ ระดับภาษาทางการ ระดับภาษากึ่งทางการ ระดับ

-195- ภาษาไม่เป็นทางการ และระดบั ภาษากันเอง คาศัพท์ที่ใชใ้ นการสนทนา มีทั้งราชาศัพท์ คาศัพท์บัญญัติ คาที่ใช้เป็นทางการ คาสุภาพ คาแสลง คาตดั คายอ่ และคาหยาบ ซง่ึ เปน็ ไปตามสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น การแปลบทสนทนาในนวนิยายเขมรเป็นภาษาไทย ตน้ ฉบบั ฉบับแปล “ឈរ់្ៃិ ” “หยดุ กอ่ น” ភក្ែង្ក្្ងី ្ហក្មក្ ក្ពមទាងំ ្្រួ ម្ុំ “ពូ เดก็ ผู้หญงิ หนั มาพรอ้ มถามฉันว่า ចង្់ទិញផ្ាកភអាោះ?” “อาอยากซื้อดอกไมใ้ ช่ไหม” ម្ងំុ ្ក្់ក្ាល្ ភទើរវ្ហភែរើ មក្វញិ ។ ម្ភុំ ៅ ฉันพยกั หนา้ เธอจึงเดินกลบั มา ខ្ត្មឹលង្ភមលើ ្វ្ហគាែ ៃក្រិច មិៃមវល្់ៃឹង្សារ រ់ ฉนั ยังคงจ้องมองเธอไมก่ ะพริบตา ไม่ តនមលផ្ាកមិលោះភទ ភក្ោោះម្ុចំ ង្ខ់ ្តសារ រ់អារមណ៍ กังวลทีจ่ ะฟงั ราคาดอกมะลิเลย ររ្់វ្ហរ៉ុាភណាណ ោះ។ ម្ុ្ំ រួ វ្ហថា “ភ តអុ ីវឯង្ เพราะฉนั อยากจะฟังดูความรสู้ กึ មិៃយក្ការូរល្យុ ម្រំុ ត់ភៅនោា ះភៅ?” เทา่ น้นั ฉันจึงถามเธอวา่ “เหตุใดเอ็ง វ្ហហាក្់្លៃ ្់ៃងិ ្្ណំ ួ រម្ុំ “ភក្ោោះវ្ហជា จงึ ไมเ่ อากระเป๋าเงินฉันแลว้ หนไี ป ររ្់ពូ!” บา้ นซะ” “ឯង្ែងឹ ្ថាភៅក្ែុង្ការូរល្យុ ភៃោះ เธอเหมอื นกับสงสยั กบั คาถาม មាៃក្បាក្់រ៉ុានាែ ៃភទ?” វ្ហក្រវកិ ្ាល្ ของฉัน “เพราะมันเปน็ ของอา” “ក្បាក្់ក្ែុង្ការូរល្យុ ភៃោះអាចឱ្យឯង្ “เอ็งรู้ไหมว่าเงนิ ในกระเปา๋ นม้ี ี ឈរ់ភែើរល្ក្់ផ្ាកបាៃក្រខ្ ល្មួយមែ ។ំ ” เงนิ อยู่เทา่ ไหร่” เธอสา่ ยหน้า វ្ហ្មលឹង្មុមម្េុំ ឹោល ះៗ ភទើរម្ថំុ ាឱ្យវ្ហ “ភតើ “เงินในกระเปา๋ น้ีสามารถทาให้ ឯង្ក្ំពុង្សារ យខ្មៃភទ?” “អត់ភទ! ម្ំចុ លូ ្ចតិ ភរ ែរើ ល្ក្់ផ្ាក អត់ចង្់ เอง็ หยดุ เดนิ ขายดอกไม้ประมาณปี ឈរ់ល្ក្់ផ្ាកនង្!” หนง่ึ ได้มั้ง” (្មុ ោៃ់នល្, 2005 ː 4) เธอมองหนา้ ฉนั ปริบ ๆ ฉันจงึ เอ่ย กบั เธอว่า “เอง็ กาลงั เสียดายอยู่ใช่ ไหม” “ไม่หรอกǃ หนชู อบเดนิ ขาย ดอกไม้ ไมอ่ ยากหยุดขายด้วย” (สุข จนั ผล, 2548 : 4)

-196- ตัวอย่างการแปลบทสนทนาในวรรณกรรมประเภทเรือ่ ง ส้นั และนวนยิ ายไทยเป็นภาษาเขมร ตน้ ฉบับ ฉบับแปล “จะตายกันหมดรไึ ง ถอยออกไป “វ្ហៃឹង្សាល រ់អ្់ភ ើយខ្មៃភទ? ថយ กอ่ นซ.ี .. ถอยไปเร็ว ๆ ไดย้ ินไหม ភក្កាយភចញភៅ្ៃិ ភៅ...ថយភៅ เดยี๋ วกต็ ายกันหมดคอยดูเถอะ” ឱ្យភល្ឿៃ ឮភទ? តិចបាៃសាល រ់ទាងំ ្អ្់គាែ ោភំ មលើ ្។” មាា ្់ភគាក្ក្ មខ្ក្្ក្ភឡើង្ เจ้าของววั สีขาวตะโกนขน้ึ มาอีก មរង្ភទៀត។ ក្ំ ឹង្ពីមុៃែចូ ជារៃយា ចោុ ះ ความโกรธเคอื งในทีแรกดูเหมอื นจะ រៃិចរ ។ ភរយក្នែមាខ ង្ោរ់នែសាព ៃយង៉ា ្់ រងឹ ្ពឹង្។ អែក្ចញ្ិមា ភគាក្ក្ មក្៏មិៃមុ្ ซาลง เขาเอามืออกี ขา้ งเกาะราว គាែ ។ สะพานไว้เหนียวแนน่ คนเลยี้ งววั สี แดงกไ็ ม่ผดิ กันนกั “ៃងឹ ្ភៅយង៉ា ្ភម៉ាច?... សាព ៃវ្ហតចូ ចភង្ៀអ តយ៉ងា ្ភៃោះ ភគាវ្ហរង្លិវ ្មលួៃវ្ហអត់បាៃ “จะไปยงั ไง... สะพานมนั แคบนิด ៃឹង្ឱ្យវ្ហថយភក្កាយថាអញ្ឹងា ្?... ឱ្យភគា เดียว ววั มันกลับตวั ไมไ่ ด้ จะให้มนั ខ្អាង្ថយសាក្ភមលើ ្មុៃភៅ វ្ហៃងឹ ្រត់ភៅរក្ គាែ ភក្ចៃើ ជាង្” ถอยหลังร.ึ .. ใหข้ องมึงลองดกู ่อนซี มนั จะวง่ิ เขา้ หากันละมากกว่า” “ភគាខ្អាង្ក្តល្រ់វញិ អត់បាៃ ភគាអញ ក្៏ក្តល្រ់វញិ អត់បាៃែចូ គាែ ភ យើ ៃងឹ ្ភធើ “ววั มงึ กลับไมไ่ ด้ วัวกูกก็ ลบั ไมไ่ ด้ យ៉ងា ្ភម៉ាច ភវយើ !” មុមមាា ្់ភគា្ភមែ អូញ្ ភគាររ្់ភរភៅខ្តភកា្ខ្រនរអត់ឈរ់អត់ เหมือนกันแหละ แล้วจะทายังไงดี ឈរ កាៃ់ខ្តភធវើឱ្យសាព ៃរខ្ៃមា ក្ភក្មើក្ខ្លនងំ ្ โว้ย” เจา้ ของววั สขี าวหน้าซีดเผือด ភឡើង្ៗ ววั ของเขาตะกยุ ไมก้ ระดานไมข่ าด “យីណ៎ ǃ យណី ៎ ǃ...ពូក្ខ្អាង្ក្ពំ ុង្ភធអើ ី? ระยะ ยิ่งทาใหส้ ะพานเพิ่มการเหวย่ี ง ไหวมากขึน้ ทกุ ที “เฮ้ย..เฮย้ ...นั่นพวกแกทาอะไร กนั ทาไมเอาวัวมาล่อกันกลาง สะพานแบบนี้ หลกี หนอ่ ยหลีกทางให้ ข้าหนอ่ ย” เสียงตะโกนดงั มาจากข้าง หลงั วัวสแี ดง... ភម៉ាចនាភំ គាមក្ក្រឡង្ភៅក្ណារ ល្សាព ៃ (ไพทูรย์ ธัญญา, 2554 : 28)

ตน้ ฉบับ -197- ฉบบั แปล យ៉ងា ្អញ្ឹងា ្? ភក្ៀចឱ្យនូលវអញរៃចិរ ” ្រួ ្ភំ ឡង្ខ្ក្្ក្មក្ពីភក្កាយភគាក្ក្ ម... (ននធូៃ ថាៃ់យ៉,ា 2011 : 28) จากตัวอย่างการแปลวรรณกรรมประเภทเร่ืองสั้นและนวนิยาย จะเห็นได้ว่า การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและการแปลภาษาไทย เป็นภาษาเขมรส่วนใหญ่จะใช้วิธีการแปลแบบตรงตัว อย่างไรก็ตามผู แปลจะต้องเลือกสรรถอ้ ยคาท่ีสอื่ ความหมายใหค้ รอบคลมุ ความหมายใน ภาษาตน้ ฉบบั ใหม่มากท่สี ดุ 1.3 การแปลนทิ านและนิยาย วรรณกรรมประเภทนทิ าน นิยาย และเรอื่ งเลา่ เขมรและไทย มีมาแต่โบราณสมัยท่ียังไม่ใช้ตัวอักษรส่ือสารกัน คนโบราณสื่อกันด้วย การบอกเล่า นิทาน นิยาย และเรื่องเล่าจึงเป็นการเล่าเร่ืองด้วยปากต่อ ปาก หรือเรียกว่า วรรณกรรมมุขปาฐะ หลังจากน้ันมามีการบันทึกเป็น ลายลักษณอ์ ักษรเพือ่ เกบ็ รวบรวมไวใ้ หค้ นรนุ่ หลงั มหี ลักการแปล ดังนี้ 1) การอ่านต้นฉบับนิทาน เริ่มต้นด้วยการอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อสารวจและทาความ เขา้ ใจเน้ือเรื่องของนทิ าน แลว้ ตรวจสอบความเขา้ ใจเนือ้ เร่ืองด้วยคาถาม ทั้ง 5 คือ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือใด ทาไม อ่านครั้งตอ่ ไปอย่างชา้ และ คน้ หาความหมาย และคาแปล ทารายการคา และวลี 2) การเขยี นบทแปล การใช้ภาษาในนิทานและนิยายเป็นบางคร้ังใช้ภาษา ท้องถิ่น กลวิธีการเล่าเรื่องอาจใช้วิธีเขียนแบบโบราณไม่เหมือนปัจจบุ นั มตี ัวละครท้ังทีเ่ ปน็ คน สัตว์ และพืช การใช้ภาษาในการแปลสรรพนามท่ี สัตว์และพืชใช้นิทานและนิยายนี้ ควรใช้ภาษาเก่า เช่น เจ้า ข้า เป็นตน้ ตอนจบเปน็ คาสอน สามารถใชว้ ิธีแปลตรงตวั ได้ ข้อสาคัญอีกประการหนึ่งก็คือผู้แปลจะต้องเข้าใจปมของ อารมณ์ขัน และหยบิ ยกข้ึนมาแปลถ่ายทอดให้ตรงตามต้นฉบบั เร่ืองเลา่

-198- แฝงอารมณ์ขันมักจะใช้ถ้อยคาจากัดกะทัดรัด ถ้ามีความกากวมก็เป็น เพราะผู้เขียนจงใจ เพราะความกากวมสร้างอารมณ์ขันได้ เหตุการณ์ท่ี เกิดขึ้นจะกระชั้นชิดแบบรวดเดยี วจบ เพ่ือให้ความกระชับ ตอนจบเป็น จุดเด่นของเรื่อง ตัวอยา่ งการแปลนทิ านและนิยายเขมรเป็นภาษาไทย ตน้ ฉบับ ฉบบั แปล នាងកង្ងី นางกงรี កាល្ពីភក្ពង្នាយ មាៃរដីក្រពៃពធ ីរ กาลคร้ังหนง่ึ นานมาแลว้ มีผัว នាក្់ជាមហាភ្ែគីធ ាែ ៃក្ូៃមាែ ក្់ភឡយើ ។ เมยี ค่หู น่งึ เปน็ มหาเศรษฐไี ม่มลี กู สกั ពួក្គាត់បាៃភៅរៃ់្កំុ ្ូៃភៅមាមអកែ ្ត คน พวกเขาได้เดนิ ทางไปขอลกู กบั ភក្កាមភែើមនក្ជមួយភែើម។ មួយមក្ពួក្ គាត់ក្៏មាៃក្ូៃរ ូ តែល្់ ១២ នាក្់្ទុ ខធ ្ត ศาลตายาย (ศาลปตู่ า) ใตต้ น้ ไทยต้น หนึง่ หลังจากนัน้ เขาก็มีลูกถงึ 12 คน ลว้ นแล้วแตเ่ ปน็ ผู้หญิง หลังจากมีลกู ក្្។ី រនាា រ់ពីបាៃក្ូៃ ១២នាក្់ភនាោះមក្ 12 คนมา เศรษฐีก็ตกทุกข์ไดย้ ากท่ี ភ្ែីកឋ ្៏ធាល ក្់មលួៃក្ក្រៃិចរ មដង្ៗរ ូ តអ្់ ละนอ้ ย ๆ จนกระท่ังหมดทรพั ย์ ក្ទពយមិៃ្មបតិរ ៃិង្គាែ ៃអាហារចញិ ្ឹមា สมบัติ และไมม่ อี าหารเลยี้ งลกู ๆ ต่อ ក្ូៃ ៗ ភៅភទៀត។ อีกได้ ែភូ ចោែ ះឪពុក្មាដ យក្៏្ភក្មចចតិ ររ រភទោះ ดงั นัน้ พอ่ แมก่ ็ตัดสนิ ใจขบั เกวียน ែឹក្ក្ូៃទាងំ ្ ១២ នាក្់ភៅភក្បា្ភោល្ភៅ พาลกู ท้ัง 12 คนไปปล่อยท้ิงในปา่ ลึก ក្ែុង្នក្ពភក្ៅ ខ្ក្ក្ង្ពួក្នាង្មាៃ្ណំ ាង្ เกรงว่าพวกนางจะมีวาสนาไดพ้ บกบั คนรวยมที รัพย์สมบัตทิ สี่ ามารถเล้ียง បាៃជួរៃិង្អែក្មាៃក្ទពយ្មបតិអរ ាចចញិ ្ឹមា พวกนางภายหน้าได้ ผเู้ ป็นแมเ่ ห็นลกู ពួក្ភរភៅនថភៃ ក្កាយ។ នាង្ខ្ែល្ជាមាដ យ สาวคนสุดท้องเลก็ ที่สดุ คิดสงสารลกู ភ ញើ នាង្ភៅ តចូ ជាង្ភររតិ អាណិតក្ូៃ นกั แต่ไม่อยากใหพ้ นี่ ้องแตกแยกกัน ណា្់ ខ្តមិៃចង្ឲ់ ្យរង្រអូៃភរខ្រក្គាែ កាត់ อดใจไว้ใหน้ ้องสุดทอ้ งอยรู่ ว่ มกบั พี่ ๆ ចតិ ទរ កុ ្ នាង្ភៅមួយភៅជាមួយរង្ៗររ្់ ភរ។... ของนาง... //mydoc4u.com/article/261 //mydoc4u.com/article/261 (เข้าถงึ เม่ือ 15 กรกฎาคม 2563) (เข้าถึงเม่อื 15 กรกฎาคม 2563)

-199- ตัวอย่างการแปลนทิ านและนิยายไทยเปน็ ภาษาเขมร ต้นฉบบั ฉบับแปล นางสิบสอง ង្រះនាងដប់រីរ ជាយូរមក្ភ យើ មាៃភ្ែមីឋ ាែ ក្់ นานมาแล้วมีเศรษฐีคนหนง่ึ ชือ่ ភឈាែ ោះ ៃៃា ៃងិ ្េរយិ ររ្់ភរភឈាែ ោះ นนท์ และภรรยาของเขาช่อื ក្ោ ែ ណី ។ ពួក្ភរមាៃក្ូៃក្្ី 12 នាក្់។ พราหมณี ท้ังสองมีลกู สาวถงึ 12 คน ភោយសារខ្ែល្មាៃក្ូៃភក្ចើៃភពក្ ឋាៃៈ ក្រួសារោរ់ធាល ក្់ចោុ ះរណរិចមរង្ៗ មា្ ดว้ ยความทลี่ ูกเยอะฐานะทางบ้านจึง ក្បាក្់ខ្ែល្្ៃសំទកុ ្ក្៏រោយបាត់អ្់ ค่อย ๆ ตกต่าลง เงนิ ทองท่ีเก็บไวก้ ็ ភៅនថមៃ ួយឪពុក្ររ្់នាង្ែរ់ពីរភនាោះ បាៃរតិ ក្ល្ឧបាយថាៃឹង្នាំក្ូៃៗ ទាងំ ្ែរ់ หายไปหมด ពីរនាក្់ភៅភល្ង្ក្ែងុ ្នក្ព។ គាត់បាៃ อยมู่ าวนั หนงึ่ พอ่ ของนางสบิ สอง រភញ្ហោ តក្ូៃររ្់គាត់ថាគាត់ៃឹង្ភៅភល្ង្ ជាមួយសាច់ញាតិ ភ ើយៃងឹ ្នាកំ ្ូៃៗ ភៅ กไ็ ดค้ ิดอบุ ายว่าจะนาลกู ๆ ทั้งสบิ នង្ ។ ភពល្ែល្់ក្ណារ ល្នក្ពេំគែ ាត់ក្៏បាៃ ក្បារ់ក្ូៃៗ ថាៃឹង្ភៅរក្ខ្នភល ឈមើ ក្ឱ្យញាំ สองคนไปปลอ่ ยป่า โดยหลอกลกู ของ ក្បារ់ក្ូៃៗ ោភំ ៅក្ខ្ៃងល ្ភៃោះ។ ตนว่าตนจะไปเยย่ี มญาติและจะพา ភពល្បាៃឱ្កា្គាត់បាៃរត់ភោល្ភៅ ភោយ្ង្ឃមឹ ថាៃឹង្មាៃអែក្ខ្ែល្អែជាង្ ลูก ๆ ไปดว้ ย เมอ่ื มาถึงกลางปา่ เขาก็ គាត់មក្ទទួល្ចញ្ឹមា ត នាង្ទាងំ ្ែរ់ពីររង្ บอกกับลกู วา่ จะไปหาผลไมม้ าใหก้ นิ ោឪំ ពុក្ររ្់ភរភ្ើខា ្ត ត់។ ្ណំ ាង្ល្អ บอกให้ลกู ๆ รออยตู่ รงน้ี เมือ่ ได้โอกาสเขากห็ นไี ปโดยหวัง วา่ จะมคี นท่ดี กี ว่านมี้ ารบั เลีย้ งดู นาง สิบสองรอบิดาของตนจนเหนอื่ ย โชค ดีที่นางเภาน้องคนสุดท้องทม่ี คี วาม ฉลาดมากกวา่ พวกพๆ่ี ไดน้ าขา้ วตาก โรยตามทางที่เดนิ มา พวกนางทั้งสิบ สองจึงกลบั บา้ นได้ถูก... //th.wikipedia.org/wiki/ ខ្ែល្នាង្ភៅរអូៃភៅនវមល ្ភក្ចើៃជាង្ពួក្ นางสิบสอง_นทิ าน រង្បាៃយក្បាយភក្ក្ៀមភក្បាោះតមនូលវខ្ែល្ ភធវើែភំ ណើរមក្ បាៃជាពួក្នាង្ទាែំ រ់ពីរបាៃ (เข้าถึงเม่อื 15 กรกฎาคม 2563) ក្តល្រ់នោា ះក្តូវ។...

-200- การแปลวรรณกรรมร้อยแก้วท้ังการแปลวรรณกรรมเขมรเป็น ภาษาไทยและวรรณกรรมไทยเป็นภาษาเขมรสามารถแปลตรงตัวได้ เน่ืองจากความหมายในภาษาตน้ ฉบับทง้ั สองมีความหมายทใี่ กลเ้ คียงกัน จึงเป็นการง่ายมากกว่าการแปลวรรณกรรมภาษาอื่นเป็นภาษาไทยซง่ึ มี ความหมายท่ีต้องใช้การตีความและสรรหาคามาทดแทนให้ตรงกับ ความหมายในวรรณกรรมต้นฉบบั ให้มากทส่ี ุด 1.4 การแปลบทภาพยนตร์และละคร การแปลบทบทภาพยนตร์ที่นาแปลจะถ่ายทอดเป็นบท เขียนก่อน นอกจากบางคร้ังไม่มีบทเขียน ผู้แปลต้องดูและฟังจากฟิล์ม จดุ ประสงคห์ ลักของบทภาพยนตร์แปลมี 2 ประการ คือ 1) นาบทแปลไปพากย์หรอื อดั เสียงในฟลิ ม์ 2) นาบทแปลไปเขียนคาบรรยายในฟิลม์ ในปัจจุบันการแปลบทภาพยนตร์และละครมีความนิยม มากเพราะในปัจจุบัน ในประเทศกัมพูชามีการนาภาพยนตร์และละคร ไทยไปนาเสนอเป็นจานวนมาก ปรากฏการณ์การแปลบทภาพยนตรแ์ ละ ละครไทยเป็นภาษาเขมรมีลักษณะเหมือนการแปลวรรณกรรม มีการ แปลชอื่ เรื่อง เน้อื เร่อื ง และบทสนทนา ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี ต้นฉบับ ขนุ บันลอื ฉบบั แปล អែក្ចមាំង្ញុិក្ញាក៉ា ្

-201- ตน้ ฉบบั ខ្្បក្រង្់ ฉบับแปล สไบค้ ์-กง คนหนงั เหนยี ว ต้นฉบับ ฉบบั แปล ปดวิ รดา េរយិ រៃូលរ ្ចតិ រ 2. การแปลวรรณกรรมประเภทรอ้ ยกรองหรือกวนี ิพนธ์ กวีนิพนธ์เป็นวรรณกรรมท่ีแต่งเป็นบทร้อยกรอง มีกฎเกณฑ์ แน่นอนตายตัวด้วยการจากัดจานวนคา จานวนพยางค์ และจานวน บรรทัด ทั้งเสียงหนัก – เบา การสัมผัสและจังหวะ ในภาษาไทยเรียก ข้อบังคับของกวีนิพนธว์ ่า “ฉันทลักษณ์” ใช้เป็นแนวทางรูปแบบของคา

-202- ประพนั ธ์แต่ละประเภท ได้แก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ดังน้ัน การแปล กวีนิพนธ์จึงต้องแปลให้วิเคราะห์ ตีความ และสรรหาคาเพ่ือให้ได้ ความหมายทีเ่ หมือนหรือใกลเ้ คียงกับต้นฉบบั ให้มากที่สดุ การแปลกวีนิพนธ์จึงไม่ใช่แค่แปลตามเน้ือเร่ืองที่เท่านั้น ต้อง คานึงถงึ “อรรถรส” และ “ฉนั ทลักษณ์” ดว้ ย การแปลกวนี ิพนธ์จะต้อง สามารถถ่ายทอดจากต้นฉบับไปสู่ฉบับแปลให้ได้ความหมายเหมือนกัน หรือใกล้เคยี งกนั มากที่สดุ ผู้แปลอาจจะต้องเทียบเคยี งกวนี ิพนธ์ตน้ ฉบับ กับฉบับแปลด้วย เพื่อสร้างความสละสลวยและเท่าเทียมกันทางด้าน “รปู แบบ” และ “อรรถรส” ผแู้ ปลจะต้องพิจารณาหารูปแบบกวีนพิ นธท์ ่ี เหมาะสมในภาษาฉบบั แปลมาเทียบเคยี ง เพราะถ้าหากแปลกวนี พิ นธ์ทมี่ ี ฉันทลกั ษณเ์ ปน็ ภาษาทไี่ ม่ใชฉ้ นั ทลกั ษณ์ แมจ้ ะสามารถถ่ายทอดเนอ้ื เรอ่ื ง ได้ครบถ้วน แต่ไร้ความงดงามและความไพเราะ ถือว่างานแปลน้ันเป็น งานศลิ ปท์ ไี่ ม่สมบรู ณ์ งานของ แลฟเฟอร์ (Lefevere, 1992) ที่ได้ศึกษาการแปล บทเพลงหรือบทกวีนิพนธ์ไว้ 7 วิธี สามารถนามาปรับใช้ในการแปลกวี นิพนธ์เขมรเป็นภาษาไทยและกวีนิพนธ์ไทยเป็นภาษาเขมร เน่ืองจาก ภาษาไทยและภาษาเขมร แม้จะมีความแตกต่างด้านตระกูลภาษา แต่ รูปลักษณ์ทางภาษาเป็นภาษาคาโดดภาษาคาโดดเหมือนกัน อีกทั้ง คาศพั ทท์ ใี่ ชใ้ นวัฒนธรรมเขมรกบั ไทยมีการใชค้ าศัพทท์ ี่ละมา้ ยคล้ายคลึง กัน ดังนี้ 2.1 กลวิธีการแปลด้วยเสยี ง (Phonemic translation) กลวิธีน้ีสามารถนามาใช้เมื่อผู้แปลพยายามถอดเสียงใน เนอื้ หากวนี พิ นธ์ตน้ ฉบบั เปน็ ภาษาในกวนี ิพนธฉ์ บบั แปล กลวิธนี ม้ี ักจะใช้ ในการแปลแบบสัจพจน์หรือการใช้เสียงเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงฟ้าร้อง เสียงฟ้าแลบ เสียงฝนตก เสียงสัตวเ์ ดินและรอ้ ง และเสยี งท่เี กิดจากอากปั กิรยิ าของคนและสตั ว์ เป็นตน้ ตวั อยา่ งการแปล กวีนิพนธ์ดว้ ยกลวิธีการแปลด้วยเสยี งดงั ตอ่ ไปนี้

-203- การแปลกวีนพิ นธเ์ ขมรเปน็ ภาษาไทย ต้นฉบับ ฉบบั แปล ោក្យ 7 บท 7 ទកឹ ្ក្្ក្់តក្់ៗែចូ ទឹក្ភតែ ត น้าหยดติ๋ง ๆ ดง่ั ตาลโตนด ល្ោុ ះក្ពឹក្ភឡើង្ភសាតភពញរំពង្់ พอเชา้ นา้ โตนดเต็มลาไผ่ ខ្ត្មូ ឱ្យទឹក្ក្្ក្់ភៅរង្់ แตข่ อนา้ นั้นใหย้ งั คงไหล อยา่ หลงไปไม่นานคงไดเ้ ต็ม យឺតយូរពំុល្ង្រ់ ង្ភ់ ពញបាៃ។ (สีม ถา, 2563) (្មីុ ថា, ២0២០) การแปลกวนี ิพนธ์ไทยเป็นภาษาเขมร ต้นฉบบั ฉบับแปล เสียงฟ้าร้องครืนครนื คนตนื่ ฝน នរគ ោៃ់ក្រូង្ក្រងូ ្ល្ងួ ្ឱ្យភនលើល ្ភេៀល ង្ สาละวนเกบ็ ของบา้ นช่องปิด ทัง้ หนา้ ต่างประตดู มู ิดชดิ នវភវៀង្រវល្់ោត់ររ្់ររររិទនោា ះ ฝนสกั นดิ ยังไม่มาพาวนุ่ วาย ទាងំ ្រង្ូចអ ទាវ រភមលើ ្រិទពិតោក្់ (พิณจนั ทร,์ 2556) ខ្តរញ្ហា ក្់ភេលៀង្មិៃធាល ក្់នាំគាែ វកឹ ្វរ។ (េិៃោៃ់, 2013) 2.2 กลวิธกี ารแปลแบบตรงตัว (Literal translation) การแปลกวนี ิพนธด์ ว้ ยกลวธิ ีการแปลแบบตรงตวั หมายถงึ การแปลตามความหมายของต้นฉบับเช่นเดียวกับการแปลวรรณกรรม ประเภทรอ้ ยแกว้ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

-204- การแปลกวนี พิ นธ์เขมรเป็นภาษาไทย ตน้ ฉบบั ฉบบั แปล សារ រ់្រូ សាភែៀវ ฟงั เสยี งสายเดีย่ ว ...១. សារ រ់ភេងល ្សាភែៀវ្រូ ្ព័ ាទងូ ្ៗ ...๑ ฟงั เพลงสาเด่ียวเสียงทงู ๆ ភែញ្ភំអ ែើមក្ទូង្រំភពរជាតិខ្មែរ ไล่ความชา้ หวั ใจกลอ่ มชาตเิ ขมร ឲ្យឮឲ្យោរំ ណារ ពំ ុក្ខ្ម៉ា ផ្រកឲំ ្យក្ូៃខ្ថមាតេុ មូ ិក្មពជុ ា។... ใหไ้ ด้ยินใหจ้ าคาสง่ั ฝากของพ่อแม่ ฝากใหล้ กู รักษามาตภุ มู ิกมั พูชา... (เมา อายุทธ,์ 2522) (ភ ៉ា អាយុទធ, ១៩៧៩) การแปลด้วยวิธีการนี้แม้จะมีรูปแบบเหมือนกวีนิพนธ์ก็ ตาม แต่ไม่ได้การสัมผัสในและสัมผัสนอกตามข้อบังคับของฉันทลักษณ์ จะเนน้ ความหมายของคาท่ปี รากฏในกวนี พิ นธต์ น้ ฉบบั การแปลกวีนิพนธไ์ ทยเป็นภาษาเขมร ต้นฉบับ ฉบับแปล กะเอ๋ยกะทกรก ភែមើ ចណំ ង្ចណំ ូ ល្ចតិ រ (ភែមើ តណាា )ភអយើ เถาเลอื้ ยปรกมือปา่ ยใบมขี น វល្ិវល ្ហរក្រក្់ែចូ នែល្ៃូ ភៅ្កឹល ្មាៃភរាម ดอกสขี าวม่วงแซมแจม่ ตาคน ផ្ាកពណ៌្ោយសាវ យភមលើ ្ភៅសាអ ត ประโยชน์ยลบารุงสมองนา่ ลองกนิ ក្រភយជៃ៍រូ៉ាវក្ំោំង្មួរក្ាល្ររួ សាក្ពិសា ផ្ាករក្ាភរង្មិៃល្ក្់រភណរ ញខ្្ោល ះ ดอกแกน้ อนไมห่ ลบั ขับเสมหะ អ្់ក្ង្លវ ្់រក្ាជំង្ឈឺ ឺក្ាល្ក្រកាងំ ្បាត់ คลายจติ ตะกังวลหายไมเกรนสิ้น ភែមើ ចណំ ង្ចណំ ូ ល្ចតិ ោរ ទំ ុក្ក្រក្់ែធី លី กะทกรกใชพ้ ืชรกปรกแผ่นดนิ ោវំ ្ហពុោះពិសាអ៊ុេៃអ៊ុេៃមាៃភក្ចើៃរៃុ ភអយើ ។ ต้มน้ารินดม่ื อนุ่ อุ่นมากคณุ เอย (្ចេា មូ ិ ល្,អ 2013) (สัจภูมิ ละออ, 2556)

-205- การแปลดว้ ยวิธีการนีจ้ านวนคาและจังหวะเสยี งอาจไมต่ รงกบั ต้นฉบับ แต่ได้ความตามต้นฉบับมาก แต่ขาดความไพเราะงดงาม ทางด้านวรรณศลิ ป์ 2.3 กลวิธกี ารแปลแบบจังหวะ (Metrical translation) การแปลแบบจงั หวะนี้เปน็ การแปลทเ่ี นน้ ดา้ นการถอดแบบ ภาษาต้นฉบับ เน้นการรักษาจังหวัดและจานวนพยางค์ของคากลอนแต่ ละวรรค เชน่ การลงเสยี งหนัก เสยี งเบา และการหยุด เป็นต้น แตว่ ธิ กี าร น้ีความหมายอาจจะคลาดเคล่อื นถ้าหากว่าผ้แู ปลไมส่ ามารถสรรหาคามา ลงวรรคตอนให้ถูกต้องตามจังหวะของตน้ ฉบับ ผู้แปลด้วยวิธีการน้ีไมไ่ ด้ เน้นเรื่องการสัมผัสหรือฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์ แต่จะเน้นจานวน พยางค์โดยใช้วิธีการเทียบเคียงกับภาษาต้นฉบับ สาหรับกวีนิพนธ์เขมร เป็นภาษาไทยและการแปลกวนี ิพนธไ์ ทยเป็นภาษาเขมร ผู้แปลสามารถ ดาเนนิ การแปลได้ดีกว่าการแปลกวนี พิ นธ์จากภาษาอืน่ เพราะโครงสร้าง คาของภาษาเขมรกับภาษาไทยมีความคล้ายคลึงกัน บางคาใช้คายืมซ่ึง กันและกัน จึงอาจนาคานั้นไปใช้ในการแปลกวีนิพนธไ์ ดเ้ ลย ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปนี้ การแปลกวีนิพนธ์เขมรเปน็ ภาษาไทย ตน้ ฉบบั ฉบับแปล ฟงั เสียงสายเดีย่ ว សារ រ់្រូ សាភែៀវ ...๑ สดบั เพลงสาเดยี่ วเสยี งทงู ๆ ...១. សារ រ់ភេងល ្សាភែៀវ្រូ ្ព័ ាទងូ ្ៗ ประคบหวั ใจกล่อมคนชาตเิ ขมร ភែញ្ភំអ ែមើ ក្ទូង្រំភពរជាតិខ្មែរ ให้ไดย้ นิ จาคาสัง่ พ่อแม่ ឲ្យឮឲ្យោរំ ណារ ពំ ុក្ខ្ម៉ា ฝากใหร้ กั ษ์มาตภุ มู กิ มั พชู า... ផ្រកំឲ្យក្ូៃខ្ថមាតេុ មូ ិក្មពុជា។... (เมา อายทุ ธ์, 2522) (ភ ៉ា អាយុទធ, ១៩៧៩)

-206- การแปลกวีนิพนธไ์ ทยเปน็ ภาษาเขมร ต้นฉบับ ฉบบั แปล กะเอ๋ยกะทกรก ភែើមភអើយភែើមតណាា เถาเล้อื ยปรกมือป่ายใบมขี น វល្ិវល ្ហរក្រក្់ល្ៃូ ភៅ្កឹល ្មាៃភរាម ดอกสขี าวมว่ งแซมแจม่ ตาคน ផ្ាកពណ៌្ោយសាវ យភមលើ ្ភៅសាអ ត ประโยชนย์ ลบารุงสมองน่าลองกิน ក្រភយជៃ៍យល្់រ៉ូាវក្ំោំង្មួរក្ាល្ ផ្ាករក្ាភរង្មិៃល្ក្់ភែញខ្្ោល ះ ดอกแก้นอนไมห่ ลบั ขับเสมหะ អ្់ក្ង្លវ ្់រក្ាឈឺក្ាល្បាត់ คลายจติ ตะกังวลหายไมเกรนสน้ิ ភែើមតណាា ភក្រើោកំ ្រក្់ែធី លី กะทกรกใช้พชื รกปรกแผ่นดนิ ตม้ นา้ รนิ ดม่ื อุ่นอุ่นมากคณุ เอย (สัจภูมิ ละออ, 2556) ោពំ ុោះពិសាអ៊ុេៃអ៊ុេៃមាៃរៃុ ភអយើ ។ (្ចេា មូ ិ ល្,អ 2013) การแปลเหน็ ไดว้ า่ การแปลดว้ ยวิธีการน้ีจะตอ้ งปรับบททผ่ี ู้ แปลพิจารณาว่าเป็นคาท่ีเสริมความในกวีนิพนธ์ต้นฉบับ และแปลให้ได้ จานวนตามคาและจังหวะของกวีนิพนธ์ต้นฉบับ จึงทาให้คาและพยางค หายไป 2.4 กลวิธกี ารแปลดว้ ยสมั ผัส (Rhymed translation) การแปลด้วยกลวิธีน้ีมีลักษณะคล้ายกับการแปลจังหวะ แตเ่ พม่ิ การใชแ้ บบสัมผัสของต้นฉบบั ลงไปในฉบับแปลด้วย มีข้อจากัดใน ด้านความหมายอาจจะคลาดเคลื่อนบ้างในกรณีที่ผู้แปลน้ันไม่สามารถ เลอื กใช้ถ้อยคาทมี่ ีความหมายไดค้ รอบคลมุ กับภาษาต้นฉบบั ผูแ้ ปลทใ่ี ช้ วิธีการน้ีจะต้องศกึ ษารูปแบบคาประพันธ์ของตน้ ฉบับใหจ้ ดั เจน เพราะจะ มีฉันทลักษณ์ที่มีการบังคบั สัมผัสและจังหวัดอยู่ดว้ ย ฉันทลักษณ์ของคา ประพันธ์เขมรและไทยมีความคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ มีการใช้คา สัมผัสในวรรคหรือสัมผัสใน การสัมผัสระหว่างวรรคหรือการสมั ผสั นอก และมีการสัมผัสเสียงพยัญชนะและสระด้วย ดังนั้น หากผู้แปลสามารถ แปลด้วยวธิ ีการอาจทาให้กวีนพิ นธแ์ ปลมีความสละสลวยและไพเราะเปน็

-207- อย่างมาก แต่ผแู้ ปลจะต้องฝกึ ฝนวิธีการแปลน้ีบอ่ ย ๆ อีกทัง้ จะตอ้ งมคี ลงั คาศัพทเ์ พยี งพอ ดังตัวอยา่ งการแปลกวีนิพนธ์ต่อไปน้ี การแปลกวีนพิ นธเ์ ขมรเปน็ ภาษาไทย ตน้ ฉบับ ฉบบั แปล ฟังเสียงสายเดย่ี ว សារ រ់្រូ សាភែៀវ ...๑ ฟังเพลงสแี วว่ สาเดีย่ ว ...១. សារ រ់ភេងល ្សាភែៀវ្រូ ្ព័ ាទូង្ៗ ยาเยียวกลอ่ มจิตคนเขมร ភែញ្ភំអ ែមើ ក្ទូង្រំភពរជាតិខ្មែរ พ่อแมส่ ง่ั คาชดั เจน ឲ្យឮឲ្យោំរណារ ពំ ុក្ខ្ម៉ា ลกู เขมรรกั ษามาตภุ มู ิ... ផ្រកំឲ្យក្ូៃខ្ថមាតេុ ូមិក្មពជុ ា។... (เมา อายุทธ,์ 2522) (ភ ៉ា អាយុទធ, ១៩៧៩) การแปลกวีนิพนธไ์ ทยเปน็ ภาษาเขมร ต้นฉบบั ฉบบั แปล กะเอย๋ กะทกรก ភែមើ ភអើយភែើមតណាា เถาเลือ้ ยปรกมอื ป่ายใบมขี น វល្ិវល ្ហររាក៉ា ្រក្់ក្ត្កឹល ្ភរាម ดอกสขี าวมว่ งแซมแจ่มตาคน ្ោយសាវ យផ្ាកភមើល្ភ្តើ ភមម ประโยชนย์ ลบารุงสมองนา่ ลองกิน ក្រភយជៃ៍ក្ពមរូ៉ាវក្ំោំង្មួរក្ាល្។ ดอกแกน้ อนไมห่ ลบั ขบั เสมหะ ផ្ាកវ្ហរក្ាភរង្មិៃល្ក្់រភណរ ញខ្្ោល ះ คลายจติ ตะกังวลหายไมเกรนสน้ิ ក្ង្លវ ្់ខ្មលោះរក្ាបាៃឈឺក្ាល្បាត់ กะทกรกใช้พืชรกปรกแผ่นดิน ភែើមតណាា ជារកុ ្ខជាតិក្រក្់ែីកាត់ ตม้ นา้ รนิ ด่ืมอุ่นอ่นุ มากคณุ เอย (สัจภมู ิ ละออ, 2556) ថាែ ំពុោះបាត់ពិសាអ៊ុេៃមាៃរៃុ ភក្ចៃើ ។ (្ចេា ូមិ ល្,អ 2013)

-208- 2.5 กลวิธีการแปลแบบบทรอ้ ยแก้ว (Poetry in prose) การแปลแบบบทร้องแก้วน้ีเหมาะสาหรับผู้ที่ไม่มีการ ฝึกฝนในการเลือกสรรคาเพื่อสร้างสัมผัส ผู้แปลไม่ต้องกังวลเร่ืองฉันท ลักษณ์ โดยอ่านบทกวีนิพนธ์แล้ว ตีความ วิเคราะห์ และถ่ายทอด ความหมายด้วยการร้อยแก้วหรือแบบความเรียง ดังตัวอย่างการแปล แบบร้อยแก้วต่อไปนี้ การแปลกวนี ิพนธ์เขมรเป็นภาษาไทย ตน้ ฉบบั ฉบบั แปล សារ រ់្រូ សាភែៀវ ฟังเสียงสายเดีย่ ว ...១. សារ រ់ភេងល ្សាភែៀវ្រូ ្ព័ ាទងូ ្ៗ ...๑ ฟังเสยี งสาเด่ียวดงั อ้ีแอ้อี ភែញ្ភំអ ែើមក្ទូង្រំភពរជាតិខ្មែរ เหมอื นกับเสยี งนนั้ มาประคบใจที่ ឲ្យឮឲ្យោំរណារ ំពុក្ខ្ម៉ា ផ្រកំឲ្យក្ូៃខ្ថមាតេុ ូមិក្មពជុ ា។... ชื้นใหอ้ นุ่ ปลกุ ใจใหค้ นเขมร เตือน คนทไ่ี ด้ยนิ ให้จดจาคาส่งั ของบรรพ บรุ ษุ ซ่งึ เปน็ พอ่ แมข่ องเรา ทา่ นฝาก (ភ ៉ា អាយុទធ, ១៩៧៩) ไวใ้ หล้ กู รกั ษามาตภุ ูมิ คอื กมั พชู า... (เมา อายทุ ธ,์ 2522) การแปลกวนี พิ นธไ์ ทยเป็นภาษาเขมร ตน้ ฉบบั ฉบับแปล กะเอย๋ กะทกรก ភែើមចណំ ង្ចណំ ូ ល្ចតិ រ ឬភែមើ តណាា ជា เถาเล้อื ยปรกมือป่ายใบมขี น វល្ិខល ្ែល្វ្ហរក្រក្់រាៃភ ើយ្កឹល ្មាៃភរាម។ ดอกสีขาวม่วงแซมแจม่ ตาคน ផ្ាកវ្ហមាៃពណ៌្ោយៃងិ ្ពណ៌សាវ យភមលើ ្ ประโยชนย์ ลบารุงสมองน่าลองกนิ ភៅសាអ តបាត។ វ្ហមាៃក្រភយជៃ៍ភក្ចៃើ ែចូ ជា ថាែ ំរ៉ូាវក្ំោងំ ្មួរក្ាល្ ថាែ ភំ រង្មិៃល្ក្់ ថាែ ំ ดอกแกน้ อนไมห่ ลบั ขับเสมหะ คลายจติ ตะกังวลหายไมเกรนสนิ้ กะทกรกใช้พชื รกปรกแผน่ ดิน រភណរ ញខ្្ោល ះ ថាែ រំ ក្ាជំង្ឈឺ ឺក្ាល្ក្រកាំង្ ตม้ น้ารนิ ดม่ื อนุ่ อุ่นมากคณุ เอย ភ ើយភរោទំ ុក្ភែមើ បីក្រក្់ែីធល។ី ភពល្ពិសា ជាថាែ ភំ រភក្ចើៃភក្រើជាថាែ ពំ ុោះ រោឺ ជំ ាមួយទឹក្ (สัจภูมิ ละออ, 2556) ភក្ៅភ យើ ពិសា។ (្ចេា ូមិ ល្,អ 2013)

-209- 2.6 กลวิธกี ารแปลแบบกลอนเปล่า (Blank verse translation) กล อนเป ล่าถือว่าเป็นร้อ ยก รอ งช นิด ห น่ึ ง ที่ไ ม่มี กา ร สั ม ผั ส ระหว่างวรรค ไมม่ ีขอ้ กาหนดทางฉนั ทลกั ษณ์ มอี สิ ระในการเสนอความรู้ ไดอ้ ย่างเตม็ ที่ กลอนเปล่า เป็นคาประพันธ์ท่ีได้แบบอย่างจากตะวันตก ท่ี เรียกว่า แบลงคเ์ วอรส์ (Blank Verse) หรอื ฟรีเวอร์ส (Free Verse) และ จากอิทธพิ ลของกวีนพิ นธ์ตะวนั ออก ได้แก่ จนี และญ่ีปุ่น ซึง่ ไม่มีรูปแบบ ท่ีแน่นอน ใชก้ ลวธิ ใี นการแต่งอย่างอสิ ระ ไมค่ านึงในเรื่องสมั ผสั คลา้ ยรอ้ ย แก้ว แตใ่ ชจ้ ังหวะและลลี าโวหารแบบร้อยกรอง เนื้อหาแนวปรชั ญา และ แทรกความคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ การแปลกลอนเปล่าเป็นการแปลแบบไม่สัมผัสคา แต่ละ บรรทัดหลักสาคัญก็คือ การพยายามรักษาหน่วยการแปลไว้ในระดับ วรรคและบรรทัด โดยพยายามรักษาระเบียบการเรียความคิดไว้ให้ ตรงกันต้นฉบับ ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้ การแปลกวนี ิพนธ์เขมรเปน็ ภาษาไทย ต้นฉบับ ฉบบั แปล ฟงั เสยี งสายเดยี่ ว សារ រ់្រូ សាភែៀវ ...๑ ฟังเสียงสาเด่ียว ...១. សារ រ់ភេងល ្សាភែៀវ្រូ ្ព័ ាទូង្ៗ ด่งั จะปลุกใจคนเขมร ភែញ្ភំអ ែមើ ក្ទូង្រំភពរជាតិខ្មែរ จดจาคาสั่งของบรรพบรุ ษุ ឲ្យឮឲ្យោរំ ណារ ពំ ុក្ខ្ម៉ា ฝากใหร้ ักษามาตภุ มู ิ.... ផ្រកឲំ ្យក្ូៃខ្ថមាតេុ មូ ិក្មពុជា។... (เมา อายุทธ,์ 2522) (ភ ៉ា អាយុទធ, ១៩៧៩)

-210- การแปลกวีนิพนธไ์ ทยเปน็ ภาษาเขมร ตน้ ฉบบั ฉบบั แปล กะเอ๋ยกะทกรก ភែមើ ចណំ ង្ចណំ ូ ល្ចតិ រ ឬភែមើ តណាា เถาเล้ือยปรกมอื ป่ายใบมีขน វល្ិ្ល កឹល ្មាៃភរាម ពណ៌្ោយសាវ យរផឺ ្ាក។ ดอกสขี าวม่วงแซมแจ่มตาคน មាៃក្រភយជៃ៍ឥរណនា ជាថាែ រក្ាជំង្ឺ ประโยชน์ยลบารุงสมองน่าลองกนิ រូ៉ាវក្ំោំង្មួរក្ាល្ ភរង្មិៃល្ក្់ រភណរ ញខ្្ោល ះ ឈឺក្ាល្ក្រកាំង្ ดอกแกน้ อนไมห่ ลบั ขับเสมหะ ោទំ កុ ្ភែមើ បីក្រក្់ែធី ល។ី ពិសាជាថាែ ំពុោះ។ คลายจติ ตะกังวลหายไมเกรนสน้ิ กะทกรกใชพ้ ชื รกปรกแผ่นดนิ ตม้ นา้ รนิ ดื่มอุ่นอ่นุ มากคณุ เอย (สจั ภูมิ ละออ, 2556) (្ចេា ូមិ ល្,អ 2013) กลอนเปล่าเขมรยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ส่วนใหญ่อยู่ในแวด วงวัยรุ่นที่เขียนเพื่อดังน้ันเวลาแปลกวีนิพนธ์ไทยเป็นเป็นภาษาเขมร ผู้ แปลจะตอ้ งเข้าใจกลอนปลา่ วของเขมรเป็นอย่างดี เพราะกลอนเปล่ามุง่ นาเสนอปรชั ญา ความคดิ ของกวผี ู้ประพันธ์ 2.7 กลวธิ ีการแปลแบบตีความ (Interpretation) การแปลด้วยวธิ แี บบตีความนี้ เป็นการแปลอธิบายความ เน้อื หาตนฉบับ รูปแบบอาจจะเปลย่ี นแปลงไป ผแู้ ปลจะถา่ ยทอดรูปแบบ ท่ีแตกต่างออกไปในฉบับแปล ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับการตีความที่แตกต่างกัน ออกไป ภาษาในกวีนิพนธ์ที่ต้องตีความก็คือภาษาเน้นการสะเทือน อารมณแ์ ละการยกตวั อยา่ งในวัฒนธรรมการใชภ้ าษาของตน้ ฉบับ แตเ่ ม่อื แปลเปน็ อีกภาษาหนง่ึ ท่ีใช้ในวัฒนธรรมแตกตา่ งกนั ความหมายกอ็ าจจะ แตกต่างกัน การแปลแบบตีความกวีนิพนธ์น้ันส่วนใหญ่จะเป็นการแปล ด้วยอธิบายความเนื้อหาท่ีเป็นสานวน อุปมาอุปไมย หรือเปรียบเปรยท่ี ปรากฏในบทกวี การแปลแบบกวีนิพนธ์ในภาษาเขมรและภาษาไทยมี

-211- ลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ดังได้ยกตัวอย่างในบทที่ว่าด้วยการปรับบท การแปลแล้ว เช่น ក្ក្រីបាត់ ភទើរភធវើររង្ ภาษาเขมร ภาษาไทย วัวหายลอ้ มคอก การแปลกวนี พิ นธ์หากมสี านวนอย่ใู นกวนี พิ นธต์ ้องตีความโดย อาศัยบริบททางวัฒนธรรมประกอบด้วย หากแปลกวีนิพนธ์ดังตัวอย่าง ข้างบนว่า “ควายหายจึงล้อมคอก” ตามเน้ือหาในภาษาไทย ผู้อ่านงาน แปลเข้าใจได้ แต่ความรู้สึกไม่เหมือนในสานวนไทยทใ่ี ช้ว่า “วัวหายล้อม คอก” กลวิธีทั้ง 7 ประการดังท่ีไดก้ ล่าวมานี้สามารถนาไปปรับใชใ้ น การแปลกวีนิพนธ์ภาษาเขมรไดเ้ ปน็ อยา่ งดี งานแปลวรรณกรรมท่ีดี การแปลวรรณกรรมท่ดี นี ัน้ มลี ักษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. มีความถูกต้อง ชัดเจน กะทัดรัด สะกดตามพจนานุกรมและ สมยั นิยม ไมใ่ ชคาฟุ่มเฟอื ยเกนิ ความจาเป็น 2. ใช้ประโยคท่ีมีโครงสร้างไมซ่ ับซอ้ น 3. ไมม่ ีการแสดงความคดิ เหน็ ของผ้แู ปล 4. ใช้คา สละสลวย การใช้สานวน และคาคุณศัพท์ที่เหมาะสม กับหลักของภาษา 5. มกี ารใช้ภาษาถกู ตอ้ งตามระดับของภาษา เช่น ภาษาราชการ คาสุภาพ คาราชาศพั ท์ และภาษาพูดในชวี ติ ประจาวนั ภาษาระดบั กลุม่ อายเุ ดยี วกัน และกลุ่มอาชพี เดยี วกนั เปน็ ตน้ 6. มีความเหมาะสมกับจุดประสงค์ในการใช้ภาษา เช่น การเล่า เรื่อง การโตแ้ ย้ง การแสดงอารมณ์ขัน การบรรยาย และ การเปรียบเทยี บ เปน็ ต้น 7. มีผลทางอารมณต์ อ่ ผอู้ ่านเหมือนงานต้นฉบับ 8. มีการใช้ภาษาตามสมัยนยิ มและตามวฒั นธรรม

-212- บทสรุป การนาเสนอวรรณกรรมมีวิวฒั นาการและเปลย่ี นแปลงตามลาดบั กล่าวคือจากการเล่าปากต่อปากเป็นการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร การบันทึกลายลักษณ์อักษรก็มีการเปลี่ยนจากศิลา ใบไม้ และกระดาษ ปัจจุบันเป็นเอกสารท่ีใช้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่ในระบบ ออนไลน์ วรรณกรรมดังกล่าวมีทั้งวรรณกรรมต้นฉบับและวรรณกรรม แปล จึงแสดงให้เห็นว่า การแปลวรรณกรรมถือว่ายังมีความสาคัญมาก ต่อสังคมโลก การแปลวรรณกรรมเขมรเป็นไทยและไทยเป็นเขมรนั้น ก็ ยังมีความสาคัญต่อกลุ่มที่พูดภาษาไทยและภาษาเขมรเพื่อรับรู้ผลงาน การผลิตงานสร้างสรรค์ของแตล่ ะชาติ โดยเฉพาะในปจั จุบนั การแปลบท ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ไทยเป็นภาษาเขมรเป็นที่นิยมในประเทศ กัมพูชามาก ผู้แปลวรรณกรรมจึงต้องฝึกฝนในการถ่ายทอดความหมาย ของตน้ ฉบับให้ตรงกบั ภาษาในต้นฉบบั ใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ

-213- บทที่ 8 การแปลงานธรุ กิจ บทนา ธุรกิจเป็นกิจกรรมท่ีมีจุดมุ่งหายเพื่อให้ได้ผลกาไร เช่น บริษัท ห้างร้าน ตลอดจนรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ ซ่ึงเป็นการดาเนินของรัฐ เช่น การ สร้างถนนหนทาง โรงเรียน โรงพยาบาล และอ่ืน ๆ ไม่ถือว่าเป็นธุรกิจ เพราะมไิ ด้มจี ดุ มุ่งหมายด้านกาไร แต่เปน็ การให้บริการแก่ประชาชนโดย มีจุดมุ่งหมายใหป้ ระชาชนมีความเปน็ อยู่ดีข้ึน ธุรกิจเป็นหวั ใจสาคัญของ สังคม เพราะสงั คมจะเจรญิ กา้ วหน้า มีความเปน็ อย่ทู ี่ดี และเปน็ ท่ียอมรบั ของชาวต่างประเทศ ปัจจุบันไทยและกัมพูชาได้มีการดาเนินการทางธุรกิจมีจานวน หลายสาขา องค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญในการทาธุรกิจระหว่างไทยและ กัมพูชาก็คือภาษา นอกจากน้ีการดาเนินการทางธรุ กิจย่อมเก่ียวข้องกบั การใช้เอกสารทางธุรกิจ นอกจากภาษาอังกฤษที่ใช้เบ้ืองต้นในการ ส่ือสารกันทางธุรกิจแล้ว ภาษาเขมรและภาษาไทยก็มีความสาคัญไม่ แตกต่างกัน จงึ ทาให้การแปลภาษามคี วามสาคญั ในการดาเนินธุรกิจของ ทั้งไทยและกัมพูชามาก หากการแปลภาษาไม่วา่ จะเป็นการแปลเอกสาร และการแปลดว้ ยการใช้ล่ามท่ีมีประสิทธิภาพ การดาเนนิ การทางธุรกิจก็ ย่อมมีความสาเร็จเจริญก้าวหนา้ เช่นเดียวกัน ลกั ษณะการแปลงานธุรกิจ ภาษาธุรกิจเป็นหนง่ึ ในทาเนียบของภาษาเฉพาะกิจ ขอบเขตของ ภาษาธุรกิจกว้างขวางครอบคลุม ภาษาโฆษณา ภาษา การสัมภาษณ์ การเขียนคาอวยพร การแถลงข่าว การเขียน บทความวิชาการ เป็นตน้ ภาษาในการส่อื สารธุรกจิ เป็นภาษาท่ีมีมนต์ อานาจ โน้มนา้ ว และเรง่ เร้า ผู้ฟัง หรือผู้อ่านให้มีพฤติกรรมที่กอ่ ให้เกิดความสาเรจ็ ทางธรุ กิจ

-214- การทางานด้านธุรกจิ จึงจาเป็นต้องมคี วามสามารถในการส่ือสาร ท้ัง 4 ทักษะ คือการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียนภาษาท่แี ละเป็น ท่ีนิยมในแวดวงธุรกิจ ทั้งใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารกับบุคลากรในองค์กร เดียวกันหรือต่างองคก์ ็ตาม ตัวอย่างเช่น การพูดอธิบายเรื่องการทางาน การพดู โทรศพั ท์ การประชมุ การส่งซอื้ การตดิ ตอ่ และการประสานงาน เปน็ ต้น เม่ือการธุรกิจขยายวงกว้างมากย่ิงข้ึน มีการติดต่อประสานงาน ธุรกิจกับต่างชาติ เช่น การสั่งซื้อ การรับแรงงานต่างชาติ การส่งสินค้า ข้ามแดน และการส่งเอกสารไปยังหน่วยงานต่างประเทศ เป็นต้น การ แปลจึงมคี วามสาคญั ในแวดวงธรุ กจิ อย่างมาก การตดิ ต่อธุรกิจกับประเทศกัมพชู าจงึ จาเปน็ จะตอ้ งใช้ภาษาเขมร ในการสื่อสารทางธุรกิจ การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและการ แปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรจึงมีบทบาทสาคัญต่อนักธุรกิจไทยและ กมั พูชา นกั แปลภาษาทางด้านธุรกจิ จาเป็นจะตอ้ งเรยี นรศู้ ัพท์เฉพาะและ วฒั นธรรมการใชภ้ าษาทางดา้ นธุรกจิ ทง้ั ท่ีเป็นภาษาไทยและเขมร ใ น ท่ี นี้ ผู้ เ ขี ย น จ ะ ร ว บ ร ว ม ค า ศั พ ท์ ท า ง ธุ ร กิ จ ท่ี จ า เ ป็ น ใ น ก า ร แปลภาษาทางธรุ กจิ ไว้เปน็ ตวั อยา่ งในการแปลภาษา โดยนาภาษาอังกฤษ มาเปรียบเทียบด้วย อันจะเป็นประโยชน์ต่อนักแปลท่ีจะนาเป็นองค์ ความรแู้ ละพัฒนาการแปลงานทางด้านธุรกิจตอ่ ไป เขมร ไทย อังกฤษ บรษิ ัท Company ក្រមហ៊ុ ន วิสาหกจิ Enterprise សហក្ាស ห้าง Store/Shop ហាង รา้ นค้า Store/Shop តបូ លរ់/រានលរ់ โรงงาน factory ររាងចក្រ ธุรกิจ Business ពាណិ ជ្ជរមម บริษทั company ក្រមុ ហ៊ុ ន

-215- เขมร ไทย องั กฤษ ห้าง ร้าน Store ហាង Microfinance ไมโครไฟแนนซ์ មីក្រូហិរញ្វញ តថុ Public Company บรษิ ทั มหาชนจากัด Limited ក្រុមហ៊ុ នសាធារណៈលីមីត Bank ធីត ธนาคาร finance ធនាារ การเงนิ furniture ហិរញ្វញ តុថ เฟอร์นิเจอร์ realty សង្ាហរមឹ อสังหาริมทรพั ย์ Employee អចលនក្រព្យ พนกั งาน, ลูกจา้ ง Employer និរោជ្ិរ นายจา้ ง, เจ้าของ Invest នរិ ោជ្រ ลงทุน Capital វនិ រិ ោគ ทุน រ៊ុន การแปลภาษาทางด้านธุรกิจ แบ่งหัวข้อสาคัญเป็น 2 ประการ คือ 1) การแปลเอกสารทางธุรกิจ 2) การแปลงานประชาสัมพันธ์ธุรกิจ ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. การแปลเอกสารทางธุรกจิ เอกสารธุรกิจ (business documents) หมายถึง เอกสาร หรือตราสารที่จัดทาขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรในการประกอบธุรกิจ โดย อาจจัดทาขึ้นในรูปของแบบฟอร์มหรือในรูปของแบบพิมพ์หรือเขียนข้นึ ในลักษณะทถ่ี ูกต้องตามกฎหมายมจี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ใช้เปน็ หลกั ฐานยืนยัน หรืออา้ งองิ ในการประกอบธรุ กจิ แบ่งเปน็ 5 ประเภท ดังน้ี 1) เอกสารทางการค้า เช่น ใบสอบถามราคาสินคา้ ใบเสนอ ราคา ใบสัง่ ซ้ือสินคา้ ใบส่งของ บลิ เงนิ สด และใบเพิ่มหน้ี ฯลฯ เปน็ ต้น 2) เอกสารเครดิตทางการเงิน เชน่ ต๋ัวเงนิ บัตรเครดติ ธนาณตั ิ และ เลตเตอร์ออฟเครดิต เป็นตน้

-216- 3) เอกสารการนาเข้าละส่งออก เช่น ใบกากับสินค้าสารอง ใบกากบั หบี หอ่ ใบขนสนิ ค้าเข้า ใบขนสินค้าขาออก ใบแสดงแหลง่ กาเนดิ ของสินค้า กรมธรรม์ประกันภัย ใบรับรองการประกันภัย ใบรับรอง น้าหนักของสินคา้ ใบรับรองการตรวจสินค้า และแบบธรุ กิจตา่ งประเทศ ธ.ต. 1 เปน็ ตน้ 4) เอกสารการประกันภัย ประกอบด้วยการประกันชีวิต ประกันวินาศภัย เอกสารที่เก่ียวข้องได้แก่ ใบคาขอเอาประกันภัย (application form) กรมธรรม์ประกันภัย (insurance policy) กรมธรรม์เปดิ (open policy) หนงั สือรบั รองการประกันภยั (certificate of insurance) หนังสอื เรยี กร้องคา่ สินไหมทดแทน (claim form) เปน็ ต้น 5) เอกสารการขนสง่ เช่น ใบจองเรือ (booking note) ใบสั่ง ให้ขนสินค้าขึ้นเรือ (shipping order) ใบขนสินค้าข้ึนเรือ (mate's receipt) ใบตราสง่ สนิ คา้ (bill of lading) สญั ญาเช่าเหมาเรือ (charter party, C/P) ใบสั่งปล่อยสินค้า(delivery drder D/O) รายการบัญชี สินค้า (manifest) ใบพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ (air Way Bill) ใบตราส่ง ทางรถไฟ (rail way bill) ใบรับพัสดุภัณฑ์ไปรษณีย์ (parcel post notification) ตัวอย่างการแปลเอกสารทางธุรกิจเขมรเป็นภาษาไทยและ ไทยเปน็ ภาษาเขมร ดงั นี้ 1.1 การแปลใบเสรจ็ รับเงิน เขมร ไทย องั กฤษ มดั จา Deposit ររ់ ម៊ុន จานวน Quantity ចំននួ รายการ Name of Goods រ្ម ោះម៊ុខរំនិញ ราคาตอ่ หนว่ ย Unit Price តំលលរាយ จานวนเงนิ Amount តំលលក្សបុ

เขมร ไทย -217- ท่ีอยู่ រីតងំ /អាសោា ន คงคา้ ง อังกฤษ រៅខវោះ บิลเงนิ สด Address បងកាន់លៃ ที่ Balance ល. (លំដាប់) ใบเสร็จรบั เงนิ Case salles វរិ ័យប័ក្ត ใบเสรจ็ รบั เงนิ No. វរិ ័យប័ក្តផ្ូលវការ รวม Receipt/Invoice ក្សបុ ลูกคา้ Official Receipt អនររិញ คนขาย Total អនរលរ់ แคชเชยี ร์ Bayer អនរគិតល៊យុ เชค็ เงนิ สด Seller មូលបបទានប័ក្ត บัตรเครดิต Cashier កាតឥណទាន Cash check Credit Gard ภาพท่ี 35 ตวั อยา่ งใบเสรจ็ รับเงนิ ภาษาเขมร ท่มี า : บญั ญตั ิ สาลี (ถา่ ยเม่ือวันที่ 14 สงิ หาคม 2563)

-218- ภาพท่ี 36 ตัวอยา่ งใบเสรจ็ รับเงินภาษาไทย ทม่ี า : บญั ญตั ิ สาลี (ถ่ายเมื่อวันท่ี 14 สงิ หาคม 2563) ดังภาพแสดงตัวอย่างจะเห็นว่า คาศัพท์ท่ีใช้เรียกช่ือโดยมี ภาษาอังกฤษกากับ ใบเสร็จรับเงินในภาษาเขมรใช้ได้ทัง้ คาว่า Receipt และ Invoice แต่ในภาษาไทยใช้เฉพาะคาวา่ Receipt เท่าน้ัน สว่ นคาวา่ Invoice ในภาษาไทยใชใ้ นความหมายวา่ “ใบแจง้ หนี้” 1.2 การแปลเอกสารธรุ กิจประกนั คาว่า “ประกัน” ในภาษาเขมรใช้ว่า “ធានារា៉ាប់រង” เป็น ธุรกจิ ทไี่ ด้รบั ความนิยมตามลาดบั ปัจจุบันมีบริษัทประกันภัยสัญชาติไทยดาเนินการธุรกิจใน ประเทศกัมพูชาหลายบริษทั ภาษาที่ใชใ้ นธรุ กจิ ประกัน มดี ังน้ี เขมร ไทย อังกฤษ ประกัน, ประกันภยั Insurance ធានារា៉បា ់រង ធានារា៉បា ់រងអាយ៊ុ ជ្ីវតិ ประกนั ชีวิต Life insurance សំណង រូទាត់ ค่าสนิ ไหมทดแทน Compensation ក្ារ់ ប៊ុព្វលាភ จ่าย Pay เบ้ียประกันภัย Premium แบบฟอรม์ Form

เขมร ไทย -219- ขอรับหรือเรยี กร้อง องั กฤษ រក្មង់បបបបរ ค่าสินไหมทดแทน Claim ទាមទារសំណង ปกปอ้ ง, ประกัน insure ធានា ตวั อย่างการแปลเอกสารธรุ กิจประกันภัยเขมรเป็นภาษาไทย ต้นฉบับ សំរណើសំរ៊ុ ាោះបង់ពាក្ររសសើន ំ/៊ុ បណណ សនារា៉បា ់រង កាលបររិ ចរឆ / ………………….. រលខពារយរសសើន ំ.៊ុ ........................ រលខបណណ សនារា៉បា ់រង........ ម្ាខស់បណណ រា៉បា ់រង................. អនរក្តូវានធានារាប៉ា ់រង................ ខ្/ំុ រយងើ ខ្ំជុ ាម្ាខស់បណណ សនារា៉បា ់រងខាងរលើ សមូ រសើ៖ន  រាោះបង់រោលទាងំ ក្សង់នវូ ពារយ/បណណ សនារា៉បា ់រងខាងរលរើ ដាយមូលរហត.៊ុ ....................... និងអនញ៊ុ ្ញញ តឱ្យក្រុមហ៊ុ នធានារា៉ាប់ រងរចូ ផ្៊ុតព្ីការររួលខ៊ុសក្តូវទាំងក្សុងចរំ ពាោះបណណ សនា រាប៉ា ់រងអាយ៊ុ ជ្ីវតិ ខាងរលើ។ ររបៀបរូទាត់  រផ្រេ តមរយៈធនាារ រ្ម ោះម្ាខស់គណនី.................................... រលខគណនី................................................ ធនាារ...................................... រ្ម ោះសាខា..............................រខត/ត ក្រុង................  មូលបបទានប័ក្តរៅមជ្ឈមណឌ លបរក្មរើ សវាអតិថជិ ្នរបស់ក្រុមហន.....  សាច់ក្ារ់សក្ម្ខប់អតថិ ជិ ្នមិនម្ខនគណនរី ៅធនាារអសលី៊ុ ដី ា ឬធនាាររផ្េងររៀត រ្ម ោះអនរររលួ ................................... រលខអតសត ញ្ញញ ណប័ណណ ............................. រលខររូ ស័ព្េ......................................... រ្ម ោះសាខាធនាារ................................. អាសយដាា នសាខា................................................................................................  រូទាត់បង់ប៊ុព្វលាភរដាយការរផ្រេ រៅរលបើ ណណ សនារា៉បា ់រងៃូចខាងរក្កាម ខ្/ំុ រយងើ ខ្សំុ មូ អោះអាងៃចូ តរៅ ព្័តម៌ ្ខនបៃលខ្ំុ/រយើងខ្ាំុ នក្បកាសរនងុ សំរណរើ នោះគឺព្ិតជាក្តឹមក្តូវ និងក្គប់ក្ាន់ ម្ាខស់បណណ សនារា៉បា ់រង (ចោ៊ុ ះហតរថ លខា និងសររសររ្ម ោះរព្ញជាអរេរតចូ ) ............................................................. រ្ម ោះរព្ញ...........................................

-220- ฉบับแปล ใบเสนอขอยกเลิกคารอ้ ง/สญั ญาประกัน วันเดือนปี ………………….. เลขท่ี ......................... เลขสัญญาประกัน........ ผ้เู อาประกัน................. ผ้ปู ระกัน..................... ข้าพเจ้า เจ้าของสัญญาประกันดังกล่าวข้างบนขอย่ืนคาร้อง ดังต่อไปน้ี  ยกเลกิ คาร้อง/สัญญาประกันข้างบนทั้งหมด เพราะสาเหตุ........................ แ ละ อ นุญ า ต ให้ บริษัท ปร ะ กั นภั ย พ้ นจ า กค วา ม รับ ผิด ขอ บต า ม สัญ ญ า ปร ะ กั น ชี วิ ต ข้างบนน้ที ั้งส้นิ วธิ ีการเบิกจ่าย  โอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ช่อื -สกุลเจ้าของบัญชี ................................. เลขบัญชี............................ ธนาคาร.............................. สาขา..............................จังหวัด................  เชค็ เงินสด ณ ศูนย์บรกิ ารลกู ค้าของ บรษิ ัท .....  เงินสดสาหรับลกู ค้าทไ่ี ม่มบี ัญชีท่ีธนาคารเอซีเลดาหรอื ธนาคารอนื่ ๆ ชอื่ ผ้รู ับ................................... เลขบัตรประจาตัวประชาชน............................. โทรศัพท์................................... ธนาคารสาขา................................. ท่ีตั้งสาขาของธนาคาร................................................................................................  ชาระเบ้ยี ประกันภัยโดยโอนเข้ากรมธรรม์ ดังต่อไปน้ี ข้าพเจ้าขอยืนยันว่า ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้แจ้งไว้ในใบเสนอขอน้ีเป็นความจริงและ ครบถ้วนทกุ ประการ ผ้เู อาประกัน (ลงลายมอื ช่อื และเขียนชือ่ ด้วยตัวบรรจง) ............................................................. ชอ่ื เตม็ ...........................................

-221- ตวั อยา่ งการแปลเอกสารธุรกจิ ประกนั ภยั ไทยเป็นภาษาเขมร ตน้ ฉบบั แบบฟอร์มเรยี กร้องสนิ ไหมทดแทน ชือ่ และนามของผู้เอาประกันภัย...................................................................  บัตรประจาตัวประชาชน  อนื่ ๆ .......................  เลขที.่ ........................................... ท่านต้องการรับเงินค่าสนิ ไหม โดยจ่ายเป็น  เช็ค  โอนเงินเข้าบัญชธี นาคาร.................. สาขา........................................เลขบัญชี.....................................ชอื่ บัญช.ี .......................... .... (ในกรณที ีแ่ จ้งโอนเงินเป็นครั้งแรก ขอให้ท่านแนบสาเนาหน้าสมุดบัญชี) มกี ารเปลย่ี นแปลงทอี่ ย่หู รอื ไม่  ไม่มี  มี กรุณาแจ้งที่อย่ปู ัจจุบัน........... .................................................................................................................................................... โทรศัพท์มอื ถอื ........................................................ Email......................................................... (ลงลายมอื ช่อื ).............................................. ผ้เู อาประกัน/ผู้มสี ทิ ธใิ นกรมธรรม์ วันท่.ี ........................................................ ฉบบั แปล រ្ម ោះបណណ ធានារាប៉ា ់រង..............................................................................................................  អតសត ញ្ញញ ណប័ណណ  ប័ណណ រផ្េងៗ .......................  រលខប័ណណ ............................................ អនរក្តូវការឱ្យក្រុមហ៊ុ នរូទាត់តមរយៈ  មូលបបទានប័ក្ត  រផ្រេ តមរយៈធនាារ............. សាខាធនាារ................................រលខគណនី.............................ម្ាខស់គណនី............................... (រនុងររណី បៃលានក្បកាសជារលើរៃំបូង សមូ អនររមតបត ញ្ូនជ ចាប់ចមលងលនគណនីផ្ង) រតើម្ខនការផ្លលស់បតូរអាសយដាា នររ?  ាម ន  ម្ខន សមូ រមតត ក្ាប់ អាសយដាា នបចុបា ន.ន ...................................................................................................................... រូរសព្េលៃ........................................................ Email......................................................... (ចោ៊ុ ះហតរថ លខា).......................................... ម្ាខស់ធានារាប៉ា រង/ អនរម្ខនសិររធ នងុ សនាធានារា៉បា ់រង កាលបររិ ចរឆ ......................................................... การแปลเอกสารทางธุรกิจที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้นนี้จะเห็นได้ ว่ามีการแปลเหมือนกันเอกสารทางราชการซ่ึงได้กล่าวไว้แลว้ ในบททีว่ า่

-222- ด้วยการแปลงานวิชาการ เพราะเป็นเอกสารสาคัญที่สามารถนาเป็น หลักฐานทางกฎหมายได้ จึงนาการใช้ภาษาทางธุรกิจมานาเสนอดัง ตัวอยา่ งขา้ งล่างนี้ เพ่อื ให้เห็นวา่ การดาเนินการทางธุรกิจ นอกจากจะใช้ ภาษาอย่างเป็นทางการแล้ว ยังมกี ารใช้ถอ้ ยคาทีต่ ้องการโน้มน้าวจิตใจผู้ ท่จี ะใชบ้ รกิ ารอีกด้วย ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้ ภาพที่ 37 ตวั อยา่ งภาษาเขมรในธรุ กจิ ประกันภัยในประเทศกมั พชู า ท่มี า : //www.prudential.com.kh/km/make-a-claim (เข้าถึงเมือ่ 25 ตุลาคม 2563) ต้นฉบับ ការដារ់ពារយ ទាមទារសណំ ង សក្ម្ខប់ររណី ធមមត រយើងខ្ុំនឹងរធវើការផ្ដល់សំណងជ្ូនរនុងរយៈរព្ល ៣ លថៃ រដាយ រាប់ ោប់ ព្ីលថៃបៃលក្រុមហ៊ុ នានររួលឯរសារក្គប់ក្ាន់។ មិនថាអនររធវើការដារ់ ពារយទាមទារសំណងតមរយៈជ្ំនយួ ព្ីភ្ននរ់ង្ហរ ឬ រដាយខលួនឯងផ្េលល់រនាោះររ រយើង ខ្ំនុ ឹងផ្ដល់ជ្ូនអនរនូវៃំរណើរការទាមទារសំណងបៃលម្ខនភ្នព្ង្ហយក្សួល និង្ប់ រហ័ ស។

-223- ฉบบั แปล การขอรับค่าสนิ ไหมทดแทน ในกรณปี กติ เราจะดาเนนิ การจ่ายคา่ สนิ ไหมทดแทนภายในระยะเวลา 3 วนั นบั ตัง้ แตว่ นั ที่บรษิ ัทไดร้ บั เอกสารครบถว้ น ไมว่ ่าทา่ นจะย่นื คา เรยี กร้องสนิ ไหมผา่ นพนักงานหรอื ดว้ ยตนเอง เราจะมอบความ สะดวกสบายและรวดเร็วในการเรียกร้องคา่ สนิ ไหมให้แกค่ ณุ ตวั อยา่ งการแปลธรุ กจิ ประกนั ภัยไทยเป็นภาษาเขมร ภาพที่ 38 ตัวอยา่ งภาษาไทยในธุรกิจประกันภยั ทม่ี า : www.prudential.co.th/corp/prudential-th/th/ our-claims-promise (เข้าถึงเม่ือ 25 ตลุ าคม 2563) ต้นฉบบั คาม่ันสญั ญาในการพิจารณาสินไหม กรมธรรมป์ ระกนั ชวี ติ จากพรูเดน็ เชียลช่วยปกปอ้ งคุณและ ครอบครวั ในชว่ งเวลาที่ยากลาบากของชวี ติ ดว้ ยขั้นตอนการพิจารณา จา่ ยคา่ สินไหมทดแทนทีเ่ รียบง่าย รวดเร็ว เพยี งใช้เฉพาะข้อมลู ท่ีจาเปน็ ตอ่ การพจิ ารณาเท่าน้ัน

-224- ฉบับแปล ពារយសនាលនព្ិោរណាសំណង ធានារាប៉ា ់ រងអាយ៊ុ ជ្ីវតិ លនក្រុមហ៊ុ នក្ព្ូៃិនសលធានាអនរ និងក្គួសាររៅ រព្លរហត៊ុការណ៍ អរ៊ុសលណាមួយ។ នតី ិវធិ ីសក្ម្ខប់ ការព្ិោរណារលើការរូទាត់ សំណងគឺជាសាមញ្ ញ ្ប់ រហ័ ស រក្រើនបតរក្បើព្ត៌ម្ខនបៃលោំាច់រលើការព្ិោរណា ប៉៊ុារណាណ ោះ។ 2. การแปลงานโฆษณาทางธุรกจิ การแปลงานโฆษณาถือวา่ เป็นการแปลทม่ี ุ่งเน้นวตั ถุประสงค์ ในทางธุรกิจ และมุ่งเน้นสื่อสารแนวคิดของส่ิงท่ีเจ้าของสินค้า โดย ตัวแทนโฆษณาวางแผนไว้ทจ่ี ะจงู ใจผ้บู ริโภคซึง่ กค็ อื ผู้อา่ นใหเ้ กิดความคดิ ความเชื่อ หรือทัศนคติต่าง ๆ ในทางที่ดีต่อสินค้า จึงควรเลือกเทคนิค แปลแบบเหมาะสมและแปลแบบยดึ ผูอ้ ่านเปน็ หลกั 2.1 หลกั การแปลงานโฆษณา งานโฆษณาเป็นงานท่ีเสนอข้อมูลของสินคา้ ประกอบไป ด้วยช่ือสินค้า ราคา ขนาด คุณสมบัติ และลักษณะพิเศษของสินค้า ซึ่ง การทาให้ผบู้ รโิ ภคสามารถเขา้ ใจข้อมลู ของสินคา้ ได้จึงถือเป็นเรือ่ งสาคัญ อย่างมาก แต่โดยปกติแล้วผู้บริโภคมักจะอ่านหรือดโู ฆษณาแบบผ่าน ๆ ด้วยความสนใจท่ีมีอยู่อย่างจากัด และมีโฆษณาจานวนน้อยมากที่ ผบู้ ริโภคจะใหค้ วามสนใจจนถึงระดับที่มกี ารคิดถงึ รายละเอยี ดขอ้ มลู ของ สินค้าน้ัน จึงเป็นความท้าทายของนักโฆษณาหรือเจ้าของผลิตภัณฑ์ใน การทาให้ผู้บริโภคสนใจในโฆษณาอนั สง่ ผลตอ่ การใช้ผลติ ภณั ฑ์ โครงสรางของงานโฆษณา พนมพร นิรัญทวี (2544: 57) นาเสนอไว้ 5 สวน ได้แก่ 1. พาดหัวโฆษณา (Headline) เปนสวนที่เรียกความ สนใจของผูบรโิ ภคเขาสูเนือ้ เรือ่ งโฆษณาโดยทันที

-225- 2. พาดหวั รอง (Sub – headline) เปนขอความขยายทา ใหพาดหัวกระจางขึ้นหรือสรางความเขาใจท่ีตอเน่ืองเปนสวนที่อาจมี หรือไมมกี ไ็ ด 3. ขอความอธิบาย (Body – copy) เปนโครงสรางสวน ท่ีกลาวถึงประโยชนสรรพคุณ มักอางเหตุผลยืนยันดวยขอพิสูจน์เพื่อ สร้างความนาเชื่อถือในตัวสินคาและเปนการเชิญชวนใหมาเปนเจาของ สนิ ค้า รายละเอยี ดอาจมีมากหรอื นอยก็แลวแตชนิดของสินคาและภาษา โฆษณาที่ใช 4. ขอความสนับสนุนตอนท้าย (Base – line) เปนส่วน ท่จี ะกระตนุ้ ใหผ้ บู้ ริโภคเกดิ พฤตกิ รรมในการ 5. คาขวญั (Slogan) เป็นส่วนท่ีปดิ ท้ายของงานโฆษณา มักจะระบุสินค้า ตราสินค้า สถานท่ีจาหน่าย และใช้คาขวัญเพื่อเน้นย้า ให้ผูบ้ รโิ ภคจดจาได้ กรณีงานโฆษณาที่เก่ียวข้องกับธุรกิจระหว่างประเทศ การที่จะทาให้โฆษณาปรากฏสู่สายตาผ้บู ริโภคอย่างมีเสน่ห์น่าสนใจนั้น ผู้ท่ีมีบทบาทสาคญั ที่เข้ามาเกี่ยวข้องก็คือ “นักแปล” ซ่ึงเป็นผู้ที่จะนา ความหมายของโฆษณาต้นฉบับเป็นภาษาแปล นอกจากจะนาเสนอ รายละเอยี ดตามตน้ ฉบบั แลว้ การใช้คาในการแปลท่ตี คี วามและวเิ คราะห์ แล้ว จาทาอย่างไรให้ผู้ที่อ่านสนใจในส่ือโฆษณาและสนใจในสินค้าที่ นาเสนอ วรัชญ์ ครจุ ิต (2553) ได้เสนอหลักในการแปลงานโฆษณา โดยเนน้ ให้ผู้แปลต้องปฏิบัติการการแปลไว้ ดงั นี้ 1) ต้องรักษาประเดน็ ของตน้ ฉบบั ให้คงเดมิ 2) ต้องเปน็ คาแปลทม่ี ีความสรา้ งสรรค์ 3) ตอ้ งใชภ้ าษาในระดบั ภาษาตรงกบั กลุ่มเปา้ หมายอยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ 4) ต้องรกั ษาอารมณ์ของภาษาของตน้ ฉบับให้คงเดมิ 5) ต้องสรา้ งความร้สู ึกทดี่ ีตอ่ สินคา้ หรอื บรกิ ารน้ัน

-226- ภาษาทีใ่ ชใ้ นการโฆษณามีวจั นภาษาและอวจั นภาษา วัจนภาษา มีท้ังการใช้รูปแบบท่ีมีการพาดหัวโฆษณา คาอธิบาย และคาขวัญ และ ใชอ้ วัจนภาษาที่เป็นรูปถ่ายเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกใหผ้ อู้ ่านคล้อย ตาม การแปลโฆษณาถือเป็นส่วนหนึ่งของการแปลทางธุรกิจ แต่มี ลักษณะเฉพาะตัวเพ่ิมข้ึนในสว่ นของภาษาคือเป็นภาษาทางด้านธรุ กจิ ที่ มุ่งเน้นประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นปริมาณของผู้ติดตามหรือยอดขายสินค้า ภาษาของกลมุ่ นม้ี ีลกั ษณะสนั้ อ่านงา่ ย ชัดเจน ไมก่ ากวม และสร้างความ ประทบั ใจ ผู้แปลต้องสวมบทบาทของนักธุรกิจเพื่อให้ภาษาและลีลา เป็นไปตามรปู แบบของภาษาธุรกิจ การใช้ภาษาเน้นความกระชับ รัดกมุ ชดั เจน ถ้อยคาทีด่ งึ ดดู ใจ จาง่าย อกี ทงั้ การแปลถอ้ ยคาประเภทน้ี ผู้แปล จงึ ต้องอาศัยการเทียบเคียงตามวัฒนธรรมการใชภ้ าษา การแปลบทโฆษณาจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและไทยเปน็ เขมรนั้นสิ่งที่ผู้แปลต้องต ระ หนักที่สุด ก็คือการแปลท่ี ต้องรักษาไว้ซึ่ง อรรถรสและวัฒนธรรมการใชภ้ าษาทั้งสองภาษา เพราะว่างานโฆษณามี เป็นงานการสรรค์สร้างท่ีซับซ้อน ผู้แปลจะต้องวิเคราะห์คาและ ความหมายของภาษาต้นฉบับและวิเคราะห์ภาษาแปลให้มีความหมาย ตรงกับภาษาตน้ ฉบบั แล้ว ยังจะต้องศึกษาความต้องการและการรบั ร้ขู อง ผู้อ่านภาษาแปลด้วย นอกจากนี้ยังต้องนาลักษณะการนาเสนอภาษา เขียนท่ีปรากฏในป้ายหรือแผน่ โฆษณานั้นมาวิเคราะหด์ ้วย เช่น รูปแบบ ภาษา การจัดวางภาพประกอบ รูปแบบหรือขนาดขอ้ ความบรรยาย โดย นักคิด โดยที่ผู้จัดทาโฆษณาจะเลือกสรรคาให้เข้ากับองค์ประกอบของ ภาพโฆษณาทีจ่ ะสื่อออกไปซ่งึ เรียกกนั ว่า “การสรา้ งสญั ญะ” ฉะน้ัน การตีความเป็นความเข้าใจความหมายของคา สานวน ข้อความ ซึ่งไม่ได้มีความหมายตามตัวอักษรเสมอไป การอ่านตีความน้ี ต้องอาศัยประสบการณข์ องผอู้ ่านทต่ี รงกันกับประสบการณ์ท่ีผูเ้ ขียนสื่อ มาในสาร ดังน้ันผู้แปลงานที่ต้องค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม นอกจากจะ อาศัยความหมายที่ตรงตามต้นฉบับ เช่น การศึกษาแนวโน้มของธรุกิจ ท้ังในแง่ของผู้ประกอบการและผู้โดยสาร ความรู้เร่ืองสัญลักษณ์ และ ประวัติความเปน็ มาของส้ินคา้ ท่จี ะโฆษณา เปน็ ต้น ตวั อยา่ งการแปลภาษาโฆษณาเขมรเปน็ ภาษาไทย

-227- ภาพท่ี 39 ปา้ ยประชาสัมพันธ์เครือข่ายโทรศพั ทม์ ือถอื ท่มี า : //www.facebook.com/SmartAxiata/photos (เข้าถึงเมือ่ 25 ตุลาคม 2563) ต้นฉบับ រលរើ រឹរចិតាត ន ឲ្យរ្ព ោះរៅម៊ុខជានិចា។ ฉบบั แปล เป็นกาลงั ใจกันใหก้ ันเสมอเพือ่ กา้ วต่อไป ภาพที่ 40 ปา้ ยประชาสัมพันธเ์ ครือข่ายโทรศัพทม์ อื ถือ ท่ีมา : //www.facebook.com/SmartAxiata/photos (เขา้ ถงึ เม่ือ 25 ตลุ าคม 2563) ต้นฉบับ Smart ធំហម 1 ៃ៊លុ ាល រ = 333 ៃល៊ុ ាល រ។ ฉบับแปล Smart ยิ่งใหญจ่ ริง 1 ดอลล่าร์ = 333 ดอลล่าร์

-228- ภาพที่ 41 ป้ายประชาสัมพันธส์ ายการบิน ท่มี า : www.facebook.com/airasiaCambodia/photos (เข้าถึงเม่ือ 25 ตลุ าคม 2563) ตน้ ฉบับ ររចំណ៊ុ ចខ៊ុសាន រតអើ នរអាចរររ ើញភ្នព្ខ៊ុសាន ាន ฉบับแปล ប៉៊ុានាម ន? แสวงหาประเด็นต่างกนั แลว้ คณุ อาจพบความ แตกตา่ งกนั แคไ่ หน ภาพที่ 42 ป้ายประชาสมั พันธ์เคร่อื งด่ืม ทมี่ า : //news.sabay.com.kh/article/702228 (เข้าถึงเม่ือ 25 ตลุ าคม 2563)

-229- ตน้ ฉบับ រសជាតិលនអារមណ៍ ក្សស់ក្សាយ។ ฉบบั แปล รสชาตแิ ห่งความรู้สึกสดช่ืน ตวั อย่างการแปลภาษาโฆษณาเขมรเป็นภาษาไทย ภาพที่ 43 ปา้ ยประชาสมั พันธ์เครอ่ื งดมื่ ท่มี า : //news.sabay.com.kh/article/702228 (เขา้ ถงึ เมือ่ 25 ตุลาคม 2563) ต้นฉบบั ดม่ื รสชาตแิ ห่งความรสู้ ึก ฉบับแปล ព្ិសាលនអារមណ៍ ក្សស់ក្សាយ។ ภาพท่ี 44 ปา้ ยประชาสัมพันธส์ ายการบิน ทมี่ า : //www.facebook.com/pg/airasiaCambodia/posts (เข้าถึงเมื่อ 25 ตุลาคม 2563)

-230- ต้นฉบับ ใคร ๆ กบ็ นิ ได้ ฉบบั แปล នរណារ៏អាចរធវើៃំរណើរតមយនរត ហាោះានលៃរ។ ภาพท่ี 45 ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์เครือขา่ ยโทรศพั ท์ ทีม่ า : //www.ais.th/4g/ (เข้าถงึ เมื่อ 25 ตุลาคม 2563) ตน้ ฉบับ เครอื ขา่ ย 4G ท่ีดที ีส่ ุด ฉบบั แปล เครือข่ายไร้สายความเร็วสูงครอบคลุมทั่วไทย กว่า 98 % กับจานวนสถานีฐานมากท่ีสุดกว่า 75,000 สถานีฐาน บนคล่ืนความถี่ 1800 MHz, คล่ืนความถี่ 2100 MHz และคลื่นความถ่ี 900 MHz ด้วยคลื่นความถี่มากที่สุด้ังสิ้น 120 MHz (60 MHzx2) បណាត ញរូរស័ព្េចល័ត 4G លបអ ំផ្ត៊ុ ។ បណាត ញរូរស័ព្េចល័តរលបឿនក្គបៃណដ ប់ ជាង ៩៨% លន ក្បររសលថម្ខនចំនួនសាថ នីយ៍ធំជាង ៧៥០០០ សាថ នយី ៍ រៅរលើក្ប ព្័ នធរ ក្ ប រ ង់ ១៨០០ រមហាា ហឺ ត រក្ ប រ ង់ ២១០០ រមហាា ហឺត និងរក្បរង់ ៩០០ រមហាា ហឺត បៃល

-231- ម្ខនក្បព្័នធរក្បរង់ខពស់ បំផ្៊ុត ១២០ រមហាា ហឺ ត (៦០ MHzx2) บทสรุป การแปลงานธุรกิจเป็นการแปลแบบหนึ่งท่ีท้ายสาหรับการ ทางานของนักแปลในยุคปจั จุบัน สิ่งท่ีสาคัญก็คืองานท่ีเกี่ยวกับภาษาไม่ ว่าจะเป็นการแปลหรือการใช้ทักษะเพื่อภาษาส่ือสาร การรู้คาศัพท์มี อิทธิพลอย่างมากต่อการบรรลุเปา้ หมาย ย่ิงเม่ือต้องทางานแข่งกับเวลา งานธุรกิจให้ความสาคญั กับเวลา ทุกนาทีมีต้นทุนกาไรและผลประโยชน์ อื่น ๆ การรู้คาศัพท์ท่ีจานวนมากและถ่ายทอดความหมายได้อย่าง แม่นยาและถูกต้องเป็นรากฐานสาคัญในการสะสมคลังคาไว้กับ ผู้แปล เพอื่ ท่ีจะได้นามาใชไ้ ดใ้ นทกุ โอกาสทกุ สถานการณ์ การฝกึ ฝนการใช้ภาษา อย่างเช่ียวชาญก็จะได้รับความไว้วางใจจากผู้จ้างแปลงาน หัวหน้างาน และผู้โดยสาร อันส่งผลดีต่อภาพลักษณ์องค์กร ขณะเดียวกันการมี ความร้ใู นหลายภาษา จะทาใหก้ ารทางานเกีย่ วกบั การแปลภาษาเขมรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และการแปลภาษาเขมรก็สามารถทาให้เป็นธุรกิจ ซง่ึ เรียกวา่ “ธุรกจิ การแปลภาษาเขมร”

-233- บทท่ี 9 การแปลแบบลา่ ม บทนา การเป็นล่ามต้องใช้ทักษะการฟังและการพูดมากกว่าการใช้ ทักษะการอ่านและการเขียนในขณะท่ีปฏิบัติงานล่าม แต่ก่อนที่จะเป็น ลา่ มได้น้ัน จะต้องผ่านกระบวนการฝึกฝนทกั ษะทางภาษาทง้ั 4 ดา้ น คอื ฟัง พูด อ่าน และเขียน อย่างชานิชานาญในการแปลภาษาท่ีต้องแปล แบบกระทันหันทั้งต่อหน้าหรือผ่านโสตทัศนูปกรณ์ ล่ามจะเป็นผู้ทา หน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างคนท้ังสองฝา่ ยซ่ึงแต่ละฝ่ายต่างก็รู้ภาษาของ ตนเอง แต่ไม่มีความรู้ภาษากับอีกคนที่พูดคุยหรือเจรจากัน ปัจจุบันมี การเปิดทาการเรียนการสอนวิชาชีพทางด้านการล่า มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสถาบันท่ีสอนเกี่ยวกับภาษาต่างประเทศ วิชาการล่ามมี พัฒนาการทัง้ ทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิการลา่ มมาตามลาดบั จนกระท่ังการ แปลแบบล่ามเป็นศาสตร์และศิลป์ที่ใช้วิทยาการเชิงบูรณาการ การเป็น ล่ามเขมร-ไทยน้ัน ผู้เป็นล่ามจาเป็นจะต้องรู้ภาษาทั้งสองเป็นอย่างดี เพราะไม่ใช่จะต้องแปลเฉพาะภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและภาษาไทย เป็นภาษาเขมรทางเดียวเท่านั้น แต่การเป็นล่ามเขมร-ไทย จะต้องแปล ท้ังภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรและภาษาเขมรเป็นไทยทั้งสองภาษา เฉพาะ ฉะนั้นการเป็นล่ามท่ีดีจะต้องรู้ดีท้ังสองภาษา และประกอบด้วยความมี จรรยาบรรณล่าม จงึ จะทาให้งานล่ามประสบความสาเรจ็ ความหมายของการแปลแบบล่าม คาว่า “ล่าม” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้นิยามให้ ความหมายไว้ว่า ผู้แปลคาพูดจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่งโดยทนั ที (ราชบณั ฑิตยสถาน. 2542 : 1007) ความหมายดงั กล่าวทาใหเ้ ขา้ ใจทนั ที ว่าลา่ มเปน็ ผ้แู ปลภาษาท่ีต้องแปลคาพดู เปน็ อีกภาษาหนึง่ ด้วยคาพดู จงึ มี

-234- ความหมายทท่ี ั้งเหมือนและแตกตา่ งในลักษณะงานแปลระหว่างลา่ มกับ นักแปล ดังนี้ 1. ล่ามทาหน้าท่ฟี งั เรยี บเรยี งเปน็ คาพดู และถา่ ยทอดเนอ้ื ความ จากภาษาพูดจากภาษาหนง่ึ ไปยังอีกภาษาหนง่ึ ด้วยวธิ ีการคาพูด 2. นักแปลทาหน้าท่ีอ่าน เรียบเรียงเนื้อความจากเอกสารใน ภาษาหน่งึ ไปยังอีกภาษาหน่งึ ดว้ ยวิธีการเขียนเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ทักษะท่ีใชร้ ะหวา่ งลา่ มและนักแปลกเ็ นน้ ทักษะต่างกัน กล่าวคอื ล่ามเน้นทักษะการฟังและทักษะการพูด ส่วนนักแปลการอ่านและการ เขียน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าท้ังล่ามและนักแปลจะละท้ิงทักษะทั้งฟัง พูด อ่าน และเขียน งานทั้ง 2 ลักษณะยังตอ้ งใช้ทักษะทั้ง 4 ประการท้ัง ในดา้ นการฝึกฝนและปฏิบตั ิการ การแปลแบบล่าม หมายถึง รูปแบบหน่งึ ของการปฏิบัติการแปล ท่ีผู้แปลใช้ทักษะการฟังและการพูดในการสื่อสารแทนการใช้ทักษะการ อ่านและการเขยี น แผนผังแสดงหนา้ ทน่ี ักแปลและลา่ ม ดังนี้ นกั แปล ลา่ ม อา่ น เข้าใจ ฟัง เข้าใจ เขียนได้ จาได้ พูดได้ สาธารณชน ประเภทของการแปลแบบล่าม การแปลแบบลา่ มแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. การแปลแบบล่ามแบบพดู พร้อมหรอื ลา่ มทนั ใจ (simultaneous interpretation)

-235- 2. การแปลแบบล่ามแบบสลับหรือภายหลัง (consecutive interpretation) 3. การแปลแบบลา่ มแบบกึง่ เอกสาร (Semi-document interpretation) การแปลแบบลา่ มแตล่ ะประเภทมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การแปลแบบลา่ มแบบพดู พร้อมหรอื ลา่ มทันใจ (simultaneous interpretation) การแปลแบบล่ามแบบพดู พร้อม หมายถึง การแปลทต่ี อ้ งแปล พร้อมกับผู้พูด ล่ามฟังแล้วแปลทันที หรือเรียกว่า ล่ามทันใจ ลักษณะ งานที่ใช้การแปลแบบล่ามประเภทน้ีก็คือ การประชุม การสัมมนา และ การเป็นลา่ มประกบตัวตอ่ ตัวในการประชมุ ลา่ มประเภทน้ีจะต้องเป็นผทู้ ี่ มีความรูค้ วามสามารถในการฟังและถา่ ยทอดเนื้อหาพร้อม ๆ กนั กบั ผพู้ ดู จึงต้องการผทู้ ่ีมีความรู้ความสามารถสงู ล่ามไม่มีโอกาสไดเ้ ตรียมตัวมาก การแปลแบบล่ามแบบพูดพร้อมหรือล่ามทันใจนี้ สามารถแบ่งตาม ลกั ษณะของงานออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ลา่ มตู้ (cabinet interpreter) หมายถึง การแปลแบบล่าม ที่แปลในพ้ืนท่ีเฉพาะล่าม หรือสถานท่ีท่ีท่ีผู้จัดดาเนินการแยกล่ามออก ต่างหากจากที่ประชุมหรือสัมมนา อาจเป็นห้องแยกอีกต่างหาก หรือ จัดเป็นตู้ล่าม (booth) ซ่ึงฝ่ายจัดการประชุมจัดให้มีอยู่ในห้องประชุม หรือสัมมนา ตู้ล่ามจะประกอบด้วยเครื่องโสตทัศนูปกรณ์พร้อมให้ล่าม ได้แก่ หูฟัง ไมโครโฟน และโทรทัศน์วงจรปิด ล่ามแปลงานประเภทนี้ นอกจากจะมคี วามร้คู วามสามารถในการแปลภาษาแล้ว จะตอ้ งมคี วามรู้ เกยี่ วกับเครอื่ งโสตทศั นูปกรณ์ในตูท้ ี่ปฏิบตั ิงานด้วย การวางตาแหน่งตู้ล่ามในห้องประชุมน้ัน ส่วนใหญ่ผู้จัดการ ประชุมจะวางตาแหน่งไวห้ ลังห้องประชมุ และห่างจากองคป์ ระชุมพอที่ ไม่ใหม้ ีเสยี งรบกวนการประชุม

-236- ภาพที่ 46 ตู้ล่ามและเครอื่ งโสตทศั นปู กรณ์ ที่มา : ww.facebook.com/conventechThailand/photos (เข้าถงึ เม่อื 25 ตุลาคม 2563) 2) ลา่ มแบบตดิ ตามตวั (escort interpreter) หมายถึง ล่าม ตดิ ตามตวั มหี นา้ ที่ในการตดิ ตามบคุ คล คณะบุคคล หรือกลุ่มบุคคลขนาด เล็กเพือ่ การเย่ยี มชม หรือการจัดประชมุ หรอื การสัมภาษณ์เพือ่ ทาหน้าท่ี ถ่ายทอดสื่อสารใหก้ บั ผพู้ ดู กบั ผฟู้ งั มีความเขา้ ใจตรงกนั หรอื ทาหน้าท่ี ประสานงานในดา้ นตา่ ง ๆ ระหวา่ งกลุม่ บคุ คลตา่ ง ๆ ลา่ ม ภาพที่ 47 ภาพแสดงลา่ มตดิ ตามตัวผ้นู าไทยเจรจากบั ผ้นู ากมั พชู า ที่มา : ร้อยเอกเฉลิมศักดิ์ ประไวย์ (ถา่ ยเมือ่ วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2563) 3) ล่ามแบบกระซิบ (Whispering Interpreting) หมายถึง การแปลแบบล่ามท่ีน่ังติดกับผ้ฟู ัง ล่ามท่ีทาหน้าท่ีแปลจะน่ังหรือยืนใกล้ กับผู้ฟังกลุ่มขนาดเล็ก อาทิ กลุ่มผู้ฟังจานวน 2-3 คนโดยทาหน้าทแ่ี ปล หรือถ่ายทอดภาษาต้นทางเป็นภาษาปลายทางให้ผู้ฟังได้เข้าใจ ล่าม

-237- กระซิบมักใช้สาหรับงานประชุมหรืองานสัมมนาท่ีมีผู้ฟังส่วนใหญ่เข้าใจ ภาษาต้นทางท่ีผู้พูดพูด แต่มีผู้ฟังกลุ่มเล็กท่ีต้องการล่ามกระซิบช่วย สื่อสารท่ผี พู้ ูดกล่าวออกมาเปน็ ภาษาปลายทางท่ีตนเองเขา้ ใจ ล่าม ภาพที่ 48 แสดงการเป็นลา่ มกระซิบ ที่มา : รอ้ ยเอกเฉลิมศักดิ์ ประไวย์ (ถา่ ยเมอื่ 12 มถิ นุ ายน 2562) ลา่ ม ภาพที่ 49 แสดงการเปน็ ลา่ มกระซิบ ทีม่ า : ร้อยโทสนั ตชิ ัย หมายทอง (ถ่ายเม่ือวันที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2562)

-238- คณุ สมบตั ิล่ามแปลแบบพดู พร้อม ไดแ้ ก่ 1. สุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยที่ทาให้การสื่อสารมี ปัญหา โดยเฉพาะอวยั วะเก่ียวกับการฟงั และการพดู 2. สมาธิดี สามารถควบคุมความสนใจในคาพูดทุกคาทีไ่ ด้ยิน ไม่วอกแวก ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ฟังเป็นส่วน ๆ ขาดตอน และไม่คดิ โต้แย้ง และ ไม่ปล่อยความรู้สึกให้พลิดเพลินไปกับคาพูด ฟังอย่างไรก็ต้องถ่ายทอด อย่างนนั้ 3. การออกเสียงและสาเนยี งทางภาษาดี การพดู แปลแบบพูด พร้อมจะต้องเปล่งเสียงเต็มเสียง ไม่อ้อมแอ้ม สาเนียงจะต้องเป็นภาษา มาตรฐานท่ีผฟู้ งั สามารถรับรู้โดยทว่ั กัน หลักการที่ล่ามประเภทนต้ี อ้ งตระหนักตลอดเวลาก็คือ ฟังแลว้ พูดแปลทันที ดงั น้ี ฟัง พูดแปล 2. การแปลแบบลา่ มแบบสลบั หรอื ภายหลัง (consecutive interpretation) การแปลแบบล่ามสลับหรือภายหลงั หมายถงึ การแปลโดยทผ่ี ู้ พดู พดู จบไปตอนหนง่ึ แล้วล่ามแปลตามหลัง ลักษณะพิเศษท่ีล่ามประเภทนี้จะต้องมีก็คือ ท่าทางและ บุคลิกงาม สาเนยี งและลีลาการพดู แปลที่ประทบั ใจ โดยไมป่ ระหมา่ เมอ่ื อยทู่ า่ มกลางที่ประชุมหลายคน การเป็นล่ามภายหลังนี้ได้การยกย่องว่าเปน็ แบบฉบบั แห่งการ เป็นล่ามช้ันสูง เพราะล่ามต้องรวมความเป็นเลิศในหลาย ๆ ด้านไว้ ด้วยกันในขณะที่ปฏิบัติหน้าที่ ก่อนอ่ืนต้องมีคุณสมบัติทุกประการของ ล่ามทนั ใจ ได้แก่ 1. สุขภาพดี 2. สมาธิดี 3. สาเนียงและภาษาดี 4. ความจาดี

-239- ล่ามภายหลังจึงต้องฝึกฝนความจาให้แม่นยาและอาจจะใช้ วิธีการชว่ ยจา เชน่ ใช้ชวเลขเลข สญั ลกั ษณ์ และเครื่องหมาย เปน็ ต้น ล่าม ภาพที่ 50 แสดงการเปน็ ลา่ มสลบั ทีม่ า : รอ้ ยเอกทนงศกั ด์ิ สาราญสุข (ถ่ายเม่ือ 14 มกราคม 2562) ล่าม ลา่ ม ภาพท่ี 51 แสดงการเป็นลา่ มสลบั ทม่ี า : รอ้ ยโทสนั ติชัย หมายทอง (ถ่ายเม่อื วนั ท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2562)

-240- ล่าม ภาพท่ี 51 แสดงการเปน็ ลา่ มสลบั ทมี่ า : ร้อยโทสนั ตชิ ัย หมายทอง (ถา่ ยเมอ่ื วันที่ 8 มิถนุ ายน 2562) ล่ามประเภทน้ีสามารถใช้ได้ในงานหลายอย่าง เช่น การประชมุ สัมมนา การสมั ภาษณ์ และแพทย์สอบสวนคนไข้ เป็นต้น หลักการเป็นล่ามแบบสลับหรือภายหลัง คือ ฟัง-จา-พูดแปล เขยี นเป็นแผนผังได้ ดงั นี้ 3. การแปลแบบลา่ มแบบก่งึ เอกสาร (Semi-document interpretation) การแปลแบบก่ึงล่ามกึ่งเอกสาร หมายถึง การแปลแบบล่ามท่ี ล่ามได้รับเอกสารของผู้พูดในภาษาต้นฉบับ เพื่อใช้ประกอบการแปล แบบทันใจ วิธีนนี้ ยิ มใช้ในนการประชมุ ท่ีสาคัญ ๆ และมรี ่างคากลา่ วของ ผู้พูดไว้อย่างเป็นทางการ การแปลแบบล่ามกึ่งเอกสารนี่ส่วนใหญ่ใช้ใน งานท่ีเป็นทางการ เช่น การกล่าวเปิด การกล่าวสุนทรพจน์ การปิด ประชุม และงานพธิ กี ารต่าง ๆ เป็นตน้ หลักการของการแปลแบบกล่ามก่ึงเอกสาร ก็คือ การอ่าน - ฟงั -อา่ น-จา-พดู แปล ดงั แผนผงั ต่อไปนี้

-241- ล่าม ภาพที่ 52 แสดงการเปน็ ลา่ มก่ึงเอกสาร ท่ีมา : ร้อยเอกเฉลิมศกั ดิ์ ประไวย์ (ถา่ ยเมอ่ื วนั ที่ 20 พฤษภาคม 2562) ล่าม ภาพที่ 53 แสดงการเป็นลา่ มกงึ่ เอกสาร ที่มา : ร้อยเอกเฉลมิ ศกั ดิ์ ประไวย์ (ถา่ ยเม่อื วันที่ 20 พฤษภาคม 2562)

-242- การแปลแบบล่ามทั้ง 3 ประเภทน้ีมีปฏิบัติการที่มีท้ังเหมือนกัน และแตกต่างกนั สถานการณต์ า่ ง ๆ ในการแปลแบบล่ามเป็นสิ่งทก่ี าหนด วา่ จะใชว้ ธิ ีการแปลแบบล่ามประเภทใด เชน่ การประชุมนานาชาติ ส่วน ใหญใ่ ชก้ ารแปลแบบพูดพร้อม ทั้งลา่ มตู้และล่ามกระซบิ สว่ นสถานการณ์ เกี่ยวกับการพบปะกันระหว่างบุคคล การแถลงข่าว การเจรจาธรุ กิจ การ เจรจาระดับสงู ระหวา่ งประเทศ การสอบสวนอาการปว่ ยของแพทย์ และ การสมั ภาษณ์ เปน็ ต้น จะใชก้ ารแปลแบบล่ามสลับหรือภายหลงั หน้าที่อีกประการหนึ่งของล่ามท่ีนอกเหนือจากการแปลอย่าง เดียวก็คือ การติดต่อประสานงาน โดยเฉพาะล่ามประเภทติดตามผู้พูด ระดบั สงู ในการปฏิบัตงิ านภาคสนามหรอื เจรจานอกสถานที่ ล่ามจะเปน็ ผู้ ประสานงานและเป็นส่วนหนึ่งในการสนทนา ดังนั้นล่ามประเภทนี้ จะต้องวางตัวและบทบาทให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ในสถานการณ์นี้ ล่ามจะต้องพยายามแปลให้ทนั ท่วงที อย่าให้ผู้พูดบอกหรือออกคาส่งั ให้ แปล ล่ามจะตอ้ งจดั ให้ผูพ้ ูดหรือผู้เจรจากันท้ังสองฝ่ายคุยกันปกตเิ สมือน ทง้ั สองฝา่ ยรภู้ าษาของกนั และกนั กระบวนการแปลแบบลา่ ม การแปลแบบล่ามเป็นการแปลท่ีต้องประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี การแปลมาสู่การปฏิบตั ิ สามารถสรปุ เป็นกระบวนการแปลแบบลา่ มได้ 3 กระบวนการ ดังน้ี 1. กระบวนการรบั รู้ กระบวนการรับรู้เปน็ กระบวนการท่ีเกิดขึ้นจากทักษะการฟัง และอ่าน โดยท่ีการแปลแบบลา่ มเน้นการรับรู้ดว้ ยทักษะการฟังเป็นส่วน ใหญ่ ล่ามจะต้องฝึกทักษะการฟังในการจับใจความและตคี วามภาษาตน้ ทางหรือภาษาท่ีจะแปลนั้นให้เข้าใจ กลยุทธ์การฟังที่ดีก็คือ การฟังท่ี สามารถจับแยกแยะลาดบั ความทหี่ ลากหลายออกเปน็ กลุ่มแล้ว “หลอม รวม” เป็นประเดน็ เดียวกนั แล้วแสดงรายละเอยี ดประเด็นดงั กลา่ วนั้นให้ ชดั เจนหรือให้มอง “เหน็ ภาพ”

-243- 2. กระบวนการจับความหมาย กระบวนการจับความหมายน้ี ไม่ใช่มีความหมายจากัดเพียง การรู้ความหมายของคาเท่านั้น การจับความหมายเป็นกระบวนการ ระดับวาทกรรม หมายถึง การประมวลองค์ประกอบทางภาษาเข้ากับ องค์ประกอบอ่ืนนอกภาษา กล่าวคือจะต้องนาความหมายของบริบท สถานการณ์ น้าเสียง และถ้อยคาเข้าด้วยกัน เพื่อให้เข้าใจความหมาย ของผพู้ ูดทีต่ อ้ งการสอื่ ให้ชัดเจนแล้วนามาถ่ายทอดใหมเ่ ปน็ อีกภาษาหนง่ึ 3. กระบวนการถา่ ยทอด การถ่ายทอดความหมายท่ีผู้พูดต้องการส่ือไปยังภาษาแปล หรือภาษาปลายทาง ล่ามจะต้องใช้ภาษาปลายทางอย่างเป็นธรรมชาติ ท่ีสุด การถ่ายทอดความหมายน้ันไม่ใช่อยู่ที่การเรียบเรียงถ้อยคาได้ สละสลวย สมบูรณ์แบบ เหมือนกับบทแปลเอกสารท่ีไดร้ ับการแก้ไขขัด เกลาหลายครั้งก่อนนามาตพี ิมพ์เผยแพร่ แต่อยู่ท่ีการถ่ายทอดเนื้อหาได้ ถกู นอ้ ง ครบถว้ น ชดั เจน ลา่ มจะต้องตระหนกั เสมอวา่ ลา่ มจะต้องมีความ ซ่ือตรงต่อผู้พูดที่ต้องการบอกผู้ฟังซึ่งเป็นผู้ใช้ภาษาคนละภาษาของ ตนเองได้ทราบตามความตอ้ งการ การแปลแบบล่ามภาษาเขมร การแปลแบบล่ามภาษาเขมรนอกจากมีหลักการและวิธีปฏิบัติ ตามแนวคดิ ทฤษฎีที่ได้กล่าวไวข้ ้างต้นแล้ว การแปลแบบลา่ มภาษาเขมร เป็นการแปลจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมร ดังนั้น ผู้ท่ีทาหน้าท่ีเป็นล่ามจะต้องมีความรู้ทางทั้งทางด้านภาษาเขมร และภาษาไทย นอกจากน้ียังต้องมีความรู้ทางด้านสถานการณ์ บริบท ทางด้านสังคม วัฒนธรรม และความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศกัมพชู ากับ ประเทศไทยเปน็ อยา่ งดี 1. ทักษะทางภาษาสาหรับลา่ มภาษาเขมร องค์ความรู้ทางด้านภาษาเป็นส่ิงที่จาเป็นสาหรับการแปลแบบ ล่ามภาษาเขมรทั้งทางด้านการออกเสียงภาษาเขมร คาศัพท์ และ

-244- ประโยค ลา่ มภาษาเขมรจะต้องฝกึ ออกเสยี ง จาคาศพั ท์ และการใช้ภาษา เขมรทงั้ ท่ีเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ ดังน้ี 1.1 การออกเสียงภาษาเขมร ล่ามจะต้องออกเสียงภาษาให้เหมือนเจ้าของภาษา หรือ แม้ไม่เหมือนแต่ก็ให้ผฟู้ ังภาษาที่แปลนั้นเข้าใจได้ บางคามีเสียงแตกตา่ ง กันเล็กน้อย ถ้าออกเสียงไม่ถูกผู้ฟังก็อาจไม่เข้าใจความหมายของคาน้ัน ๆ ได้ ลา่ มภาษาเขมรเชน่ เดยี วกนั แมจ้ ะมีเสยี งพยัญชนะและสระทค่ี ลา้ ย กับภาษาไทย แต่บางเสียงล่ามคนไทยจะต้องฝึกฟังและฝึกให้สามารถ ออกเสียงภาษาเขมรให้ชัด จะยกตัวอย่างเฉพาะเสียงท่ีแตกต่างจาก ภาษาไทย ดงั น้ี 1) การออกเสยี งพยัญชนะท้าย ได้แก่ /c/ เช่น កាច /kaːc/ กาจ /ɲ/ เชน่ ឆ្ាងញ់ /chŋaɲ/ ชงฺ ญั /h/ เช่น ណាស់ /nah/ นะฮฺ 2) การออกเสียงสระ การออกเสียงสระน้ีเป็นปัญหา สาหรับล่ามภาษาเขมรมาก ผู้ที่จะออกเสียงได้ชัดเจนจะต้องฝึกฝนดว้ ย วธิ ีการทางสรรี สทั ศาสตร์ (articulatory phonetics) เพอื่ แสดงการออก เสยี งเสียงสระภาษาเขมรใหช้ ัดเจนย่งิ ข้ึน จะเปรยี บเทยี บหน่วยเสียงสระ ไทยและเขมรตามแผนผัง ดงั นี้ ภาพท่ี 54 สัทอักษรสากลแสดงเสียงสระ ท่ีมา : ดัดแปลงจาก www.ipachart.com

หนว่ ยเสียงสระเดี่ยวภาษาเขมร -245- หนว่ ยเสียงสระเด่ียวภาษาไทย ʊ ภาพที่ 55 สระเดยี่ วภาษาเขมรและไทย ที่มา : หน่วยเสยี งสระเดี่ยวภาษาเขมรดดั แปลงจาก វចនានកុ្រមបញ្ចញេ សរូ សំញ្េងភាសាខ្មែរ (Jean-Michel Filippi และ Hiep Chan Vicheth, 2016) และหน่วยเสียงสระเด่ียวภาษาไทยดัดแปลง จาก //th.wikipedia.org/wiki/ เสยี งสระเด่ยี วในภาษาเขมรและไทยตามตารางขา้ งบนน้แี สดงให้ เห็นวา่ ตาแหนง่ การออกเสียงสระบางเสยี งเกิดข้ึนแตกตา่ งจากกัน ได้แก่ ภาษาเขมร /ɨ/ /ɨː/ /ɘ/ /ɘː/ /ɜ/ /ɜː/ /ɑ/ /ɑː/ และ และ /ʊ/ ภาษาไทย /ɯ/ /ɯː/ /ɤ/ /ɤː/ หน่วยเสียงสระเดีย่ วภาษาไทยไมม่ หี นว่ ยเสยี ง /ɑ/ /ɑː/ /ʊ/ หนว่ ยเสียงสระประสมภาษาเขมร หน่วยเสียงสระประสมภาษาไทย ภาพท่ี 56 เสยี งสระประสมเขมรและไทย ทมี่ า : ดัดแปลงจาก វចនានកុ ្រមបញ្ចេញសរូ សំញ្េងភាសាខ្មែរ (Jean- Michel Filippi และ Hiep Chan Vicheth, 2016)

-246- จากตารางเปรียบเทียบเสียงสระประสมเขมรและไทย แสดงให้ เห็นวา่ การประสมสระในภาษาเขมรมกี ารออกเสยี งแตกต่างกนั ไดแ้ ก่ ภาษาเขมร ภาษาไทย /iɜ/ /ia/ /uɜ/ /ua/ /ɨɜ/ /aɜ/ /ɯa/ /oʊ/ - การออกเสียงดังที่ไดน้ ามาเสนอไวใ้ นท่นี ้ีเป็นการออกเสียงภาษา เขมรมาตรฐาน แต่การออกเสียงในแต่ละถ่ินก็แตกต่างกันไป ผู้ท่ีปฏิบตั ิ หน้าที่ล่ามจะต้องศึกษารายละเอียดการออกเสียงภาษาเขมรมาตรฐาน และภาษาเขมรถ่ินต่าง ๆ ให้ดี เพราะการออกเสียงคาศัพท์ภาษาเขมร บางถนิ่ ออกเสียงแตกตา่ งกนั เช่น คาศัพท์ มาตรฐาน พนมเปญ ញ្ក្ចនើ /craɜn/ /chaɜn/ ក្សី ក្រំ /srɛːy/ /sɛːy/ /pram/ /phiɜm/ 1.2 ทาเนยี บภาษาเขมรและไทย อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธ์ุ (2545 : 19) ได้ให้ความหมาย ของคาว่า “ทาเนียบภาษา” (Register) ไว้ว่า ทาเนียบภาษาคือรูปแบบ ของภาษาที่ใช้แตกต่างจากรูปแบบอื่น ๆ เนื่องจากความ แตกต่าง ด้านหน้าที่ สถานการณ์ จุดมุ่งหมาย และแวดวงอาชีพ เช่น ภาษา โฆษณา ภาษากฎหมาย ภาษาบรรยายการแข่งขันฟุตบอล เป็นต้น ดงั ต่อไปนี้ 1) วัจนลีลา หมายถึง รปู แบบในการใชภ้ าษาแตกต่างกัน ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม การแปลแบบลา่ มจะต้องใชว้ ัจนลลี าเปน็ ทางการ แต่ก็ต้องมีความรู้วัจนลลี าอืน่ ด้วย เพราะสถานการณ์ท่ลี า่ มฟัง

-247- จากผู้พูด ผู้พูดอาจใช้วัจนลีลาภาษาอ่ืน ล่ามจะเป็นผู้มาผละออกจาก ภาษาพูดต้นฉบับแล้วถ่ายทอดด้วยการพูดวัจนลีลาภาษาเป็นทางการ เช่น ตน้ ฉบบั នសិ ិសសខ្មែរញ្រៀនញ្ៅសារលញ្ ៀមនារ់។ ฉบับแปล นักศกึ ษาชาวกมั พชู าเรียนอยใู่ นมหาวิทยาลยั จานวนห้าคน ไม่ควรแปลว่า นักศกึ ษาเขมรเรียนในมหาลัยห้าคน ตน้ ฉบบั มายังไง ฉบับแปล ញ្ោរ/អ្នរអ្ញ្ចជើញមរដចូ ញ្មេច? ไม่ควรแปลวา่ មរយ៉ងា ញ្ម៉ាច? วัจนลีลายังรวมไปถึงการใช้ภาษาสุภาพในการแปลแบบ ล่ามดว้ ย เชน่ คาทักทายไทยในการพบปะกันอย่างเป็นทางการหรือไม่ เป็นทางการ ผู้พูดคนไทยพูดว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” การแปลแบบล่าม จะตอ้ งแปลเปน็ ภาษาเขมรวา่ “ចក្ាបសរួ ” ไมค่ วรแปลว่า “សសួ ី”េ คาแสดงลงท้ายหลังประโยคท่ีแสดงถึงความสุภาพในการ พูดภาษาไทย อาจไมต่ อ้ งแปลเสมอไป เชน่ ต้นฉบับ สวัสดีครับ/ค่ะ ฉบับแปล សមូ ជក្ាបសរួ ។ ไมค่ วรแปลวา่ ជក្ាបសរួ រទ/ចាស។ ล่ามภาษาเขมรจะต้องระมัดระวังในการแปลคานี้ เพราะ คาว่า រទ/ចាស เป็นในภาษาเขมรใชเ้ ปน็ คาตอบรบั อย่างเดียว สว่ นคาวา่ ครับ/คะ ในภาษาไทยใช้ได้ทั้งคาตอบรับและคาแสดงความสุภาพหลัง ประโยคสนทนา

-248- 2) แวดวงภาษา หมายถึง การใช้ภาษาในแต่ละกลุ่มใน สังคม เช่น ภาษาธุรกิจ ภาษาโฆษณา ภาษาสื่อสารมวลชน ภาษากีฬา และภาษาวัยรุ่น เป็นต้น นอกจากนีย้ งั รวมถึงคาศัพท์บัญญัติท่ีกาหนดให้ ใชค้ าศัพท์นน้ั อยา่ งเปน็ ทางการ เชน่ แวดวงภาษาเกี่ยวกบั กีฬา ต้นฉบบั ម្នំញ ាំរីេររពីរនារ់មរក្បដាល់ជាមួយ ង។ ฉบับแปล ผมพานักมวยสองคนมาชกดว้ ย ต้นฉบบั ผมพานกั เตะหญงิ ไทยมารว่ มประชุมดว้ ย ฉบับแปล ម្នំញ ាំរីេការនិ ីថៃមរចូលរមួ ក្បជុំ ងខ្ដរ។ คาศัพท์บัญญัติเขมรท่ีมีการนาภาษาบาลีสันสกฤตมา บญั ญตั ิในแวดวงตา่ ง ๆ จะมกี ารบ่งบอกถงึ เพศในคาศพั ท์นัน้ ดว้ ย เชน่ คาศัพทไ์ ทย คาศพั ทเ์ ขมร ชาย หญงิ ผบู้ รกิ าร พยาบาล បររិ រ បរកិ ារនិ ី กรรมกร ผูร้ ว่ มงาน គិោនបុ បដាា រ គិោនបុ ដាា យិកា แรงงาน หวั หน้าหน่วยงาน រមែររ រមែការនិ ី จติ รกร สถาปนกิ សហការី សហការនិ ី วศิ วกร ពលររ ពលការនិ ី នាយរ នាយិកា វចិ កិ ្រររ វចិ កិ ្រការនិ ី សាា បនិរ សាា បនិការនិ ី វសិ រវ រ វសិ កវ ារនិ ី 2. สถานการณก์ ารแปลแบบล่ามภาษาเขมร ปัจจุบันมีสถานการณ์การแปลแบบล่ามภาษาเขมร 2 อย่าง คอื การแปลแบบลา่ มในสถานการณ์เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ลา่ ม ที่แปลภาษาเขมร-ไทย จะต้องเข้าใจและศึกษาวิธีการแปลภาษาเขมรใน

-249- สถานการณ์ดังกล่าวน้ีอย่างดี จึงจะทาให้การแปลแบบล่ามภาษาเขมร ประสบความสาเรจ็ ตัวอย่างสถานการณ์การประชมุ ระหว่างภาคีไทยและกมั พชู า โดยมีองค์ประชุมประกอบด้วยพระสงฆ์ หัวหน้าหน่วยงาน และบคุ ลากร ในหนว่ ยงาน จาลองสถานการณก์ ารแปบแบบลา่ มภาษาตามกาหนดการ ดงั นี้ 1) การทกั ที่ประชมุ ตน้ ฉบับ សមូ ថ្វវយបងំុកគ្ពះញ្រជគុណ សមូ ញ្ោរពឯរឧរេមក្បធាន ... ញ្ោរជុំទាវ នងិ សមូ ជក្ាប់សរួ គណៈក្បរិភូភាគីថៃ ฉบบั แปล ក្គប់ របូ นมัสการพระคุณเจ้า เรยี นทา่ นประธาน... ท่านผู้หญิง และสวัสดคี ณะผูแ้ ทนภาคไี ทยทุก ๆ คน 2) การเกรน่ิ นา (พิธีเปิดงาน) ตน้ ฉบบั ម្កញំ ្ពះររណុ ា ម្ញរំ ទានរិរិេយសណាស់ខ្ដលជាក្បធាន អ្ធិបរីរនញងរិចេការក្បជុំជក្មះរវាងភាគីរមពញជានងិ ភាគីរមពញ ជាញ្លើក្បធានបទ.... ฉบบั แปล กระผมมรี ู้สึกยนิ ดีมากทไ่ี ด้มาเปน็ ประธานการ ประชมุ รว่ มระหวา่ งภาคไี ทยและกมั พูชา เรือ่ ง.... 3) สรรพนามทใี่ ช้ในการประชมุ อยา่ งเปน็ ทางการ ผู้พดู ในการประชุมหรือบุรษุ ท่ี 1 ตน้ ฉบบั ម្ញកំ ្ពះររណុ ា (พระสงฆ)์ ฉบบั แปล กระผม ตน้ ฉบับ ម្ំញរទ/ម្ំញ (ชาย) ฉบบั แปล ลา่ ม กระผม

-250- ตน้ ฉบับ នាងម្ញំ/ម្ំញ (หญิง) ฉบบั แปล กระผม 4) การกลา่ วขอบคณุ ตน้ ฉบบั ម្ំញក្ពះររណុ ា ម្រំញ ទ ម្ំញ សមូ អ្រក្ពះគុណ អ្រគុណអ្នរទាងំ អ្ស់ោន ខ្ដល.... ฉบับแปล กระผมขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นท.่ี .. การฝกึ ฝนเพอ่ื เป็นลา่ มภาษาเขมร 1. ฝกึ จาและเก็บขอ้ มูล 1.1 ความจาภาษา คาพูด ความหมายของคาตา่ งๆ 1.2 ความจาสถานท่ี ตาแหน่งท่อี ยู่ 1.3 ความจาขบวนการ ข้นั ตอน 1.4 ความจาอัตโนมตั ิ 1.5 ความจาทางอารามณ์ การฝึกจาข้อมูลใหไ้ ด้ท้ังในระดับระยะสัน้ และระยะยาว ความจา ระยะสน้ั มเี วลา 15 - 30 นาที เพราะการแปลแบบลา่ มจะตอ้ งใช้ความจา หลังจากที่ได้ฟังผ้พู ูด โดยเฉพาะการแปลแบบสลับหรือภายหลงั จะต้อง จาคาพดู ให้ไดท้ ั้งตอน ตัวอยา่ งเช่น ต้นฉบบั ម្ញាំ នញ្យបលថ្វការក្បជុំចក្មះញ រវាងភាគីខ្មែរនងិ ថៃ ฉบับแปล ានលរខណៈលអក្បញ្សើណាស់ ញ្ក្រះទាងពីរភាគីនឹងរន េល់ញ្យបល់លអៗ ដល់ោន ញ្ៅវញិ ញ្ៅមរញ្ដើមបអី ្ភិវឌ្ឍន៍ សមពនភធ ាពរវាងក្បញ្ទសទាំងពីរឱ្យរនក្បញ្សើរ។ กระผมคิดว่าการประชมุ ร่วมระหวา่ งภาคกี มั พชู า และไทยดมี าก เพราะภาคที ้งั สองฝา่ ยจะได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทดี่ ี ๆ ต่อกันและกัน เพื่อพัฒนาความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศทง้ั สอง ใหด้ ียิ่งข้ึน

-251- 2. การฝกึ ทกั ษะทางภาษา 2.1 ฟังเทปหรือดูวิดิโอหรือเว็บไซด์แล้วพูดตามให้จบ ทงั้ หมดโดยไม่หยดุ เป็นตอน ๆ 2.2 ฟังเทปหรือดูวดิ ิโอหรือเว็บไซด์แล้วพูดแปลตามโดย ไม่หยุดจนจบ ไมห่ ยุดพกั เพ่ือแปลเป็นตอน ๆ 2.3 ฝึกจาคาศัพท์และฝึกบันทึกคาศัพท์ท่ีได้ฟัง ด้วย วิธีการต่าง ๆ เช่น เครื่องหมาย ชวเลข หรืออื่น ๆ ท่ีกาหนดขึ้นมาเพ่ือ เปน็ สัญญะจาคาศพั ท์ 2.4 ฝักพูดและออกเสียงให้ถูกต้องตามต้นฉบับ โดยฝึก กบั เจา้ ของภาษาหรือใช้วิธกี ารฝกึ จากเทป วดี โี อ แลว้ ออกเสยี งตามให้ชดั เหมือนเจา้ ของภาษา ลา่ มภาษาเขมรกบั อาชพี ปัจจุบันการแปลแบบล่ามภาษาเขมรมีความจาเป็นมาก เพราะ ไทยและกัมพูชามีการติดต่อประสานงานกันท้ังทางด้าน ความมั่นคงใน พ้ืนที่ชายแดน ตลาดการค้าชายแดน การศกึ ษา และการดาเนนิ การธุรกจิ ระหว่างไทยกับกมั พชู า อาชพี ทีต่ อ้ งใชก้ ารแปลแบบล่าม ได้แก่ 1. การล่ามในทีป่ ระชมุ ระหว่างประเทศ ล่ามภาษาเขมรในการประชุมระหวา่ งประเทศไทยกับกมั พชู า มีความจาเปน็ มาก โดยเฉพาะอยา่ งเป็นทางการ ตัวแทนของประเทศทัง้ สองฝ่ายเป็นผู้เข้าร่วมประชุม แม้ในปัจจุบันท้ังไทยและกัมพูชามีการใช้ ภาษาอังกฤษซ่ึงเป็นภาษาหลักในสมาชิกประชาคมอาเซียนก็ตาม หรือ แม้ทง้ั สองฝ่ายจะมคี วามรภู้ าษาของกันและกันเปน็ อยา่ งดี แต่สิง่ ทสี่ าคัญ ของการประชุมในทุกคร้ังจะต้องมีล่ามแปลภาษา เพราะนอกจากล่าม เป็นผู้สามารถแปลเนื้อหาจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและไทยเป็น ภาษาเขมรได้อย่างถูกตอ้ งแลว้ การแสดงถึงภาษาทเ่ี ป็นภาษาประจาชาติ เป็นส่ิงที่จาเป็นเช่นเดียวกัน เป็นการแสดงถึงอัตลักษณ์ชาติของตนเอง ด้วย 2. การลา่ มเฉพาะกิจธุระ เช่น การเจรจาธุรกิจ การอบรม การ ดูงาน การเยีย่ มชมกจิ การ และการสาธิตสินค้า เป็นตน้ ปจั จบุ ันไทยและ

-252- กัมพูชามีการติดต่อธุรกิจ การส่งบุคลากรฝึกอบรม การศึกษาดูงานใน ประเทศทั้งสอง ต้องใช้ล่ามแปลภาษาเสมอ เพราะกลุ่มคนที่มีกิจธุระใน การติดต่องานระหว่างไทยกับกัมพูชาเป็นหมู่คณะหรือมีความรู้ภาษา เฉพาะด้านไม่เท่ากัน จึงต้องใช้ล่ามเพื่อแปลเนื้อหาให้ชัดเจนมากย่ิงขึ้น ปัจจุบันล่ามมีบทบาทมากในการธุรกิจ เช่น ล่ามในโรงพยาบาล ล่ามใน บริษัทท่ีมีแรงงานชาวกัมพูชา และสถานประกอบการท่ีประสานงานกบั คนกมั พูชา เปน็ ตน้ 3. ล่ามอานวยความสะดวก เช่น ล่ามอานวยความสะดวกพา ลูกค้าไปยงั สถานท่ีตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการของลูกค้า จัดหาสินคา้ ตาม คาสงั่ ของลูกคา้ เป็นตัวกลางตดิ ตอ่ ประสานงานใหล้ กู ค้า 4. ล่ามมัคคุเทศก์ เป็นล่ามประเภทหนึ่งให้บริการมัคคุเทศก์ ประเภทตา่ ง ๆ ในพนื้ ทท่ี กี่ าหนด อาชพี มัคคุเทศก์ต้องไดร้ ับอนุญาตและ ข้ึนทะเบียนมีบัตรนักวิชาชีพตามกฎหมาย ล่ามมัคคุเทศก์น้ีนอกจากจะ แนะนาเร่ืองราวต่าง ๆ ให้กับนักท่องเท่ียวแล้ว ยังเป็นผ้แู ปลภาษาใหก้ บั นักท่องเท่ียวท่ีต้องการสอื่ สารกับคนในพ้ืนที่ตนเดินทางไปเที่ยว คนไทย นิยมเดินทางไปเที่ยวโบราณสถานในประเทศกัมพูชา จะพบมัคคุเทศก์ บรรยายเน้ือหาเกี่ยวกับโบราณสถาน และมัคคุเทศก์จะเป็นผู้ช่วย แปลภาษาเมื่อต้องการติดต่อการใช้บริการท้ังโรงแรม รถยนต์ และการ ซื้อสินค้าในตลาด ในขณะเดยี วกันคนกัมพูชานิยมเดนิ ทางเท่ียวในแหลง่ ท่องเท่ียวทันสมัยในกรุงเทพมหานคร ล่ามไทยจะเป็นผู้ช่วยนาทาง บรรยายเนื้อหาในสถานที่ท่องเท่ีย และแปลภาษายามที่นักท่องเที่ยว กัมพูชาต้องการสอื่ สารกับคนไทย จรรยาบรรณของลา่ ม ลา่ มยอ่ มมีจรรยาบรรณเชน่ เดียวกับอาชพี อืน่ ๆ เพราะเป็นอาชพี ที่ปฏิบัติงานเก่ียวข้องกับคนหลายระดับและเก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ ระหวา่ งประเทศ ดังนั้น ล่ามจงึ ตอ้ งมีจรรยาบรรณ ดังตอ่ ไปนี้ 1. มีความซ่ือสัตย์ต่อข้อมูลต้นฉบับ ล่ามจะต้องแปลให้ตรงกับ ภาษาต้นฉบับให้ไดม้ ากท่ีสุด ไม่ละทิ้งบางคา บางประโยค หรือบางตอน เพราะจะทาให้เนื้อหาฉบับแปลบิดเบอื นจากภาษาต้นฉบบั

-253- 2. มีการรักษาความลับ ล่ามจะต้องรักษาความลับของเนื้อหาท่ี ตนเองแปล จะต้องไม่แพร่งพรายให้คนอ่ืนรู้เรื่องท่ีตนเองปฏิบัติงาน โดยเฉพาะเร่ืองราวเกี่ยวข้องกบั ความลบั ระหว่างประเทศ ซ่ึงเป็นเนื้อหา ทลี่ อ่ แหลมตอ่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศท้งั สอง 3. มีบุคลิกเหมาะสมและวางตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ในขณะปฏิบตั ิ บุคลิกของลา่ มจะต้องแสดงถึงความเป็นผู้ทม่ี ีความสภุ าพ เรียบร้อย อ่อนน้อม ถ่อมตน และจริงใจต่อผู้พูดและผู้ฟัง การแต่งกาย และการวางตวั ให้เหมาะสมกับงานทกี่ าลังปฏิบัตงิ าน 4. ต้องไม่แสดงความคิดเห็นส่วนตัวและแสดงอารมณ์ต่าง ๆ ท่ี ตนทั้งชอบและไม่ชอบ เพราะล่ามมีหนา้ ทีแ่ ปลเนื้อหาจากภาษาตน้ ฉบบั ไปยังฉบับแปล ดังน้ันจะต้องระมดั ระวงั ในเรอ่ื งนี้ให้มาก 5. ต้องรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมาย ปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมายน้ันจนเสรจ็ สิน้ และมีคณุ ภาพ บทสรปุ ล่ามภาษาเขมรเป็นงานที่สาคัญมากในปัจจุบันนอกจากจะ แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย และแปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรแล้ว ล่ามยังเป็นผู้สื่อสารกลางระหวา่ งคนไทยกับคนกัมพูชาด้วย การส่ือสาร กันด้วยความเข้าใจในเน้ือหาและความต้องการของทั้งสองฝ่ายส่งผลให้ เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีและยั่งยืน การเป็นล่ามภาษาเขมรจะต้องความรู้ ทางด้านภาษาและวัฒนธรรม มีทักษะการใช้และการส่ือสารภาษาไทย และภาษาเขมรเป็นอย่างดี ล่ามจะต้องมีความสามารถในการบูรการณ์ หรือหลอมรวมองค์ความรู้กับสถานการณ์การใช้ภาษา สังคม และ วัฒนธรรมของภาษาตน้ ฉบบั หรอื ผพู้ ูดภาษาทีแ่ ปลใหเ้ ปน็ อันเดยี วอนั หนง่ึ กันแล้วถ่ายทอดดว้ ยภาษาแปลทย่ี ังรักษาไว้ซึง่ เน้ือหาของภาษาต้นฉบบั ไว้อยา่ งครบถว้ น ปฏิบตั กิ ารล่ามทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ครบถ้วน และสมบรู ณ์ ในเนอ้ื งานทต่ี นเองรับมอบหมายน้ี เรียกวา่ “ล่ามมืออาชีพ”

-255- บทที่ 10 ปัญหาและกลวธิ ีแกป้ ัญหาการแปลภาษาเขมร บทนา ปัญหาการแปลย่อมเกิดข้ึนกับนกั แปลภาษาเกือบทกุ ภาษา การ แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและการแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรย่อม มีปัญหาเกิดข้ึนสาหรับนักแปลไม่มากก็น้อย นักแปลภาษาเขมรจาเป็น จะต้องหากลวิธแี ละเทคนคิ ท่เี หมาะสมเพ่ือแกป้ ญั หาการแปลภาษาเขมร ให้ได้ความตามเนอ้ื หาของต้นฉบับให้มากท่ีสุด แม้ว่าภาษาไทยกบั ภาษา เขมรจะมโี ครงสรา้ งทางภาษาท่ีใกลเ้ คียงกันมากซึ่งสามารถแปลแบบตรง ตวั ได้เลย แต่อยา่ งก็ตาม การแปลภาษาอาจมกี ารสูญเสยี เกิดขึน้ ในระดับ หนงึ่ เสมอ หนา้ ทีข่ องนักแปลจะต้องพยายามทาให้เกิดการสญู เสียน้อยท่ี สัดหรือทาให้ภาษาต้นฉบับกับภาษาฉบับแปลมีความแตกต่างกันน้อย ที่สุด ถ้านักแปลสามารถทาให้การแปลให้ภาษาต้นฉบับกับภาษาฉบับ แปลมีความหมายท่ีเทียบเคียงกันได้ (equivalence) แสดงให้เห็นการ แปลนั้นมีความถูกต้องและสมบูรณ์ แต่ถ้านักแปลไม่สามารถทาให้ ภาษาต้นฉบบั กับฉบับแปลไม่สามารถเทยี บเคียงความหมายกันได้ แสดง ให้เห็นว่าเกดิ ปัญหาข้ึนในการแปลคร้ังนน้ั ปัญหาดงั กลา่ วอาจเกดิ ข้ึนกับ นักแปลไดเ้ สมอ นักแปลจะตอ้ งพยายามหากลวธิ เี พื่อแกไ้ ขปัญหาให้การ แปลน้ันมีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และถกู ตอ้ งใหม้ ากทส่ี ดุ ในบทนจี้ งึ สรปุ ปัญหาการแปลภาษาเขมรและกลวธิ ีการแกป้ ัญหาไว้ อนั จะเป็นแนวทาง ในการปฏบิ ัตกิ ารแปลของนักแปลภาษาเขมรต่อไป ปัญหาและกลวธิ ีการแก้ปญั หาการแปลในระดับคา การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและการแปลภาษาไทยเป็น ภ าษ าเขมรในระดับค านั้นมีปัญหาสาห รับ นักแปลหลายประการ และ กลวธิ ีการแก้ปญั หาการแปล ดงั นี้

-256- 1. ปัญหาและกลวิธีการแก้ปัญหาการแปลทับศัพท์ชอ่ื วิธีการทับศัพท์ในภาษาเขมรและภาษาไทยมีลักษณะท่ีทั้ง เหมือนกันและแตกต่างกันดังที่ได้กล่าวไว้ในบทต้น ๆ แล้ว ดังน้ัน นัก แปลภาษาจะต้องเรียนร้อู ย่างถ่ีถว้ นในการทบั ศพั ทข์ องทงั้ สองภาษา และ การแปลแบบทับศัพท์เขมรเปน็ ไทยและไทยเปน็ เขมร จะต้องเลอื กใชค้ า ให้ถูกต้องตามวฒั นธรรมการใชภ้ าษาของท้ังสองภาษา ปัญหาและกลวิธี การแก้ปัญหามดี งั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ช่ือเมืองและสถานท่ตี า่ ง ๆ ปัญหาท่ีมักจะพบเสมอในการแปลชื่อสถานท่ีและเมอื งก็ คือผู้แปลจะยึดตามความถนัดของตนเอง หรือแปลตามตัวเขียน หรือ แปลตามคาพูด บางครั้งอาจทาให้ไม่สามารถสื่อความหมายให้ผู้รับสาร การแปลให้เข้าใจได้ กลวิธกี ารแก้ปญั หาก็คอื นกั แปลจะตอ้ งศกึ ษาองค์ความรู้ ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียกเมืองและชื่อสถานที่คนไทยเรียกชื่อเมืองมาจน เคยชินหรือมีการใช้ช่ือน้ันในอย่างเป็นทางการหรือปรากฏในเอกสาร ราชการ ส่วนปัญหาการแปลช่ือสถานที่และเมืองจากภาษาไทย เป็นภาษาเขมรก็เชน่ เดยี วกนั นักแปลจะตอ้ งศึกษาวา่ ในภาษาเขมรนยิ ม เรียกช่ือสถานท่ีและเมืองในประเทศไทยว่าอย่างไร ส่วนใหญ่การแปล แบบทับศัพท์ในภาษาเขมรจะนิยมทับศัพท์ตามเสียงอ่านและทับศัพท์ ตามภาษาองั กฤษและฝร่ังเศสที่เคยเรียกชอ่ื สถานท่ีและเมืองในประเทศ ไทย ในท่ีน่ีจะยกตัวอย่างการแปลช่ือสถานท่ีและเมืองเพ่ือเป็นแนวทาง ในศึกษาปัญหาและกลวิธีในการแก้ปัญหาในการแปลแบบทับศัพท์ ดังตอ่ ไปนี้ 1) การแปลแบบทบั ศัพท์ภาษาเขมรเปน็ ภาษาไทย เช่น ភ្ំនពេញ ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า พนุมปึญ ควรแปลทับ ศพั ท์ตามทางการไทยว่า พนมเปญ បាត់ដំបង ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า บัดดาบอง บัตฎาบอง ควรแปลตามทางการไทยใช้วา่ พระตะบอง

-257- ព្េះវហិ ារ ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า เปรียะวิเหีย เปรียะฮ์วิ เฮีย ควรแปลตามทางการไทยว่า พระวิหาร បន្ាទយមានជ័យ ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า บันเตียเมียนจึย บ็อนเตียยเมียนจึย ควรแปลตามท่ีทางการไทยใช้หรือไทยใช้มาต้ังแต่ อดีตว่า บันทายมีชัย អងរគ វតត ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า อังกอร์วัด อ็องโกเวือด ควรแปลตามทที่ างการไทยใชห้ รือไทยใช้มาต้งั แต่อดีตว่า นครวดั 2) การแปลแบบทับศัพทภ์ าษาไทยเป็นภาษาเขมร เช่น กรุงเทพฯ ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า ព្រុងពេេ ควรแปล ตามท่ีทางการกัมพูชาใช้วา่ បាងររ สุรินทร์ ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า សរ៊ុ ន៉៊ិុ ควรแปลตามท่ีคน กมั พูชามักจะใช้วา่ សរ៊ុ ន៉ិ ា ปราจีนบุรี ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า ព្បាជីនប៊ុរី ควรแปล ตามท่ีคนกมั พชู ามักจะใช้วา่ ព្បាចន៉ិ ប៊ុរី สระแก้ว ไม่ควรแปลทับศัพท์ว่า សៈករវ ควรแปลตามที่ คนกมั พชู ามักจะใชว้ า่ ព្សះករវ บุรรี ัมย์ ไม่ควรแปลทับศพั ท์วา่ ប៊ុររី ម៉ា ់ ควรแปลตามท่ีคน กัมพูชามักจะใช้วา่ ប៊ុររី មយ ส่วนชื่อสถานที่และเมืองท่ีเคยปรากฏในเอกสารเขมรใน อดีต แต่ปัจจุบันคนกัมพูชาไม่คนุ้ เคยกับชอื่ น้ัน ๆ ก็อาจจะแปลตามการ ออกเสยี งในภาษาไทยหรือการแปลตามตวั เขียนในภาษาไทยกไ็ ด้ เชน่ อยุธยา อาจแปลทบั ศัพทต์ ามการเสียงวา่ អាយ៊ុតផារ់យ៉ា หรอื แปลทบั ศัพทด์ ว้ ยการถ่ายถอดอักษรไทยเป็นอักษรเขมรว่า អយ៊ុធ្យា สโุ ขทัย อาจแปลทับศพั ท์ตามการเสยี งว่า សព៊ុ ោថៃ หรือ แปลทบั ศพั ท์ดว้ ยการถา่ ยถอดอักษรไทยเป็นอกั ษรเขมรว่า សព៊ុ ោេ័យ

-258- มหาสารคาม ควรแปลทับศัพท์ว่า មហាសារៈោម หรือ មហាសាររ់ោម กลวิธีการแก้ปัญหาการแปลแลทับศัพท์ชื่อสถานท่ีและ เมืองจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาเขมรยังตอ้ ง พิจารณาต่อไปในภายภาคหน้าซ่ึงอาจมีการกาหนดการเรียกช่ือสถานที่ และชอ่ื เมืองขึน้ มาอย่างเปน็ ทางการระหวา่ งประเทศไทยและกมั พูชา นัก แปลจะต้องติดตามศึกษาอย่างสม่าเสมอ จึงจะสามารถแปลชื่อสถานที่ และเมืองไดถ้ กู ต้องทนั สมยั 1.2 ชอ่ื บุคคล การแปลแบบทับศัพท์ชื่อบุคคลจากภาษาเขมรเป็น ภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาเขมรมีทั้งการทับศัพท์ตามเสียงและ ตัวอักษร ส่ิงที่สาคัญที่สุดทีน่ ักแปลจะศกึ ษาการเรียกชื่อบคุ คลอยา่ งเปน็ ทางการของประเทศไทยและกัมพชู าใหด้ ี โดยเฉพาะชื่อบคุ คลสาคัญและ ในแต่ละประเทศเรยี กอย่างเปน็ ทางการแลว้ ชอ่ื บุคคลสาคญั ของกัมพชู า เช่น เขมร องั กฤษ ไทย Hun Sen ฮนุ เซน ហ៊ុ ន កសន Pol Pot พล พต ប៊៉ុាល េត Heng samrin เฮง สัมริน ពហង សរំ ន៉ិ Khieu Samphan เขยี ว สมั พนั ព ៀវ សផំ ន Chea Sim เจีย ซิม ជា សមី៊ុ Sam Rainsy สม รงั สี សម រង្ុី Khieu Kanharith เขียว กัญญาฤทธ์ิ ព ៀវ កាញារេី ធ Son Sen ซอน เซน សន៊ុ ពសន Ieng Sary เอยี ง ซารี ពអៀង សារី

-259- ตัวอย่างชื่อบุคคลเขมรดังกลา่ วนี้ หากนักแปลไมไ่ ด้ ศึกษาว่ามีชื่อที่ทางการไทย แปลตามความเข้าใจ หรือยึดวิธีการแปล แบบใดแบบหนงึ่ กล่าวคอื ยึดตามการถ่ายถอดตวั อักษรหรอื ยึดตามการ ถ่ายถอดเสียง ก็จะทาใหม้ ีปัญหาเกิดข้ึน ดงั ตัวอย่าง เช่น ปัญหากับการแปลช่ือบุคคลก็คือ หากแปลทับศัพท์ ตามตัวอักษรหรือแปลยึดตามวิธีการถ่ายถอดตัวอักษร นักแปลบางคน อาจคิดคน้ เครอื่ งหมายมาแทนในภาษาไทยอีก เครื่องหมายดังกล่าวไม่มี ในภาษาไทย เครื่องหมายตรีศัพท์ ( ៊ ) เคร่ืองหมายฟันหนู ( ៊៉ា ) และ เครื่องหมายบอ็ นตอ็ ก ( ៊់ ) ทาให้ยุ่งยากสาหรับนกั แปลอีก แต่ถ้าหากมี ความจาเป็นท่ีต้องการจะสอ่ื สารว่าตวั อักษรเขมรเขียนอย่างไร ก็อาจทา ได้ แต่ต้องอธิบายผอู้ า่ นให้เขา้ ใจ กลวิธกี ารแกป้ ญั หาก็คอื นักแปลจะตอ้ งหลักเลี่ยงสง่ิ ท่ีให้ผู้รับสารแปลเข้าใจโดยยาก หรือไม่คุ้นเคยกับคาเรียกช่ือนั้นที่แปล นั้น กล่าวคือ หากมีเคร่ืองหมายท่ีไม่มีในภาษาไทย อาจจะต้องเลือกใช้ วิธีการแปลตามเสียงอ่านหรือการถ่ายถอดเสียง แม้เสียงอ่านจะไม่ตรง ตามต้นฉบบั แต่ให้มีความคล้ายคลงึ มากที่สดุ ก็เป็นกลวิธีหนึ่งท่สี ามารถ ทาให้ผอู้ ่านเขา้ ใจกับช่อื บคุ คลเขมรนัน้ ได้ อยา่ งเช่นชอ่ื วา่ ស៊ុ ចាន់ផល ไม่ ควรแปลทบั ศัพทว์ า่ สุข จาน่ผล อาจแปลแปลทบั ศัพท์ว่า สุข จนั ผล หรือ เซาะ จันพ็อล ก็ได้ หรือนักแปลจะต้องทาข้อตกลงในการอ่านงานแปล ตามคาอธิบายการใช้เคร่ืองหมายในพจนานุกรมภาษาเขมร-ไทย ฉบับ พระยาอนมุ านราชธน เล่ม 1-3 (บรรจบ พันธเุ มธา. 2517 : 1-13) จะทา ให้ผูอ้ า่ นมีความเข้าใจในการแปลทบั ศพั ทภ์ าษาเขมรเปน็ ภาษาไทย การแปลแบบทับศัพท์ชื่อบุคคลในภาษาไทยเป็น ภาษาเขมรก็เช่นเดียวกัน นักแปลจะต้องศึกษาช่ือบุคคลไทยท่ีประเทศ กัมพูชาใช้เรียกท้ังจากเอกสารและสือ่ อิเล็คทรอนิก โดยเฉพาะชือ่ บคุ คล สาคัญของประเทศไทย เชน่ ไทย องั กฤษ เขมร ชวน หลีกภัย Chuan Leekpai ឆួន លីគថផ

-260- ไทย อังกฤษ เขมร อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ Abhisit Vejjajiva อานันท์ ปันยารชนุ Anand Panyarachun អភ្៉ិសេ៉ិ ៉ធិ ពវជាា ជីវៈ ทักษณิ ชนิ วตั ร Thaksin Shinawatra អាណនត បា៉ានយរ៉ា ៈឆ៊ុន สรุ ยุทธ์ จลุ านนท์ Surayut Chulanont ថារ់សីន៊ុ សី៊ណុ ាវ៉ាព្ា ย่ิงลักษณ์ ชนิ วตั ร Yingluck Shinawatra សរ៊ុ ៉ាយ៊ុ េធ ច៊ុល្លា នន៊ុ ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา Prayut Chan-o-cha យីងឡារ់ សីណ៊ុ ាវ៉ាតត្ ประวติ ร วงศส์ วุ รรณ Prawit Wongsuwan ព្បា៉ាយ៊ុ ត ចាន់អូឆា ព្បាវតី វង្ស៊វុ ណណ รายชื่อดังกล่าวจะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่ในภาษาเขมร จะใชช้ ือ่ เรยี กบคุ คลตามชื่อภาษาองั กฤษและตามคาอา่ น ปัญหาที่เกดิ ข้นึ สาหรับนักแปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรก็คือการแปลโดยการทับศัพท์ ตามตัวเขียนไทย ทาให้คนเขมรท่อี า่ นหรอื ฟังไมส่ ามารถเขา้ ใจ กลวธิ กี าร การแก้ปัญหาในเร่ืองน้ี นักแปลท่ีจะแปลช่ือบุคคลไทยเป็นภาษาเขมร จะต้องศกึ ษาใหช้ ัดเจนวา่ ชื่อบคุ คลดังกลา่ วในภาษาเขมรใชอ้ ยา่ งไร อีกประการหน่ึงจะต้องทาความเข้าในด้านการวาง ตาแหน่งระหว่างช่ือกับนามสกุลของคนไทยและกับคนกัมพูชาก็คือ คน ไทยวางชื่อไว้ข้างหน้าและวางนามสกุลตามหลัง ส่วนคนกัมพูชาวาง นามสกุลไว้หน้าและวางชื่อไว้หลัง เช่นในภาษาไทยเรียกช่ือว่า จันทร์ ทองดี คาว่า จันทร์ เป็นช่ือ ส่วนคาว่า ทองดี เป็นนามสกุล ตรงกันข้าม กันนี้ในภาษาเขมรเรียกชอ่ื ว่า សន វណណ ៈ คาว่า សន เป็นนามสกุล ส่วนคา ว่า វណណ ៈ เป็นชื่อ การวางตาแหน่งช่ือและนามสกุลของไทยและเขมรน้ี เป็นปัญหาสาหรับคนไทยและคนกัมพูชา กลวิธีการแก้ปัญหาในเรื่องนี้ นักแปลโดยเฉพาะการแปลแบบล่ามจะต้องอธิบายการวางตาแหน่งช่ือ และนามสกุลของคนไทยในโอกาสที่เหมาะสม

-261- 2. ปัญหาและกลวธิ กี ารแกป้ ัญหาการแปลศพั ท์เฉพาะ ศัพท์เฉพาะเป็นคาศัพท์ที่กาหนดหรือบัญญัติใช้เฉพาะกลุ่ม บุคคลในวงการใดวงการหนึ่ง หรือใช้ในแวดวงวิชาการในสาขาต่าง ๆ เช่น ศพั ท์แพทย์ ศัพท์ ศพั ท์ทหาร ศัพท์กฬี า และศัพทม์ านุษยวิทยา เปน็ ต้น นักแปลท่ีแปลงานประเภทนี้มักจะพบเจอกับปัญหาการไม่รู้ ความหมายของศพั ท์ ส่วนใหญ่จะเปน็ การแปลงานวชิ าการ ศัพท์เฉพาะ ในภาษาเขมรบางคาศัพท์ตรงภาษาไทย และสามารถถ่ายถอดเป็น ตัวอักษรได้ตรงกัน โดยเฉพาะศัพท์ท่ีใช้ภาษาบาลีสันสกฤตในการ บัญญัติศัพท์ อาทิเช่นศัพท์เฉพาะว่า មហាវិេាល័យ ถ่ายถอดเป็น มหาวิทยาลัย แต่หมายถึง คณะที่เป็นหน่วยงานในมหาวิทยาลัยซ่ึงรวม ภาควิชาต่าง ๆ ท่ีจัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน ส่วนคาว่า มหาวิทยาลัย ในภาษาเขมรใช้คาว่า សារលវេិ ាល័យ ถ่ายถอดเป็น ภาษาไทยวา่ สากลวิทยาลยั ซึง่ ไม่มีใช้ในภาษาไทย ตวั อยา่ งศพั ทเ์ ฉพาะท่มี ลี กั ษณะดังกลา่ วขา้ งตน้ น้ี เช่น คาเฉพาะเขมร อักษรไทย ความหมาย วทิ ยาลยั โรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา វេិ ាល័យ อนุวทิ ยาลยั អនវ៊ុ េិ ាល័យ สาลา โรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนต้น សាល្ល นายกสาลา ន្ទយរសាល្ល สากลวทิ ฺยาธิการ โรงเรยี น សារលវេិ ាធ្យ៉ិការ นรวิทฺยา នរវេិ ា ภาสาวทิ ฺยา ผอู้ านวยการ, ครูใหญ่ ភាសាវេិ ា สาสตฺ รฺ าจารยฺ សាស្តសចត ារយ อธิการบดี อกฺสรสลิ ปฺ ์ អរ្រស៉លិ ប៍ รฏฺฐาภิบาล มานุษยวทิ ยา រដ្ាឋភ្៉ិបាល รฏฺฐาบาล រដាបាល ภาษาศาสตร์ อาจารย์สอนระดับ มหาวทิ ยาลยั วรรณคดีหรือวรรณกรรม รัฐบาล บริหารงาน (บคุ คล)

คาเฉพาะเขมร อกั ษรไทย -262- េលពោ พลโท ความหมาย พลทหาร េលឯរ พลเอก (พลทหารยศตา่ สดุ ) พลทหาร សោ៊ុ ភ្៉ិបាល สขุ าภบิ าล (พลทหารยศสูงกวา่ េលពោ) វេិ ាសាស្តសត สาธารณสขุ សោ៊ុ ភ្៉ិបាល วิทยฺ าสาสตฺ ฺร สาธารณสขุ ศาสตร์ វេិ ាសាស្តសសត ងមគ สุขาภิบาล สังคมศาสตร์ ពវជាសាស្តសត วทิ ยฺ าสาสตฺ รฺ វេិ ាសាស្តសពត សដារ៉ចិ ច สงคฺ ม แพทยศาสตร์ เวชชฺ สาสตฺ ฺร เศรษฐศาสตร์ េស្នវេិ ា วิทยฺ าสาสตฺ รฺ ปรัชญา เสฏฺฐกิจฺจ ทสนฺ วิทฺยา ตวั อยา่ งคาศพั ท์ดังกล่าวข้างตน้ มรี ปู เขียนและออกเสียงคล้ายกับ ภาษาไทย แต่ใชใ้ นความหมายแตกตา่ งกนั ยังมศี พั ท์เฉพาะท่ใี ชใ้ นแวดวง ต่าง ๆ อีกหลายคา นักแปลใช้กลวธิ ีแก้ปญั หาดว้ ยการศกึ ษาวิธีการใชศ้ ัพทเ์ ฉพาะท่ีมี ลักษณะเช่นน้ีในแวดวงหรือสาขาวิชาท่ีจะแปลให้ชัดเจน มิเช่นน้ันการ แปลศัพทเ์ ฉพาะนน้ั ๆ จะมีความหมายคลาดเคล่ือนไปจากภาษาตน้ ฉบับ กลวธิ แี กป้ ญั หาสาหรับนกั แปลเอกสาร ดงั นี้ 1) ตอ้ งศกึ ษาเนอ้ื หาและศพั ทเ์ ฉพาะในแวดวงหรอื สาขาวิชาท่ี จะแปลให้เข้าใจด้วยวิธีการสืบค้นข้อมูลจากเอกสารและผู้เชี่ยวชาญใน แวดวงหรอื สาขาวิชาน้นั ๆ 2) คัดแยกศัพท์เฉพาะท่ียากและไม่คุ้นเคยแล้วนาคาศัพท์ที่ คดั แยกน้ันไปศกึ ษาความหมายทถ่ี กู ต้องและเหมาะสมการบรบิ ทประโยค ฉบับแปล

-263- 3) นารา่ งฉบับแปลใหผ้ เู้ ช่ียวชาญในแวดวงหรอื สาขาวิชานั้นๆ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง กอ่ นท่จี ะนาไปใช้เป็นฉบับแปลจริง กลวิธีการแก้ปัญหาสาหรับนักแปลแบบลา่ มต้องเตรียมตัวกอ่ นที่ จะปฏิบัติงานการแบบล่าม ต้องใช้กลวิธีการจดจาคาศัพท์ให้ขึ้นใจ หรือ ใช้วิธีการบันทึกศัพท์เฉพาะท่ีจายากไว้สมุดบันทึกพกประจาตัว และนา ติดตัวไปใช้ในคราวจาเปน็ ท่ีจะต้องแปลศพั ทเ์ ฉพาะน้ัน ๆ ปัญหาและกลวธิ ีการแกป้ ัญหาการแปลระดบั โครงสรา้ งทางภาษา ความเหมือนกันทางด้านรูปลักษณ์ทางภาษาของภาษาเขมร และภาษาไทยมีความเหมอื นกนั คอื เป็นภาษาคาโดด ทาใหโ้ ครงสร้างทาง ภาษาท้ังสองมีความเหมือนกันหลายประการซ่ึงสามารถใช้วิธีการแปล แบบคาต่อคา (words by words translation) และแปลแบบตรงตัว (literal translation) ได้ แต่ในสว่ นทีม่ ีความแตกต่างระหว่างภาษาเขมร กับภาษาไทย เช่น การสร้างคา คาลงท้าย คาสรรพนาม และวัฒนธรรม การใช้ภาษา เป็นต้น ทาให้เกิดมีปัญหาสาหรับนักแปลไม่มากก็น้อย ถ้า หากนกั แปลไมส่ ามารถถ่ายทอดความหมายให้ถกู ตอ้ งกับบริบทของคาใน ประโยคนั้นไดถ้ ูกต้อง ความหมายในฉบบั แปลจะไม่ตรงกบั ความหมายใน ภาษาต้นฉบับ ดังที่ไดก้ ล่าวไว้แล้วนั้น ปัญหาการแปลระดับคา แบ่งเป็น ดังนี้ 1. คาแผลง คาแผลงหรือคาทม่ี ีการเตมิ หน่วยคาหน้าคาและกลาง คาในภาษาเขมรเปน็ วธิ ีการสรา้ งคาท่ีแตกตา่ งจากภาษาไทย การแปลคา แผลงจึงมีปัญหาสาหรับนักแปลที่จะแปลภาษาไทยเป็นภาษาเขมรและ ภาษาเขมรเป็นภาษาไทย ตัวอยา่ งปัญหาและกลวธิ ีการแกป้ ัญหา ดังนี้ 1.1 ปัญหาการแปลคาแผลงเขมรเปน็ ภาษาไทย ส่วน ใหญ่จะมีปัญหาในการแปลคาแผลงท่ีทาหน้าที่เป็นกริยาการีต ดัง ตัวอยา่ งและวธิ กี ารแก้ปญั หาในการแปลคาแผลง เชน่ បពព្ងៀន แปลว่า สอน ไม่ควรแปลวา่ ทาใหเ้ รยี น បពងតើក แปลวา่ ตัง้ ก่อต้งั ไม่ควรแปลวา่ ทาใหเ้ กิด

-264- បនយថ แปลวา่ ลด ไมค่ วรแปลวา่ ทาใหถ้ อย បកនមថ แปลว่า เพิ่ม ไม่ควรแปลวา่ ทาให้แถม ផួដល แปลวา่ ผลัก ล่ม ไม่ควรแปลว่า ทาใหล้ ม้ กลวิธีการแก้ปัญหาในการแปลคาแผลงกริยาการีต เขมรเป็นภาษาไทยน้ี นักแปลจะต้องศึกษาความหมายของคากริยาและ เลอื กคากริยาไทยทม่ี ีความหมายตรงกันมากท่ีสุด ควรหลกี เลี่ยงการใชค้ า ว่า “ทาให้” 1.2 การแปลคาไทยเป็นคาแผลงในภาษาเขมรก็เป็น ปัญหาสาหรับนักแปลเช่นเดียวกนั บางคามีความหมายเหมือนกนั แต่ใช้ ในบรบิ ทต่างกนั เพราะความหมายของคาท้งั สองคาแตกตา่ งกนั และใชใ้ น บริบทต่างกนั และชนดิ ของคาตา่ งกนั ในภาษาเขมร เชน่ การก่อสรา้ ง แปลวา่ សណំ ង់ ไม่ควรแปลวา่ ការរសាង การเดนิ แปลวา่ ដំពណើរ ไม่ควรแปลวา่ ការពដើរ ความอยาก แปลว่า ចំណង់ ไมค่ วรแปลว่า ការចង់ ความรอ้ น แปลว่า រពដដ ไมค่ วรแปลว่า ការពតត หมุน แปลวา่ បងិលវ ไม่ควรแปลว่า វលិ กลวิธีการแก้ปัญหาการแปลภาษาไทยเป็นคาแผลง กริยาการีตในภาษาเขมรน้ีก็คือนักแปลจะต้องศึกษาคาและความหมาย ของแผลงและการใชค้ าแผลงในภาษาเขมรใหม้ ีความรู้เปน็ อยา่ งดี ถ้าหาก นักแปลสามารถใชค้ าแผลงได้ถือวา่ เป็นภาษาแปลไทยเปน็ ภาษาเขมรที่มี ประสิทธิภาพ ถกู ตอ้ ง และสละสลวย 2. คายมื ภาษาเขมรและภาษาไทยมีการยืมคาซ่ึงกนั และกันมา ใช้หลายคา ความหมายของคายืมมีท้ังคงเดมิ และเปลย่ี นแปลง ปัญหาท่ี มกั พบบ่อยสาหรบั การแปลภาษาเขมรกค็ อื การใช้ความหมายเดิมของคา ยืมที่มีความหมายเปล่ียนแปลงไป นอกจากน้ีท้ังภาษาเขมรและ

-265- ภาษาไทยก็มีการยืมภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ มาใช้ แต่วิธีการยืมคา ตา่ งประเทศในภาษาเขมรและภาษาไทยมคี วามแตกต่างกนั เชน่ เขมร ความหมาย ยืมจาก แวน่ ตา ไทย កវន៉ា ា หมอ ไทย ហម นายหม่ืน ไทย មា៉សា នី៊ុ ปดิ เทอม ฝรัง่ เศส វរា៉ ង แบตเตอรี ฝร่งั เศส អាគ៊ុយ ทดลอง ทดสอบ องั กฤษ ពតសត คอมพิวเตอร์ องั กฤษ រ៊ុំេយូេ័រ แผน่ ดิส อังกฤษ ឌីស บิต อังกฤษ បីត เสมยี น เวียดนาม ៃី ขนมชนดิ หนงึ่ เวยี ดนาม បាញក់ ឆវ เกวยี น เวียดนาม កឆ ภาษา บาลี ភាសា จงั หวัด เขต บาลี ព តត วัด บาลี វតត อาทิตย์ สนั สกฤต អាេ៉ិតយ วิทยา สันสกฤต វេិ ា อาจารยร์ ะดับอุดมศึกษา สนั สกฤต សាព្សាត ចារយ จะเห็นว่าในภาษาเขมรมีการยืมคาต่างประเทศมาใช้เหมือนใน ภาษาไทย แต่คายมื บางคาที่ใชใ้ นภาษาเขมรยืมจากภาษาแตกต่างกนั ซ่ึง มีความหมายเหมือนกนั กบั คายืมในภาษาไทย เชน่ คาวา่ អាគ៊ុយ ในภาษา

-266- เขมรยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส ส่วนในภาษาไทยยืมคาวา่ แบตเตอรี่ จาก ภาษาอังกฤษ ปัญหาในการแปลคายืมเขมรภาษาไทยและคายืมภาษาไทยเป็น ภาษาเขมรก็คือการใช้คายืมที่แตกต่างกันกล่าวคือคายืมในภาษาเขมร และภาษาไทยยืมมาจากภาษาเดิมที่แตกต่างกัน หากแปลคายืมโดยใช้ ภาษาเดิมเปน็ ฉบับแปลจะทาใหผ้ ้อู ่านหรือฟงั ไม่เขา้ ใจ កាពរម៉ា หมายถึง ของหวานประเภทหนึ่ง ซ่ึงเป็นคายืมจากภาษา ฝรั่งเศส ตรงกับคายืมในภาษาไทยว่า ไอศรีม ซ่ึงยืมจากภาษาอังกฤษ หากจะแปลคาว่า កាពរម៉ា นี้ว่า กาแรม คนไทยก็ไม่สามารถเข้าใจได้ ตรงกันขา้ มกนั น้ีคนเขมรกไ็ มเ่ ข้าใจคาว่า ไอศกรีม เชน่ เดยี วกัน វ៉ារសាំង หมายถึง ยาฉีดเพ่ือป้องกันเชื้อโรค ซ่ึงเป็นคายืมจาก ภาษาฝร่ังเศส มีความหมายตรงกับคายืมในภาษาไทยว่า วัคซีน ซ่ึงเป็น ยืมจากภาษาอังกฤษ หากจะแปลคาวา่ វ៉ារសាំង นี้ว่า วักซัง คนไทยก็ไม่ สามารถเข้าใจได้ ตรงกันข้ามกันนี้คนเขมรก็ไม่เข้าใจคาว่า วัคซีน เชน่ เดยี วกนั กลวิธีการแกป้ ัญหาในการแปลคายืมนก้ี ็คือนักแปลจะตอ้ งศึกษา คายืมภาษาต่างประเทศทั้งภาษาเขมรและภาษาไทยโดยสืบค้นทั้งท่ีมา ความหมาย และการเปลี่ยนแปลงคายืมให้เข้าใจ จึงจะสามารถแปลคา ยืมได้อยา่ งถูกตอ้ ง 3. การเรยี งคาในประโยค แม้ว่าโครงสร้างประโยคพื้นฐานในภาษาไทยกับ ภาษาเขมรจะเหมอื นกัน แต่ก็มีการเรยี งคาในประโยคทีแ่ ตกต่างซ่งึ ขน้ึ อยู่ กบั กริยาบางตวั ทเ่ี ปน็ ปญั หาสาหรบั นักแปลภาษาเขมร ไดแ้ ก่ 3.3.1 กริยาทไี่ มแ่ สวงหากรรมหรอื อกรรมกริยา เช่น 1) កបរ แตก เชน่ ในประโยควา่ ្ុំកបររាល។ ผมหัวแตก កបរពជើង ្ុអំ ស់ពហើយ។ ขาผมแตกหมดแล้ว

-267- ឡានកបររង។់ รถยางแตก 2) คาวา่ បារ់ หัก เชน่ ประโยควา่ ្ុំបារ់ពជងើ ។ ผมขาแตก ពគបារ់រ។ เขาคอหัก ព្របីបារ់កសងន ។ ความเขาหกั 3) คาวา่ ដ្ឋច់ ขาด ดบั อด ไม่มี เช่นประโยควา่ ផះា ពគដ្ឋច់ពភ្ាើង។ บา้ นเขาไฟดบั ក ាងដ្ឋច់ក ្។ วา่ วเชอื กขาด ដ្ឋច់ៃលន ពៅបាត់។ ถนนขาดแล้ว กลวิธีการแก้ปัญหาการแปลคากริยาดังกล่าวนัก แปลจะตอ้ งศกึ ษาการใชแ้ ละการคากริยาที่แสวงหากรรมและไม่แสวงหา กรรมในประโยคท้ังภาษาเขมรและภาษาไทย 3.3.2 กริยาท่ีทาหน้าท่ีเหมือนคานามและเป็นประธาน ในประโยค ในภาษาเขมรมีกริยาวลีท่ีข้ึนต้นด้วยคาว่า មាន มี เชน่ ตน้ ฉบบั មានលរ់កសបរពជងើ សាា តៗពេបើ ចលូ សុរត ។ ฉบบั แปล ขายรองเท้าสวย ๆ เพิง่ เข้าสต๊อก ต้นฉบบั មានលរ់អងរក ធ្យមមជាត៉ិម៉ិនពព្បជើ ីពគមី។ ฉบบั แปล ขายขา้ วสารธรรมชาติไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ต้นฉบับ មានេេួលជួសជ៊ុលេូរស័េា។ ฉบบั แปล รับซ่อมโทรศัพท์

-268- การแปลคากริยาท่ีทาหน้าที่เหมือนคานามในภาษาไทย เช่น ตน้ ฉบบั ตนื่ นอนแต่เช้าทาให้ร่างกายสดชื่น ฉบบั แปล ពងើបេីព្េឹរបណដ លឱ្យរងកាយព្សស់ ព្សាយ។ ต้นฉบบั ออกกาลังกายทุกวันทาให้เราแขง็ แรง ฉบบั แปล ហាត់ព្បាណរល់ថៃពៃ ធ្យវឱើ ្យពយើងរងឹ មា។ំ ปัญหาในการแปลประโยคดังกลา่ วสาหรับนักแปลก็ คือนักแปลจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของคากริยาและจะตอ้ ง ปรับบทแปลใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของประโยค ปญั หาและกลวิธีการแปลคาหลายนยั และสานวน คาท่มี นษุ ยใ์ ชใ้ นการส่อื สารกนั ล้วนมคี วามหมายด้วยกนั ทั้งสิ้น ความหมายของคามีทั้งโดยตรงนัยเดียว หลายนัย และโดยนัยประหวดั คาท่ีมีความหมายโดยหลายอย่างซ่ึงเรียกว่า คาหลายนัย ส่วนคาท่ีมี ความหมายโดยนยั ประหวัดในภาษาไทยเรียกว่า สานวน การแปลคาท่ีมีความหมายหลายอย่างและคาสานวน จึงเป็น ปญั หาสาหรบั นักแปลทุกภาษา เพราะจะต้องวิเคราะห์ ตีความ และแปล ให้รักษาไวซ้ ง่ึ ความหมายตามภาษาตน้ ฉบับใหม้ ากทสี่ ดุ นักแปลจึงต้องใช้ กลวิธีการแก้ปัญหาการแปลคาหลายนยั และสานวน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. คาหลายนัย คาหลายนัย ในภาษาเขมรเรียกว่า ពារយេហ៊ុ ន័យសេា คา ดังกล่าวมีความหมายตามบริบทประโยค ตัวอย่างคาว่า “ជា” ในภาษา เขมร เปน็ คาท่ีมคี วามหลายนัย ดังน้ี ជា แปลว่า เป็น ดงั เช่นในประโยคว่า ต้นฉบบั ្ុំជាព្គូបពព្ងៀន។

-269- ฉบบั แปล ฉนั เป็นครูสอนหนงั สือ ต้นฉบับ ពគជាេលររថៃ។ ฉบบั แปล เขาเป็นแรงงานชาวไทย ជា แปลว่า หาย (จากอาการไข้) ดงั เชน่ ในประโยคว่า ตน้ ฉบบั ្ុំបានជាសះពសបើយពហយើ ។ ฉบบั แปล ฉนั หายดีแลว้ ต้นฉบบั ្ុំបានជាេីការឆាងពមពរគវរី ស៊ុ រូវដី ១៩ ពហយើ ។ ฉบบั แปล ฉันหายจากการตดิ เชือ้ ไวรัสโควิด 19 แล้ว ปัญหาที่มักพบบ่อยก็คือนักแปลจะแปลคาหลายนัยเปน็ คานัยเดียว กล่าวคือแปลเพียงความหมายโดยตรงอย่างเดียว ไม่ได้ พิจารณาถึงบริบทในประโยค ดังตัวอย่างข้างตน้ คาว่า ជា มีความหมาย “เปน็ หาย ดี” ซ่ึงขน้ึ อยกู่ ับประโยคและสถานการณ์ทใี่ ช้ ตวั อยา่ งเช่นใน ประโยคว่า ต้นฉบับ ្ុំបានជាសះពសបយើ ពហយើ ។ ไม่สามารถจะแปลได้ว่า ฉบบั แปล ฉันได้เป็นสบายดีแล้ว คาว่า “ดี” ในภาษาไทยเป็นคาท่ีมีความหมายหลายนัย เช่นเดยี วกนั ตัวอยา่ งในประโยคว่า ดี แปลว่า លា เขาเปน็ คนดี ต้นฉบับ ពគជាមនស៊ុ ្ល។ា ฉบับแปล

-270- ดี แปลว่า ជា (หายจากอาการปว่ ย) ตน้ ฉบับ เขาดีขึ้นแล้วจากอาการไข้ ฉบบั แปล គាត់បានជាេីព្គុនពតត ។ ดี แปลว่า សាា ត (สวย งาม) ตน้ ฉบับ นาเดียหน้าตาดีมาก ฉบบั แปล ណាពឌៀម៊ុ មាត់សាា តណាស់។ กลวิธีการแก้ไขปัญหาในการแปลคาหลายนัยน้ัน ลาดับ แรกนักแปลจาเป็นต้องเข้าใจก่อนว่าคาศัพท์นั้นเป็นคาประเภทไหน คาศัพท์หนึ่งคาจะให้ความหมายไดห้ ลากหลายและความหมายของคาที่ เลือกใช้นัน้ จะต้องให้เหมาะสมกับบรบิ ทของประโยค ลาดับถัดมา นักแปลต้องพจิ ารณาถึงความเหมาะสมของ ความหมายของคาทีใ่ ช้ ถ้าหากวา่ ความหมายในฉบับแปลผิดเพย้ี นไปจาก ความหมายในตน้ ฉบบั นกั แปลจะตอ้ งเลือกใชค้ าอื่นหรอื คาที่ใกลเ้ คียงกบั ความหมายของคาเดิมให้มากทสี่ ดุ เครื่องมือที่ช่วยนักแปลในการแปลคาท่ีมีความหมาย หลายนัยนั้น ก็คือ พจนานุกรมคาพ้อง (Synonym) ท้ังที่เป็นฉบบั ภาษา เขมรและภาษาไทย จะทาใหไ้ ดค้ าศัพท์และความหมายท่ีเพยี งพอ แตน่ กั แปลจะต้องพิจารณาระดับความหนกั เบาของความหมายของคาน้นั ๆ ท่ี นกั แปลจะสามารถเลอื กใชค้ าศัพท์เพ่อื ส่ือความหมายให้ตรงจากต้นฉบับ ทต่ี ้องการส่ือออกมาได้ 2. การแปลสานวน สุภาษิต และคาพังเพย การแปลสานวน สุภาษิต และคาพังเพยถือว่าเป็นเรื่อง ยากสาหรับนักแปล เพราะนักแปลต้องตีความหมายของสานวนแล้ว เลือกคาแปลที่มีความหมายเทียบเคียงกัน ปัญหาท่ีเกิดข้ึนการแปล

-271- สานวนนนั้ กค็ ือการเลอื กกลวธิ กี ารแปลของนักแปล ถ้าหากนกั แปลเลือก กลวิธีการแปลไปตามรูปคาหรือการแปลคาต่อคา ผู้อ่านหรือผู้ฟังอาจจะ ไม่เข้าใจฉบับแปลนั้นก็ได้ เพราะไม่คุ้นเคยภูมิหลังดา้ นสังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และวิถชี วี ิตในภาษาต้นฉบับ การแปลสานวน สภุ าษิต และคาพังเพยเขมรอาจมปี ญั หา ไมม่ ากเหมือนกบั การแปลจากการแปลภาษาอ่ืน เพราะวัฒนธรรมและวถิ ี ชีวติ ของคนเขมรและคนไทยมคี วามคล้ายคลึงกัน แต่การใชค้ าในสานวน สุภาษิต และคาพังเพย อาจจะแตกต่างกันไปบ้าง นักแปลอาจจะต้อง ตีความแลว้ พิจารณาเลือกใช้คาทีส่ ามารถสื่อความให้ยงั คงรักษาตน้ ฉบบั ไว้ และผอู้ ่านฉบบั แปลเขา้ ใจเหมอื นกบั ภาษาต้นฉบับ เช่น ตน้ ฉบับ សំច៊ុ លូ រមួ រពំ លរេ៊ុរខផង។ ฉบับแปล ขอแสดงความเสยี ใจด้วย ไม่ควรแปลตรงตัวหรือแปลคาต่อคาว่า ขอเข้าร่วมแบ่ง ความทุกข์ด้วย เพราะในภาษาไทยการแสดงความเสียใจนิยมใช้สานวน ว่า “ขอแสดงความเสียใจ” หากนักแปลเลือกแปลตรงตัวตามต้นฉบับ ความหมายในการสือ่ ความฉบับแปลอาจไม่ตรงกับตน้ ฉบบั อย่างไรก็ตามสานวนเขมรบางสานวนตรงกับสานวนไทย นักแปลสามารถแปลสานวนเขมรเป็นภาษาไทยหรือสานวนไทยเป็น ภาษาเขมรด้วยกลวธิ กี ารแปลแบบตรงตัวหรอื คาตอ่ คาได้เลย เชน่ สานวนเขมร ដូចព្របីនងឹ ពចរ។ สานวนไทย เหมือนควายกับตน้ กลว้ ย สานวนไทย วัวหายลอ้ มคอก สานวนเขมร ព្របីបាត់ពេបើ ពធ្យវរើ បង។ กลวิธีการแก้ปัญหาในการแปลสานวน สุภาษิต และคา พังเพยนั้น นักแปลจะต้องศึกษาวัตถุประสงค์ของการแปล ถ้ามี

-272- วัตถุประสงค์ที่จานาสานวนแปลไปใชเ้ พื่อการวิเคราะห์ทางด้านวิชาการ เช่น การศึกษาวิเคราะห์โลกทัศน์และวิถีความคิดของคนเขมรและคน ไทยผ่านสานวนน้ัน ๆ การศึกษาการใช้ภาษา และการวิเคราะห์สานวน เชิงวรรณศิลป์ เป็นต้น นักแปลอาจจะต้องในกลวิธีการแปลตรงตัวหรือ คาต่อคาเพ่ือรักษาคาและความหมายของคาต้นฉบับไว้ แต่ถ้าหากมี วัตถุประสงค์เพื่อส่ือความใหเ้ ข้าใจอาจจะแปลโดยใชส้ านวนของภาษาที่ แปลแทนได้ ถ้าความหมายสามารถเท่ากันและสื่อแทนกันได้ เช่น ตัวอย่างการแปลสานวนไทยเป็นภาษาเขมร แบบที่ 1 ตน้ ฉบับ ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแตง่ ฉบับแปล មានសាា តពព្ពាះពរម មនស៊ុ ្សាា តពព្ពាះកតង។ แบบที่ 2 สานวนไทย ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง สานวนเขมร ពព្ពាះពរម មនស៊ុ ្សាា ត ពព្ពាះេឹរច៉តិ ត។ ตวั อยา่ งการแปลสานวนไทยเปน็ ภาษาเขมร แบบที่ 1 ตน้ ฉบบั ច៊ះុ េឹរព្រពេើ ព ងើ ពលើោា ។ ฉบบั แปล ลงน้า (เจอ) จระเข้ ข้นึ บน (บกเจอ) เสอื แบบท่ี 2 สานวนเขมร ច៊ះុ េឹរព្រពេើ ព ើងពលើោា ។ สานวนไทย หนเี สอื ปะจระเข้

-273- สง่ิ ท่นี กั แปลพงึ ตระหนักในการแปลสานวน สภุ าษิต และ คาพงั เพยนน้ั ก็คอื นักแปลจะต้องให้ความสาคัญในพลังของภาษาควบคู่ ไปกับความถูกตอ้ งแม่นยาในการถ่ายทอดความหมาย เข้าใจได้งา่ ย เหน็ ภาพพจน์ และอรรถรส บทสรุป การแปลภาษาทุกภาษาย่อมมีปัญหาด้วยกันท้ังสิ้นข้ึนอยู่กับนัก แปลจะสามารถแกไ้ ขปญั หานน้ั อยา่ งนน้ั ด้วยวิธีการใด ปญั หาต่าง ๆ เช่น ปัญหาการแปลศัพท์เฉพาะ ปัญหาการแปลแบบทับศพั ท์ชอ่ื สถานทีแ่ ละ ช่ือบุคคล และปัญหาเก่ียวกับโครงสร้างทางภาษา เป็นต้น ล้วนเป็น ปัญหาที่นักแปลจะต้องประสบพบเจอท้ังหมด สิ่งที่นักแปลจะต้อง แกป้ ัญหาก็คือนกั แปลจะต้องพจิ ารณาวา่ จะใชว้ ิธีการและกลวธิ ีอย่างไรท่ี จะทาให้ปัญหาน้ัน ๆ ได้หมดส้ินไป กลวิธีต่าง ๆ เช่น การแปลแบบตรง ตวั การแปลแบบคาต่อคา การแปลแบบทบั ศพั ท์ การแปลแบบเอาความ เป็นต้น ซ่ึงได้กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็นข้อมูลส่วนหน่ึงท่ีนักแปลภาษาจะ นาไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานแปลท้ังการแปลเอกสารและการแปลแบบลา่ ม

-275- บรรณานุกรม ภาษาไทย กาญจนา แก้วเทพ. (2541). การวเิ คราะหส์ อ่ื : แนวคดิ และเทคนคิ . กรุงเทพมหานคร : บริษทั อิฟนิ ติ ี้ เพรส จากดั . กาญจนา นาคสกลุ . (2541) ระบบเสยี งภาษาไทย. พิมพ์ครง้ั ที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . อญั ชนา จติ สุทธิญาณ และ ศานติ ภกั ดคี า, บรรณาธกิ าร. (2550.) พจนานุกรมไทย-เขมร. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการ สมาคมวฒั นธรรมไทย-กัมพูชา กรมสารนิเทศ กระทรวงการ ตา่ งประเทศ. เชวง จันทรเขตต์. (2528). การแปลเพื่อการสอ่ื สาร. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ไทยพานิชย์ จากดั . ดวงตา สพุ ล. ทฤษฎแี ละกลวธิ กี ารแปล = THEORY AND STRATEGIES OF TRANSLATION. พมิ พค์ ร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : ภาควชิ าภาษาอังกฤษ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เตือนจติ ต์ จิตตอ์ าร.ี แปลให้เปน็ แลว้ เก่ง. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท อม รินนทรพ์ ร้นิ ต้งิ แอนด์พลบั ลชิ ชิ่ง จากดั (มหาชน). ทิพา เทพอัครพงศ์. การแปลเบือ้ งต้น. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธรี ารตั น์ บญุ กองแสน. (2543). “การศกึ ษาการต้งั ชอื่ ภาษาไทยของ ภาพยนตรอ์ เมรกิ นั ”. วิทยานพิ นธ์ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั มหดิ ล. นพพร ประชากุล. “ทาไมวรรณกรรมสะท้อนสังคม จงึ แก้ปญั หาสังคม ไม่ได้”. สารคดี ฉบบั ที่ 162 (สงิ หาคม 2541) บรรจบ พนั ธเุ มธา. (2517). พจนานกุ รมเขมร-ไทย เลม่ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : จงเจรญิ การพมิ พ.์

-276- . (2521). พจนานกุ รมเขมร-ไทย เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร : รุง่ เรืองสาสน์ การพมิ พ.์ . (2523). พจนานกุ รมเขมร-ไทย เล่มที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : ร่งุ เรืองสาส์นการพิมพ์. ประเทอื ง ทนิ รตั น์. (2543). การแปลเชิงปฏบิ ตั ิ = Pratical Translation. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ประยรู ทรงศลิ ป.์ (2542). การศกึ ษาวเิ คราะหต์ านานและนทิ าน พื้นบ้านเขมรภาคท่ี 1-9. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั ธนบรุ .ี . (2545). นทิ านพ้นื บา้ นเขมร ภาคที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเดก็ . ปญั ญา บรสิ ุทธ.์ิ (2533). ทฤษฎแี ละวธิ ีปฏิบตั ใิ นการแปล. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ หจก. ธรรมกมลการพิมพ.์ พัชรี โภคาสัมฤทธิ์. (2553). วิเคราะหก์ ารแปลเอกสารทางธรุ กิจจาก ภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ พิมพนั ธุ์ เวสสะโกศล. (2555). การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ = Translation : Thai into English. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ไพฑรู ย์ ธัญญา. (2547). กอ่ กองทราย. พมิ พค์ ร้ังท่ี 31. กรุงเทพฯ : นาคร. มณรี ตั น์ สวสั ดวิ ตั น์ ณ อยธุ ยา. (2548). การแปล : หลักการและการ วเิ คราะห์. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ 122 ตอนพเิ ศษ 99 ง. ลงวันท่ี 23 กันยายน 2548 ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมบี ุ๊คพบั ลเิ คชันส.์

-277- วรนาถ วิมลเฉลา. (2539) คู่มือสอนการแปล. พมิ พ์ครงั้ ที่ 7. กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. วรรณา แสงอรา่ มเรอื ง.(2545). ทฤษฎแี ละหลักการแปล. พิมพ์ครงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศานติ ภกั ดคี า. (2550). ความสมั พนั ธว์ รรณคดีไทย – เขมร. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการสมาคมวัฒนธรรมไทย-กัมพูชา กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ, 2550 ส. ศิวรักษ์. (2534). ศิลปะแหง่ การแปล. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์ เคลด็ ไทย. สอ เสถบตุ ร. (2532). NEW MODEL ENGLISH-THAI DICTIONARY. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ทยวัฒนาพานิช. สะอาด ไชยวัณณ์. (2519). การศึกษาประวตั ศิ าสตรเ์ ปรยี บเทียบงาน ธรรมทตู ของโรมนั คาธอลคิ กับโปรเตสแตนท์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สรุ ิยบรรณ. สจั ภมู ิ ละออ. (2553). จมุ เรียบซัวรบ์ ตั ดอ็ มบอง. นนทบุรี : บ้านรัก. . (2561). ดอกสรอ้ ย รอ้ ยบุปผา รอ้ ยคุณค่าสมุนไพรไทย. ปราจีนบุรี : มูลนธิ ิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศรฯ. สญั ฉวี สายบวั . (2542). หลกั การแปล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ เสรี พงศ์พศิ . (2531). ศาสนาครสิ ต์. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ อมรา ประสทิ ธิร์ ัฐสนิ ธ.์ุ ภาษาศาสตร์สังคม. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. อจั ฉรา ไลศ่ ตั รไู กล. (2543). จุดมุ่งหมาย หลกั การ และวธิ ีการแปล = Nature and Method of Translation. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2548. (2548). ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 122 ตอนพิเศษ 99 ง.

-278- ภาษาเขมร ក្រសងួ មហាផ្ទៃ. (២០១៩). ឯរសារណែនសាំ ពីត ីរចិ ្កច ាររដ្បឋ ាលរាជធានី ខេត្ត ក្រងុ ក្សរុ េែឌ . ភ្ាំនខពញ : ក្រសួងណរ៉ែ នងិ ថាមពល. (២០១៧). ឯរសារណែនសាំ ពីត ីរចិ ្កច ាររដ្បឋ ាល. ភ្ាំនខពញ : ក្រសងួ ណរ៉ែ នងិ ថាមពល. ក្រសងួ អប់ រាំ យុ វជន និងរីឡា. (២០១៤). របូ វទិ ្យា. ភ្ាំនខពញ : ក្រសងួ អប់រាំ យុ វជន និង រីឡា. ច្ាប់សីដពីក្បព័នហធ ិរញ្វញ ត្ថុសាធារែៈ (ឆ្ន ាំ២០០៨). រាជរិច្ច (២០០៨ : ៣៧៦៣). ខដ្វឌី វរ័ ែឺ . (២០០៩). ទ្យែី គ្ាមនខវជជបែឌ ិត្សក្ាប់ការណែទសាំ េុ ភាពជនបទ្យ. California, USA, : California ធី ណាខរឿន. (២០១៧) សងមគ វទិ ្យា. ភ្ាំនខពញ : សារលវទិ ្យាល័យភ្ាំនខពញ. ខៅ អាយុ ទ្យធ. (២០០១). សខាំ េងសាខដ្ៀវ. ភ្ាំនខពញ្ ː ររណុ ាណេារ. សេុ ចានទល. (២០០៨). កាបបូ លយុ . ភ្ាំនខពញ្ ː សមាគមសសរភី ាព. អឹម-ភ្ន. (១៩៥៩). “ហងសយន”ត . រមពជសរុ យិ ា ឆ្ន ាទំ ្យី ៣១. ភ្ាំនខពញ្ ː ពុទ្យធសាសនបែឌ ិ ត្យ. Jean-Michel Filippi and Hiep Chan Vicheth. (2016). វច្ននកុ ្រមបខញ្ញច សរូ សខាំ េងភាសាណេារ. ភ្ាំនខពញ : KAM éditions & UNESCO. เวปไซต์ www.moeys.gov.kh เข้าถึงเมือ่ 15 กรกฎาคม 2563. www.th.ilovetranslation.com เขา้ ถงึ เมอ่ื 14 กนั ยายน 2563. www.thai-translator.com เขา้ ถงึ เมือ่ 14 กนั ยายน 2563. www.translate.google.co.th เข้าถึงเมื่อ 14 กันยายน 2563. //www.mme.gov.kh. เข้าถึงเมอื่ 15 กรกฎาคม 2563.

-279- //aromklon.com/index.php?topic=44.0 เขา้ ถึงเม่ือ 15 กรกฎาคม 2563. //www.facebook.com/505683849874779/posts/662516 597524836 เข้าถึงเม่ือ 15 กรกฎาคม 2563. //vajirayana.org/ดษุ ฎสี ังเวย. เข้าถึงเม่อื 15 มนี าคม 2562. www.facebook.com/ 7khmer : 8, เข้าถึงเมอ่ื 15 กรกฎาคม 2563. //www.mme.gov.kh/kh เข้าถึงเมอื่ 15 กรกฎาคม 2563. //www.prudential.com.kh/km/make-a-claim เข้าถึงเมื่อ 25 ตลุ าคม 2563. www.prudential.co.th/corp/prudential-th/th/ เขา้ ถึงเมื่อ 25 ตลุ าคม 2563. //www.facebook.com/SmartAxiata/photos เข้าถึงเม่ือ 25 ตุลาคม 2563. //www.facebook.com/SmartAxiata/photos เข้าถึงเมื่อ 25 ตลุ าคม 2563. www.facebook.com/airasiaCambodia/photos เขา้ ถงึ เมอ่ื 25 ตุลาคม 2563. //news.sabay.com.kh/article/702228 เข้าถึงเมื่อ 25 ตุลาคม 2563. //www.facebook.com/pg/airasiaCambodia/posts เข้าถึง เมื่อ 25 ตลุ าคม 2563. //www.ais.th/4g เข้าถึงเม่อื 25 ตุลาคม 2563. //www.youtube.com เขา้ ถงึ เมอ่ื 25 พฤษภาคม 2559. //www.youtube.com เขา้ ถึงเมื่อ 25 พฤษภาคม 2559. บุคลานกุ รม นายทหารประจากองทัพบก ร้อยเอกเฉลมิ ศกั ดิ์ ประไวย์ นายทหารประจาสานกั งานปลดั ร้อยเอกทนงศักดิ์ สาราญสุข กระทรวงกลาโหม นายทหารประจากองทพั บก รอ้ ยโทสนั ตชิ ัย หมายทอง

การแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย และการ แปลภาษาไทยเปน็ ภาษาเขมรมคี วามสาคญั มากสาหรับนักแปล เพราะการแปลภาษา เขมรช่วยสร้างความสัมพันธ์และสร้าง รายได้แก่คนในประเทศ แตส่ ่งิ ทีส่ าคญั ทีส่ ดุ ก็คอื “นกั แปลและลา่ มเขมร” มคี วามรู้ ความสามารถ และฝมี ือถึงขนาดหรือไม่ Khmer Translation By Banyat Salee Major of Khmer Language and Culture, Mahasarakham University

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้